ผลได้การบริบาลเภสัชกรรมผู้ป่วยเอดส์ งานบริการจ่ายยาผู้ป่วยนอก ภญ.ปรัตดา ศรีสมบัติ กลุ่มงานเภสัชกรรมชุมชนและคุ้มครองผู้บริโภค
ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา เป้าหมายของการรักษาด้วยยาต้านไวรัส คือ 1. ปริมาณเชื้อไวรัส < 50 copies/mL นานที่สุด 2. ระดับ CD4 กลับสู่ระดับปกติมากที่สุด 3. ผู้ป่วยไม่เสี่ยงต่อโรคแทรกซ้อนต่างๆ คนไข้กินยาต้านไวรัสเอดส์ โรงพยาบาลพิบูลมังสาหาร ปี 2558 จำนวน 216 ราย เป็น คนไข้ใช้สูตรดื้อยา 11 ราย
การบริบาลเภสัชกรรมผู้ป่วยเอดส์ Pharmaceutical care 1. ประเมิน ข้อบ่งใช้ 2. ประเมินประสิทธิผลและความปลอดภัย 3. ประเมิน ความร่วมมือ 4. บริการ ข้อมูลด้านยา 5. บริการอื่นๆ ความพร้อมการเริ่มยา บันทึกการรักษา ติดตาม ADR/CD4/VL การประเมินความรู้ ประเมิน adherence การบริบาลเภสัชกรรมผู้ป่วยเอดส์ Pharmaceutical care
ความร่วมมือการกินยา ความเข้าใจการกินยา ความรู้ การกินยา ผลได้ Out come
ตุลาคม 2558 ถึง มกราคม 2559 ได้กลุ่มตัวอย่าง 126 ราย ประเมินผลได้ด้านความร่วมมือในการกินยาหลังจากได้การบริบาลเภสัชกรรม ประเมินผลได้ด้านความรู้และความเข้าใจการกินยาต้านไวรัสเอดส์หลังจากได้การบริบาลเภสัชกรรม วัตถุประสงค์ Prospective descriptive study รูปแบบการศึกษา n คือ 140 ราย (เก็บข้อมูลจริง 126 ราย) N คือ ประชากร = 216 ราย E คือ คลาดคลาดเคลื่อน ที่ระดับความเชื่อมั่น 95% ขนาดตัวอย่าง ตามวิธีของ ยามาเน่ (Taro Yamane)
แบบประเมินความร่วมมือในการกินยาต้านไวรัสเอดส์ เครื่องมือ แบบประเมินความร่วมมือในการกินยาต้านไวรัสเอดส์ ข้อที่ คำถาม OR 1 คุณเคยลืมกินยาต้านไวรัสเอดส์ หรือไม่ 2.1 2 คุณละเลยเวลาในการกินยาต้านไวรัสเอดส์ ใช่หรือไม่ 2.4 3 บางครั้งคุณรู้สึกแย่ลง คุณจะหยุดกินยาต้านไวรัสเอดส์ 4 ช่วงสัปดาห์ที่ผ่านมา คุณคิดว่าคุณลืมรับประทานยาต้านไวรัสเอดส์บ่อยแค่ไหน 1-2 ครั้ง 3-5 ครั้ง 6-10 ครั้ง > 10ครั้ง ไม่เคยลืมเลย 1.6 2.8 6.3 9.5 Ref. 5 ในช่วงวันหยุดสุดสัปดาห์ที่ผ่านมา คุณลืมกินยาต้านไวรัสเอดส์หรือไม่ 2.5 6 ในช่วง 3 เดือนที่ผ่านมา คุณกินยาต้านไวรัสไม่ครบตามแพทย์สั่ง กี่วัน 2.9 มาจาก การศึกษาของ เกตุนภา พรมน้อย ข้อคำถามมีค่าความสัมพันธ์กับความสำเร็จในการรักษาทางคลินิก (แสดงโดยค่าปริมาณไวรัสที่ลดลงในระดับที่ไม่สามารถตรวจวัดได้) แตกต่างกัน แสดงด้วยค่า Odd ratio(OR)
แบบประเมินความรู้ความเข้าใจการกินยาต้านไวรัส เครื่องมือ แบบประเมินความรู้ความเข้าใจการกินยาต้านไวรัส ประกอบด้วย 16 ข้อคำถามได้นำมาจาก การศึกษาของ สุกัญญา คำผา ผู้วิจัยสร้างขึ้นและนำไปใช้เก็บข้อมูลเบื้องต้นในผู้ป่วย 29 ราย โดยผ่านการทดสอบความตรงของเนื้อหาและหาค่าความเที่ยง(Cronbach’s alpha) เท่ากับ 0.430 แบ่งเป็น 3 หมวด หมวดที่ 1 โรคเอดส์ จำนวน 4 ข้อ (ข้อ 1- 4) หมวดที 2 ยา อาการไม่พึงประสงค์จากยาต้านไวรัสเอดส์ จำนวน 8 ข้อ(ข้อ 5 - 12) หมวดที่ 3 ความร่วมมือในการใช้ยาต้านไวรัสเอดส์ จำนวน 4 ข้อ (ข้อ 13 - 16) การคิดคะแนนจะเป็น 3 ระดับ ดังนี้ คะแนนเฉลี่ย ≥ 80% หมายถึงความรู้ระดับสูง คะแนนเฉลี่ย 60-79 % หมายถึงความรู้ระดับปานกลาง คะแนนเฉลี่ย <60% หมายถึงความรู้ระดับต่ำ
ผลการศึกษา
ร้อยละข้อมูลระดับเม็ดเลือดขาวซีดีโฟร์และจำนวนเชื้อไวรัสเอดส์ ผลการศึกษา ร้อยละข้อมูลระดับเม็ดเลือดขาวซีดีโฟร์และจำนวนเชื้อไวรัสเอดส์ ข้อมูล (N=126) จำนวน ร้อยละ CD4 (เซลล์/ลบ.มม.) <200 3.17 200-499 26.98 ≥500 69.84 Viral load (เซลล์/ลบ.มม.) ≤50 123 97.62 >50 3 2.38 อาการไม่พึงประสงค์ sCr > 1.2 mg/dl จาก TDF Hb < 10 g/dL จาก AZT 4 มึนงงสับสน จาก EFV 8 6.35 ชาปลายมือปลายเท้า จาก AZT 16 12.70
ร้อยละความร่วมมือในการกินยาจำแนกตามกลุ่มยา ผลการศึกษา ร้อยละความร่วมมือในการกินยาจำแนกตามกลุ่มยา Adherence Tenofovir+lamivudive+ Efaverenze Zidovudine+lamivudive + Efaverenze Zidovudine+lamivudive+Nervirapine รวม จำนวน ร้อยละ ≥95% 22 91.67 24 60 42 67.74 88 69.84 <95% 2 8.33 16 40 20 32.26 38 30.16 ร้อยละความเข้าใจการกินยาต้านไวรัสเอดส์ ความเข้าใจการกินยาต้าน (N= 126) ได้ ไม่ได้ จำนวน ร้อยละ 1. คุณจำชื่อยาต้านไวรัสที่คุณกินได้หรือไม่ 48 38.10 78 61.90 2. คุณจำลักษณะยาต้านที่คุณกินได้หรือไม่ 102 80.95 24 19.05 3. คุณสามารถบอกอาการข้างเคียงจากยาที่คุณกินได้หรือไม่
ความรู้การกินยาต้านไวรัสเอดส์ ผลการศึกษา ความรู้การกินยาต้านไวรัสเอดส์ ข้อ คำถาม ถูก ผิด จำนวน ร้อยละ 1 โรคเอดส์รักษาไม่หาย จำเป็นต้องกินยาต้านไวรัสต่อเนื่องตลอดชีวิต 122 96.83 4 3.17 2 โรคเอดส์เกิดจาการได้รับเชื้อไวรัสเอชไอวี ผ่านทางเพศสัมพันธ์หรือทางเลือด เช่น รับเลือดที่ติดเชื้อ หรือใช้เข็มฉีดยาร่วมกับผู้อื่น หรือจากครรภ์มารดาที่ติดเชื้อ 120 95.24 6 4.76 3 หากติดเชื้อไวรัสเอดส์แล้วไม่รักษา จะทำให้เชื้อเพิ่มจำนวนมากขึ้น หากติดเชื้อเอชไอวีแล้วไม่รักษา จะทำลายภูมิต้านทานของร่างกาย(เซลล์ซีดีโฟว์)ให้ลดลง 118 93.65 8 6.35 5 การกินยาต้านไวรัสเอดส์ คือการใช้ยาที่มีประสิทธิภาพสูงหลายตัวร่วมกันเพื่อยับยั้งการเพิ่มจำนวนของเชื้อไวรัสเอสไอวี 108 85.71 18 14.29 ยาต้านไวรัสเอดส์ต้องกินให้ตรงเวลา เช่น กินวันละ 2 ครั้ง หมายถึง กินห่างกัน 12 ชั่วโมง เช่น เวลา 0.800 และ 20.00 น. 114 90.48 12 9.52 7 กรณีลืมกินยาต้านไวรัสเอดส์เมื่อนึกได้ให้กินทันที แต่ถ้ามื้อถัดไปห่างจากมื้อที่กินไม่เกิน 2 ชั่วโมงก็ไม่ต้องกินมื้อนั้น และให้เริ่มกินมื้อใหม่ตามปกติ 86 68.25 40 31.75 ยาต้านไวรัสเอดส์ต้องเก็บใส่ซองสีชาและพ้นแสง 116 92.06 10 7.94
ความรู้การกินยาต้านไวรัสเอดส์ ผลการศึกษา ความรู้การกินยาต้านไวรัสเอดส์ ข้อ คำถาม ถูก ผิด จำนวน ร้อยละ 9 ทุกครั้งที่มารับยาต้านไวรัสเอดส์ ต้องแจ้งจำนวนยาต้านไวรัสที่เหลือ 120 95.24 6 4.76 10 หากเกิดอาการไม่พึงประสงค์จากยา คุณสามารถหยุดกินยาได้ทันทีโดยไม่ต้องปรึกษาแพทย์ 84 66.67 42 33.33 11 ควรหลีกเลี่ยงการกินยาต้ม ยาหม้อ ยาสมุนไพร ร่วมกับการกินยาต้านไวรัสเอสด์ 96 76.19 30 23.81 12 อาการผื่นคัน คลื่นไส้อาเจียน ชาปลายมือปลายเท้า อ่อนเพลีย ไขมันสะสมตามตัว ท้องเสีย อาจเป็นอาการไม่พึงประสงค์จากการกินยาต้านไวรัสเอดส์ 13 การให้ความร่วมมือในการกินยาต้านไวรัสเอดส์ หมายถึง ต้องกินยาตรงเวลา (ไม่เกิน 30 นาที) และครบตามจำนวนที่ระบุ 116 92.06 7.94 14 การให้ความร่วมมือในการกินยาต้านไวรัสเอดส์ หมายถึง ต้องมาตามนัดหมายอย่างต่อเนื่อง และไม่ขาดการติดต่อกับผู้ให้การดูแลรักษา ตลอดเวลาการรักษา 124 98.41 2 1.59 15 การกินยาต้านไวรัสไม่สม่ำเสมอจะทำให้ความสามารถของยาในการกดเชื้อเอชไอวีลดลง 16 หากกินยาต้านไวรัสเอดส์ไม่สม่ำเสมอหรือหยุดยาอาจทำให้เกิดเชื้อดื้อยา และต้องใช้ยาสูตรอื่นๆ ทำให้การรักษายากขึ้น 122 96.83 4 3.17
ระดับความรู้ จำนวน ร้อยละ ตารางที่ 4.4 ร้อยละความเข้าใจการกินยาต้านไวรัสเอดส์ ผลการศึกษา ระดับความรู้การกินยาต้านไวรัสเอดส์ ระดับความรู้ จำนวน ร้อยละ ความรู้ระดับสูง (คะแนนเฉลี่ย ≥ 80%) 100 79.37 ความรู้ระดับปานกลาง(คะแนนเฉลี่ย 60-79 %) 20 15.87 ความรู้ระดับต่ำ(คะแนนเฉลี่ย < 60%) 6 4.76
ความร่วมมือในการกินยา บทเรียนที่ได้รับ ความร่วมมือในการกินยา ประเด็นความร่วมมือให้การกินยาน้อยกว่า 95% ร้อยละ 30.16 กลุ่มนี้ควรมีการประเมินความร่วมมือการกินยาซ้ำอีกครั้ง ทุก 6 เดือน รวมทั้งและอุปกรณ์ช่วยเตือนในการรับประทานยาต้านไวรัส ได้แก่ ปฏิทิน ตลับยา นาฬิกาปลุก สมุดประจ่าตัว แบบบันทึกการรับประทานยา เพื่อส่งเสริมให้ผู้ป่วยมีการรับประทานยาต้านไวรัสอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ
ผลได้ด้านความรู้และความเข้าใจการกินยาต้านไวรัสเอดส์ บทเรียนที่ได้รับ ผลได้ด้านความรู้และความเข้าใจการกินยาต้านไวรัสเอดส์ ส่วนมากคนไข้จะจำลักษณะยาที่กินได้ แต่ จำชื่อยา และบอกอาการข้างเคียงจากยาได้น้อย ซึ่งสอดคล้องกับข้อคำถามที่ตอบถูกได้น้อยสุด คือ เกี่ยวกับอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา เภสัชกรควรเน้นย้ำให้ความรู้เรื่องอาการข้างเคียงจากยา และประเมินซ้ำทุก 6 เดือน
ข้อเสนอแนะ ควรมีการเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยความรู้ และความร่วมมือในการกินยา ทุก 6 เดือน ควรมีการศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพควบคู่ไปกับการวิจัยเชิงปริมาณ เช่น การประเมินคุณภาพชีวิตของผู้ป่วย ควรมีการสนับสนุนอุปกรณ์ที่ใช้ในจัดกิจกรรมตามโปรแกรม การบริบาล ได้แก่ ปฏิทิน ตลับยา นาฬิกาปลุก สมุดประจ่าตัว แบบบันทึกการรับประทานยา เพื่อส่งเสริมการรับประทานยาต้านไวรัส
กลุ่มงานเภสัชกรรมชุมชนและคุ้มครองผู้บริโภค บรรณานุกรม เกตุนภา พรมน้อย. ความร่วมมือในการใช้ยาต้านไวรัสเอดส์ของผู้ติดเชื้อเอชไอวีและผู้ป่วยเอดส์ กรณีศึกษาโรงพยาบาลกงไกรลาส จังหวัดสุโขทัย[วิทยานิพนธ์ปริญญาสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต]. พิษณุโลก: มหาวิทยาลัยนเรศวร; 2553. กรมควบคุมโรค.แนวทางการตรวจรักษาและป้องกันการติดเชื้อเอชไอวี ประเทศไทย ปี 2557.กระทรวงสาธารณสุข: สำนักโรคเอดส์ วัณโรค และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์; 2557 คัธรียา สงแจ้ง. ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการขาดการรับประทานยาต้านไวรัสเอดส์ของผู้ติดเชิ้อเอชไอวี กรณีศึกษาเขตอำเภอวังทอง จังหวัดพิษณุโลก[วิทยานิพนธ์ปริญญาสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต]. พิษณุโลก: มหาวิทยาลัยนเรศวร; 2553. วิษณุ หาญชนะ. การพัฒนาการกินยาต้านไวรัสเอดส์อย่างต่อเนื่องและสม่ำเสมอในกลุ่มผู้ป่วยติดเชื้อ HIV ที่ สปป.ลาว.[วิทยานิพนธ์ปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาสาธารณสุขศาสตร์]. ขอนแก่น: มหาวิทยาลัยขอนแก่น; 2556. ธิติมา ทุนภิรมย์. ผลของการให้การบริบาลเภสัชกรรมในผู้ป่วยนอกโรคเอดส์ ณ คลินิกเอดส์ โรงพยาบาลศรีสะเกษ[วิทยานิพนธ์ปริญญาเภสัชศาสตรมหาบัณฑิต]. ขอนแก่น: มหาวิทยาลัยขอนแก่น; 2551. สุกัญญา คำผา.การบริบาลเภสัชกรรมแบบบูรณาการ เพื่อเพิ่มความต่อเนื่องสม่ำสมอในการรับประทานยาต้านไวรัสของผู้ป่วยเอดส์ โรงพยาบาลกุดชุม จังหวัดยโสธร[วิทยานิพนธ์ปริญญาสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต]. มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยมหาสารคาม; 2555. Knobel, H., Alonso, J., Casado, J. L., Collazos, J., Gonzalez, J., Ruiz, I.GEEMA Study Group. (2002). Validation of a simplified medication adherence questionnaire in a large cohort of HIV-infected patients: the GEEMA Study. Aids, 16(4), 605-613. กลุ่มงานเภสัชกรรมชุมชนและคุ้มครองผู้บริโภค