งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

บทที่ 5 ระบบปฏิบัติการเครือข่าย

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "บทที่ 5 ระบบปฏิบัติการเครือข่าย"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 บทที่ 5 ระบบปฏิบัติการเครือข่าย

2 1. ความหมายของระบบปฏิบัติการเครือข่าย
ระบบปฏิบัติการเครือข่าย (Network Operating System หรือ NOS) เป็นระบบปฏิบัติการที่ถูกออกแบบมาสำหรับจัดการงานด้านการติดต่อสื่อสารระหว่างคอมพิวเตอร์ และช่วยให้คอมพิวเตอร์ที่ต่ออยู่กับเครือข่ายสามารถใช้อุปกรณ์ต่าง ๆ เช่น ฮาร์ดดิสก์ หรือ เครื่องพิมพ์ร่วมกันได้ Asst.Prof. Juthawut Chantharamalee Computer Science, Suan Dusit University หน้า 2

3 2. ระบบปฏิบัติการเครือข่าย
1. NetWare เป็นระบบปฏิบัติการของ Network server ที่มีการติดตั้งอย่างกว้างขวางระบบหนึ่ง ซึ่งเป็นของ Novell ในช่วงเริ่มต้น Netware ได้รับความสำเร็จในการติดตั้งเพื่อใช้งานกับระบบเครือข่ายในสำนักงานทั้งขนาดเล็กและขนาดใหญ่ Novell ได้ทำการปรับปรุงการออกแบบ Netware เพื่อใช้งานกับระบบเครือข่ายขนาดใหญ่และหลากหลายรวมถึงอินเทอร์เน็ต Netware มีคู่แข่งหลัก คือ ระบบปฏิบัติการ Windows NT เวอร์ชั่นล่าสุดของ Netware คือ Netware 5 ซึ่งสนับสนุนโพรโทคอลของระบบเครือข่ายแบบ Internetwork Pocket Exchange ของตัวเองและโพรโทคอลของ Web server คือ Internet Protocol Asst.Prof. Juthawut Chantharamalee Computer Science, Suan Dusit University หน้า 3

4 รูปที่ 5.1 ระบบปฏิบัติการเครือข่าย NetWare
หน้า 4

5 2. ระบบปฏิบัติการเครือข่าย
2. Windows 2000 เป็นเวอร์ชันของการปรับปรุงระบบปฏิบัติการ Windows ผู้ใช้ Windows 98 และ Windows NT อยู่ในช่วงที่ต้องย้ายไปสู่ ซึ่งเดิมเรียกว่า Windows NT 5.0 ถูกออกแบบสำหรับงานด้านวิชาชีพ และธุรกิจขนาดเล็ก รวมถึงตลาดธุรกิจขนาดใหญ่ที่ ต้องการระดับเทคนิคที่สูงด้วยเทคโนโลยีของ NT Asst.Prof. Juthawut Chantharamalee Computer Science, Suan Dusit University หน้า 5

6 2. ระบบปฏิบัติการเครือข่าย
2. Windows 2000 - Windows 2000 Professional จุดมุ่งหมายสำหรับงานส่วนบุคคลและธุรกิจทุกขนาด รวมถึงระบบความปลอดภัยและการใช้งานแบบเคลื่อนที่ ซึ่งเป็นทางเลือกที่ประหยัดมากที่สุด Asst.Prof. Juthawut Chantharamalee Computer Science, Suan Dusit University หน้า 5

7 2. ระบบปฏิบัติการเครือข่าย
2. Windows 2000 - Windows 2000 Server จุดมุ่งหมายสำหรับธุรกิจขนาดเล็กถึงขนาดกลาง ซึ่งสามารถทำเป็น web server หรือ work group server และสนับสนุนการทำงานกับ SMP (two-way Symmetric Multiprocessing) Asst.Prof. Juthawut Chantharamalee Computer Science, Suan Dusit University หน้า 7

8 2. ระบบปฏิบัติการเครือข่าย
2. Windows 2000 - Windows 2000 Advance Server: จุดมุ่งหมายสำหรับระบบปฏิบัติการของ Server แบบแม่ข่าย และ/หรือ เป็น server ของโปรแกรมประยุกต์ ซึ่งรวมถึงระบบฐานข้อมูลขนาดใหญ่ Asst.Prof. Juthawut Chantharamalee Computer Science, Suan Dusit University หน้า 8

9 2. ระบบปฏิบัติการเครือข่าย
2. Windows 2000 - Windows 2000 Datacenter Server: ได้รับการออกแบบสำหรับระบบ data ware house ขนาดใหญ่ การประมวลผลแบบ On-line Transaction Processing (OLTP) การวิเคราะห์ทางเศรษฐกิจมิติและโปรแกรมประยุกต์อื่นที่ต้องใช้การประมวลผลด้วยความเร็วสูงและฐานข้อมูลขนาดใหญ่ เช่น Datacenter Server สนับสนุน 16-way SMP และใช้หน่วยความจำได้กับ 64 GB Asst.Prof. Juthawut Chantharamalee Computer Science, Suan Dusit University หน้า 8

10 2. ระบบปฏิบัติการเครือข่าย
3. UNIX เป็นระบบปฏิบัติการที่เริ่มต้นใน Bell labs เมื่อปี 1969 ในฐานะระบบ Interactive time-sharing ซึ่ง Ken Thompson และ Demiss Ritchie ได้รับการพิจารณาว่าเป็นผู้คิดค้น UNIX ในปี 1974 Unix เป็นระบบปฏิบัติการแรกที่เขียนด้วยภาษา C และเป็น freeware ซึ่งมีส่วนขยายและความคิดใหม่ในเวอร์ชั่นที่หลากหลายจากบริษัทต่าง ๆ มหาวิทยาลัยและเอกชนทำให้ Unix กลายเป็นระบบเปิด หรือระบบปฏิบัติการมาตรฐานแรกที่ให้บุคคลทั่วไปสามารถปรับปรุงได้ ส่วนประกอบของภาษา C และ shell interface ของ UNIX อยู่ภายใต้มาตรฐาน Portable Operating System Interface ซึ่งอุปถัมภ์โดย Instituted of Electrical and Electronics Engineering ในส่วนอินเตอร์เฟสของ POSIX ได้มีการระบุ X/Open Programming Guide 4.2 (รู้จักกันในชื่อ “Single UNIX Specification” และ UNIX 95”) Asst.Prof. Juthawut Chantharamalee Computer Science, Suan Dusit University หน้า 11

11 รูปที่ 5.2 ระบบปฏิบัติการเครือข่าย UNIX
หน้า 11

12 2. ระบบปฏิบัติการเครือข่าย
3. UNIX ระบบปฏิบัติการ UNIX มีการใช้อย่างกว้างขวางในผลิตภัณฑ์เวิร์กสเตชั่นของ Sun Microsystems, Silicon Graphics, IBM และบริษัทอื่นๆ สภาพแวดล้อมของ UNIX และแบบจำลองโปรแกรม Client/Server เป็นส่วนประกอบสำคัญในการพัฒนาอินเทอร์เน็ต และเปลี่ยนการประมวลผลแบบศูนย์กลางในเครือข่ายมากกว่าคอมพิวเตอร์อิสระ Asst.Prof. Juthawut Chantharamalee Computer Science, Suan Dusit University หน้า 12

13 รูปที่ 5.3 ตัวอย่างเดสก์ท็อประบบปฏิบัติการเครือข่าย UNIX
หน้า 13

14 2. ระบบปฏิบัติการเครือข่าย
4. Linux Server เป็นระบบปฏิบัติการที่คล้ายกับระบบปฏิบัติการ Unix ที่ได้รับการออกแบบสำหรับผู้ใช้คอมพิวเตอร์บนระบบเครือข่ายโดยไม่เสียค่าใช้จ่ายหรือราคาต่ำเมื่อเปรียบเทียบกับระบบปฏิบัติการ Unix โดยส่วนกลางของระบบ (Kernel) ถูกพัฒนาโดย Linus Torvalds ที่ University of Helsinki ในประเทศฟินแลนด์ และมีการนำไปใช้งานกันอย่างแพร่หลาย เพราะเป็นระบบปฏิบัติเครือข่ายแบบเปิด (Open Source) ที่ใครก็สามารถดาว์นโหลดไปใช้งานได้ Asst.Prof. Juthawut Chantharamalee Computer Science, Suan Dusit University หน้า 14

15 รูปที่ 5.3 ระบบปฏิบัติการเครือข่าย Linux
หน้า 15

16 2. ระบบปฏิบัติการเครือข่าย
5. NetBEUI พัฒนาโดย IBM ใน ค.ศ เป็นโพรโทรคอลที่ มีขนาดเล็กและกะทัดรัดทำงานได้รวดเร็ว เหมาะสม กับระบบเครือข่ายที่มีขนาดเล็ก ไม่เหมาะกับเครือข่าย ขนาดใหญ่เนื่องจากไม่สามารถค้นหาเส้นทางได้ Asst.Prof. Juthawut Chantharamalee Computer Science, Suan Dusit University หน้า 16

17 2. ระบบปฏิบัติการเครือข่าย
6. OS/2 Warp ระบบปฏิบัติการเครือข่ายที่บริษัท IBM พัฒนาขึ้น เพื่อนำเสนอสำหรับการขายในยุคดิจิทัลซึ่งไม่คอยประสบความสำเร็จมากนัก ต่อมาจึงพัฒนาในส่วนของ E-Business Asst.Prof. Juthawut Chantharamalee Computer Science, Suan Dusit University หน้า 17

18 3. บริการต่างๆ ระบบปฏิบัติการเครือข่าย
1. การบริการจัดเก็บไฟล์และการพิมพ์ 2. การบริการดูแลและจัดการระบบ 3. การบริการรักษาความปลอดภัยของข้อมูล 4. การบริการอินเทอร์เน็ตและอินทราเน็ต 5. การบริการ Multiprocessing และ Clustering Service Asst.Prof. Juthawut Chantharamalee Computer Science, Suan Dusit University หน้า 18

19 4. การติดตั้งระบบปฏิบัติการเครือข่าย Windows Sever 2008 R2
ขั้นตอนการติดตั้ง Windows Server 2008 1. ทำการติดตั้ง BIOS ของเครื่องเซิร์ฟเวอร์ให้บูทจาก CD-ROM หรือ DVD-ROM 2. ใส่แผ่น CD-ROM หรือ DVD-ROM ตัวติดตั้งแล้วทำการบูทเครื่องใหม่ 3. ระบบแสดงเมนูเข้าสู่การติดตั้ง โดยเลือกภาษาที่ต้องการใช้งานเป็น English รูปแบบวัน เวลา และชนิดแป้นพิมพ์ เสร็จลังคลิกที่ปุ่ม Next Asst.Prof. Juthawut Chantharamalee Computer Science, Suan Dusit University หน้า 19

20 4. คลิกปุ่ม Install เพื่อเข้าสู่การติดตั้ง
หน้า 20

21 5. ใส่หมายเลขผลิตภัณฑ์ (Product Key) เสร็จแล้วคลิกปุ่ม Next
หน้า 21

22 6. เลือกรูปแบบเซอร์ฟเวอร์ที่ติดตั้ง เสร็จแล้วกดปุ่ม Next
หน้า 22

23 7. ระบบรายงานลิขสิทธิ์ซอฟต์แวร์ให้คลิกเลือกที่ [
7. ระบบรายงานลิขสิทธิ์ซอฟต์แวร์ให้คลิกเลือกที่ [*] Accept the License Terms แล้วคลิก Next หน้า 23

24 8. คลิกเลือกที่ Custom (Advanced)
หน้า 24

25 9. เลือกดิสก์ที่ต้องการติดตั้งระบบ เสร็จแล้วคลิกปุ่ม Next
หน้า 25

26 10. ระบบจะเริ่มทำการคัดลอกไฟล์ลงฮาร์ดดิสก์ พร้อมเริ่มการติดตั้งระบบ
หน้า 26

27 11. คลิกที่ปุ่ม OK เพื่อเข้าสู่หน้าต่างกำหนดรหัสผ่าน
หน้า 27

28 12. กำหนดรหัสผ่านของผู้ดูแลระบบ
หน้า 28

29 13. คลิกที่ปุ่ม OK เพื่อยอมรับการเปลี่ยนรหัสผ่านใหม่
หน้า 29

30 14. แสดงหน้าต่างเดสก์ท็อปของ Windows Server 2008
หน้า 30

31 การ Login เข้าระบบ 1. หลังจากบูทระบบเข้ามาจะพบกับหน้าต่างให้กำหนดรหัส Administrator 2. กดปุ่ม Ctrl+Alt+Delete หน้า 31

32 3. ทำการ Login เข้าระบบโดยการป้อนรหัสเข้าไป
หน้า 32

33 5. การติดตั้งระบบปฏิบัติการ Linux Ubuntu 8.04.1 server
ขั้นตอนการติดตั้ง 1. ทำการติดตั้ง BIOS ของเครื่องเซิร์ฟเวอร์ให้บูทจาก CD-ROM หรือ DVD-ROM 2. ใส่แผ่น CD-ROM หรือ DVD-ROM ตัวติดตั้งแล้วทำการบูทเครื่องใหม่ 3. ระบบจะแสดงเมนูเข้าสู่การติดตั้ง ให้กดปุ่ม Enter ผ่าน 4. เลือกภาษาที่ต้องการใช้งานเป็น Thai เสร็จแล้วกดปุ่ม Enter 5. ระบบจะทำการเช็กสภาพแวดล้อมต่าง ๆ Asst.Prof. Juthawut Chantharamalee Computer Science, Suan Dusit University หน้า 33

34 1. เลือกภาษาที่จะใช้ในการดำเนินการ การติดตั้งระบบ ให้เลือก English
หน้า 34

35 2. จะปรากฏเมนูเพื่อจัดการกับ Ubuntu server ให้เลือก เมนูแรก คือ Install Ubuntu Server
หน้า 35

36 3. เลือกภาษาที่ใช้ในการดำเนินการติดตั้ง ให้เลือกเป็น English
หน้า 36

37 ประเทศไทย ให้เลือกเป็น other
4. กำหนดประเทศหรือสถานที่ของเครื่อง Server ที่เราติดตั้ง ในที่นี้เครื่องของผู้ใช้อยู่ Asia ประเทศไทย ให้เลือกเป็น other หน้า 37

38 5. ให้เลือก Thailand หน้า 39

39 6. กำหนด keyboard layout ให้เลือก NO
หน้า 39

40 7. กำหนดค่ามาตรฐานสำหรับ keyboard ให้กำหนดตามค่า default นั้นคือ USA
หน้า 40

41 8. กำหนด keyboard format ให้กำหนดเป็นค่า default นั้นคือ USA
หน้า 41

42 ต้องการกำหนดแบบ Static ให้เลือก Cancel
9. หลังจากนั้นระบบจะทำการกำหนดหมายเลข IP Address ให้ Server แบบ DHCP ซึ่งในที่นี้ ต้องการกำหนดแบบ Static ให้เลือก Cancel หน้า 42

43 10. เลือก Continue เพื่อเริ่มขั้นตอนการกำหนด IP Address แบบ Static
หน้า 43

44 11. เลือก Configure Network Manually เพื่อกำหนด IP Address แบบ Static ให้กับ Server
หน้า 44

45 12. กำหนดหมายเลข IP Address ให้กับ Server เช่น 192.168.1.10 หรือ 172.100.10.15 เป็นต้น
หน้า 45

46 13. กำหนด subnet mask ที่ใช้กับ IP Address ของ Server เช่น 255. 255
เป็นต้น หน้า 46

47 14. กำหนด Gateway ให้กับ Server
หน้า 47

48 15. กำหนด Name Server หรือ DNS ให้กับ Serve
หน้า 48

49 www mail ftp proxy เป็นต้น
16. กำหนดชื่อ หรือ Host name ให้กับ Server ควรจะตั้งให้สัมพันธ์กับหน้าที่ของ Server เช่น www mail ftp proxy เป็นต้น หน้า 49

50 17. กำหนด Domain Name ให้กับ Serve
หน้า 50

51 18. เข้าสู่กระบวนการจัดการ Partition
หน้า 51

52 19. เมนูให้เลือกจัดการกับ Partition ในที่นี้ให้เลือกแบบ Guide - use entire disk
หน้า 52

53 20. เลือก Hard Disk ที่จะทำการติดตั้งระบบปฏิบัติการ Ubuntu 8. 04
20. เลือก Hard Disk ที่จะทำการติดตั้งระบบปฏิบัติการ Ubuntu server หน้า 53

54 21. ระบบจะแสดง Partition ทั้งหมดที่ได้แบ่งเรียบร้อยแล้ว เลือก Finish เพื่อสิ้นสุดขั้นตอนการแบ่ง
หน้า 54

55 22. เลือก Yes เพื่อทำการติดตั้งระบบ
หน้า 55

56 23. เข้าสู่กระบวนการติดตั้ง
หน้า 56

57 24. กำหนดชื่อเต็มของผู้ใช้งานระบบ เช่น administrator เป็นต้น
หน้า 57

58 25. กำหนด user account สำหรับการ Login เข้าใช้งาน เช่น administrator เป็นต้น
หน้า 58

59 26. กำหนด password หน้า 59

60 27. ยืนยัน password กรอก password จากข้อ 26 ซ้ำอีกครั้ง
หน้า 60

61 28. เริ่มต้นกระบวนการ update apt
หน้า 61

62 29. กำหนด site ที่จะทำการ update packet ผ่าน apt ให้เลือก Continue
หน้า 62

63 30. เข้าสู่กระบวนการติดตั้ง software เบื้องต้นที่มีมากับแผ่น Ubuntu 8
30. เข้าสู่กระบวนการติดตั้ง software เบื้องต้นที่มีมากับแผ่น Ubuntu server หน้า 63

64 31. แสดงรายชื่อของ software ที่มีมาให้ผู้ติดตั้งสามารถติดตั้งภายหลังได้
ซึ่งผู้สอนแนะนำให้ติดตั้ง OpenSSH Server เพื่อจะได้ Remote มาที่ Server ได้ หน้า 64

65 32. เข้าสู่กระบวนการติดตั้ง Boot Loader
หน้า 65

66 33. เสร็จสิ้นการติดตั้ง หน้า 66

67 34. นำแผ่น Ubuntu 8.04.1 server ออก แล้วเลือก Continue เพื่อ Restart Server
หน้า 67

68 จบการนำเสนอ หน้า 68


ดาวน์โหลด ppt บทที่ 5 ระบบปฏิบัติการเครือข่าย

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google