มองอุตสาหกรรมท่องเที่ยวผ่านนโยบายประเทศไทย๔.๐ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. วิษณุ วงศ์สินศิริกุล 17/03/61
ที่มา ความหมาย และทิศทาง “นโยบายประเทศไทย ๔.๐” อุตสาหกรรมท่องเที่ยวภายใต้กรอบ“นโยบายประเทศไทย ๔.๐” ผู้บริหาร และการบริหารยุค ๔.๐
เมื่อโลกมีการปรับเปลี่ยน...ในศตวรรษที่ 21 # มีความเป็นเมืองมากขึ้น (กระจายความเจริญ) # มีการสื่อสารกันมากขึ้น (Someone -> Anyone) # รับผลกระทบในรูปแบบเดียวกัน ทั้งเศรษฐกิจ และสังคม # ความรู้เกิดขึ้นใหม่รอบตัว # เป็นยุคของดิจิตอล (Digital Era) # พฤติกรรมผู้บริโภคเปลี่ยน การดำเนินธุรกิจ ย่อมต้องปรับเปลี่ยน # สินค้าบริการมีบทบาทมากขึ้น ส่งผลต่อการดำเนินชีวิต ส่งผลต่อการทำธุรกิจ
การปรับเปลี่ยนของโลก ภาวะปกติรูปแบบใหม่ (New Normal) New Normal Moral Hazard (ศีลธรรมบนความอันตราย)
เมื่อโลกปรับ...แต่ละประเทศต้องเปลี่ยน A Nation of Makers Design in Innovation Make in India
Made in China 2025 Smart Nation Creative Economy
เมื่อมีการโอนถ่ายแลกเปลี่ยน ความรู้ ความคิด และวัฒนธรรม ผ่านกระแส Globalisation จึงเกิดแนวคิด NEA N Nobody can own it E Everybody can use it A Anybody can improve it
GLOBALISATION NEA SHARING ECONOMY
และเมื่อโลกปรับ...ไทยก็ต้องเปลี่ยน “ประเทศไทย 4.0” (Thailand 4.0)
อุตสาหกรรมภายใต้กรอบ 4.0 (Industry 4.0) # เทคโนโลยีพลังงานไอน้ำที่ใช้ถ่านหินเป็นเชื้อเพลิง เริ่มที่อุตสาหกรรม สิ่งทอ # ใช้พลังงานใหม่ๆ แทนถ่านหิน สามารถผลิตสินค้าได้จำนวนมากๆ (Mass Production) ใช้เวลาน้อยลง เพิ่มผลิตภาพในการผลิต # ใช้เครื่องจักรกล และเป็นการเริ่มต้นยุคสารสนเทศ (Information Technology) ในการผลิต เพื่อทดแทนแรงงานคน ผลิตได้มาก มีความ แม่นยำมากขึ้น # ใช้เทคโนโลยีและสารสนเทศในการทำงานร่วมกัน หากยุค 3.0 คือ การ สั่งให้เครื่องจักรทำงาน ยุค 4.0 คือ การออกแบบให้เครื่องจักรคิด และ ตัดสินใจเอง (เรื่องของ IOT) อุตสาหกรรม 1.0 อุตสาหกรรม 2.0 อุตสาหกรรม 3.0 อุตสาหกรรม 4.0
ประเทศไทย 1.0 ประเทศไทย 2.0 ประเทศไทย 3.0 เกษตรกรรม อุตสาหกรรมเบา อุตสาหกรรมหนัก ประเทศไทย 1.0 ประเทศไทย 2.0 ประเทศไทย 3.0 - เพราะความได้เปรียบทางด้าน ภูมิประเทศและภูมิอากาศ - สินค้าที่ผลิตส่วนใหญ่เป็นสินค้า เกษตรกรรม - รับความเจริญจากโลกตะวันตก พื้นที่เกษตรกรรมถูกแทนที่ด้วย พื้นที่อุตสาหกรรม - เริ่มรู้จักการแปรรูปสินค้า เกิดโรงงานแปรรูปอาหาร โรงงานสิ่งทอ (เน้นการผลิตเพื่อทดแทนการนำเข้า) - อาศัยความได้เปรียบโดยเปรียบเทียบ (Comparative advantage) โดยเฉพาะเรื่องของแรงงานราคาถูก และทรัพยากรธรรมชาติ - ทุนจากต่างประเทศหลั่งไหลเข้าประเทศ - ใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัยมากขึ้นในการผลิต - เน้นการผลิตเพื่อการส่งออก (เศรษฐกิจประเทศพึ่งพิงเศรษฐกิจโลกเป็นหลัก)
โครงสร้างทางเศรษฐกิจในอดีต - เพราะสินค้าที่ผลิตไม่มี เอกลักษณ์ - ไม่มีการถ่ายโอนเทคโนโลยี ชั้นสูงอย่างแท้จริง - ความไม่สมดุลของการ กระจายรายได้ - เหลื่อมล้ำระหว่างคนเมือง และคนชนบท คนรวยและคนจน - เร่งผลิตจนละเลยสิ่งแวดล้อม - ละเลยสังคมท้องถิ่น และภูมิ ปัญญาชาวบ้าน - ต้องรับผลกระทบจากภัย ธรรมชาติ กับดักรายได้ประเทศปานกลาง โครงสร้างทางเศรษฐกิจในอดีต กับดักความเหลื่อมล้ำ กับดักความไม่สมดุล
กับดักรายได้ประเทศปานกลาง - ใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัยผนวก กับนวัตกรรม และความคิด สร้างสรรค์ ในการผลิต - ยกระดับสินค้าบริการ - สร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการ ทำธุรกิจ ในทุกมิติ - ฯลฯ - ส่งเสริมเศรษฐกิจระดับชุมชน และวิสาหกิจชุมชน - กระจายความเจริญ ความเท่า เทียมในทุกมิติ สู่ภูมิภาค - ส่งเสริมเทคโนโลยีที่เป็นมิตรต่อ สิ่งแวดล้อม - ส่งเสริมธุรกิจที่ดำเนินกิจการโดย มีจิตสำนึกต่อสังคม, CSR สร้างความได้เปรียบเชิงแข่งขัน (Competitive Advantage) กับดักรายได้ประเทศปานกลาง สร้างความเข็มแข็งจากฐานราก กับดักความเหลื่อมล้ำ สร้างการผลิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม กับดักความไม่สมดุล
ประเทศไทย 4.0 ความยั่งยืน ความมั่งคั่ง ความมั่นคง ความยั่งยืน สร้างความได้เปรียบเชิงแข่งขัน (Competitive Advantage) ประเทศไทย 4.0 สร้างความเข็มแข็งจากฐานราก สร้างการผลิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
Food, Agriculture and Bio-tech (อาหาร เกษตร เทคโนโลยีชีวภาพ) Health, Wellness and Bio-Med (สาธารณสุข เทคโนโลยีการแพทย์) Smart Devices, Robotics and Mechatronics (หุ่นยนต์ อัจฉริยะ เครื่องกล อิเล็กทรอนิกส์ควบคุม) Digital, Internet of Things and Embedded Techno’ (ดิจิตอล เทคโนโลยี อินเตอร์เน็ต เชื่อมต่อ) Creative, Culture and High Value Services (อุตสาหกรรมสร้างสรรค์ วัฒนธรรม และบริการ)
เทคโนโลยี ความสำเร็จของนโยบาย “ประเทศไทย ๔.๐” คน มีนวัตกรรม และเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอด ความสำเร็จของนโยบาย “ประเทศไทย ๔.๐” ต้องยอมรับการเปลี่ยนแปลง คน ต้องพัฒนาตนเองอยู่เสมอ
อุตสาหกรรมท่องเที่ยว
การท่องเที่ยวที่สร้างรายได้สูง เป้าหมาย การท่องเที่ยวที่สร้างรายได้สูง อุตสาหกรรมท่องเที่ยว การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ
เพิ่มศักยภาพในการแข่งขัน สร้าง High-Value Products เช่น จากพืชและสมุนไพร (เมืองสมุนไพร) สร้าง High-Value Services --> Startup <-- สร้างระบบนิเวศน์ทางธุรกิจ Big Data คือหัวใจสำคัญ (เช่น ส่งเสริมการท่องเที่ยวเมืองรอง) เติบโตอย่างรวดเร็ว ดึงดูดการลงทุน Startup
เพิ่มศักยภาพในการแข่งขัน Creativity & Innovation Smart City IOT (Aging Society, Smart Living, Smart Service, Smart Energy, Smart Tourist Card, etc.) สิทธิบัตร และทรัพย์สินทางปัญญาเป็นสิ่งสำคัญ
ผู้บริหาร และการบริหารยุค ๔.๐
ผู้บริหารยุค ๔.๐ ทักษะและความเชี่ยวชาญ (21 Century Skill 4C’s) Critical Thinking and Problem Solving ต้องเข้าใจปัญหา ประเมินสถานการณ์ได้ แก้ปัญหาเป็น สรุปสิ่งที่เกิดเพื่อนำมาเป็นบทเรียน What อะไรคือปัญหาที่เจอ Why รู้สาเหตุของปัญหา When จังหวะและเวลาของการแก้ปัญหา Where แก้ตรงไหนก่อน How ต้องใช้เครื่องมืออะไรแก้ปัญหา หรือ Who ใครควรทำเรื่องนี้
ผู้บริหารยุค ๔.๐ ทักษะและความเชี่ยวชาญ (21 Century Skill 4C’s) Creativity and Innovation ต้องสร้างความคิด ทำให้ความคิดนั้นเป็นเอกลักษณ์ และต้องทำได้จริง Product Innovation Service Process Communication สามารถถ่ายทอดความคิด ทางแก้ปัญหา และรู้จักตั้งคำถาม ความเป็นมืออาชีพ การใช้ชีวิตในสังคม
ผู้บริหารยุค ๔.๐ ทักษะและความเชี่ยวชาญ (21 Century Skill 4C’s) Collaboration รู้จักการทำงานร่วมกัน การเปลี่ยนแปลงของโลก ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงของคน กล้าตัดสินใจ (ความเป็นผู้นำ)
ผู้บริหารยุค ๔.๐ ความรู้ รู้รอบด้าน ความรู้ในโลกอินเทอร์เน็ต ทัศนคติ ทัศนคติในทางบวก ยอมรับความเท่าเทียม Outcome of Life Ability × effort × attitude (1 – 10) (1 – 10) (-10 – 10) ที่มา: รศ.ดร. วรากรณ์ สามโกเศศ อ้างถึง Kazuo Inamori ผู้ก่อตั้งองค์กร Kyocera
ผู้บริหารยุค ๔.๐ ระเบียบวินัย ต่อตนเอง ความมุ่งมั่นในการทำงาน ต่อตนเอง ความมุ่งมั่นในการทำงาน ต่อสังคม และต่อประเทศชาติ คุณธรรม และหลักธรรมาภิบาล
ไม่แข่งขัน และมุ่งหาพันธมิตร เข้าใจสังคม เข้าใจลูกน้อง นวัตกรรมของการบริหารงาน บริหารงานอย่างมีเป้าหมายและวิสัยทัศน์ การบริหารงานยุค ๔.๐ บริหารงานอย่างมีศีลธรรม เข้าใจโลก และยอมรับการเปลี่ยนแปลง
ขอบคุณครับ สถาบันเพื่อการนวัตกรรม SME Institute for SME Innovation (ISI) เศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ iamvisanu@hotmail.com