การมีส่วนร่วม ... กระจายอำนาจ... ความยั่งยืน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
บทบาทและหน้าที่ของคณะกรรมการประจำส่วนงาน
Advertisements

Thai Delmar’s core competencies
การบริหารการพยาบาล เพื่อสร้างวัฒนธรรมความปลอดภัยในการบริการพยาบาล
strategy Formulation Structure Architecture Strategy deployment
ผู้จัดการโครงงาน และ คณะทำงานโครงงาน The Project Manager and The Project Team Information System Project Management Date 27 June 2008 Time
โครงงานคืออะไร หลักการของการเรียนรู้ของ โครงงาน จุดมุ่งหมายของการจัดการเรียนรู้ ด้วยโครงงาน โครงงานกับการเรียนรู้แบบต่างๆ ลักษณะเด่นของการเรียนรู้ด้วย.
การประเมินผลระหว่างเรียนที่ ส่งเสริมการสอนของครูและ การเรียนรู้ของนักเรียนใน ศตวรรษที่ 21.
ประเด็นบรรยาย ๑. ทำไมต้อง “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้” ๒. นโยบายของโครงการ ลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้ ๓. ผล O-net ของโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการ ลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้
การเขียนแผนการสอน Media Base learning. รายละเอียดแผนการเรียนรู้ 1. สาระสำคัญ (Concept) เป็นความคิดรวบยอด หรือหลักการของเรื่องหนึ่งที่ต้องการให้เกิดกับ.
ทิศทางการบริหารจัดการแนวใหม่ เพื่อเพิ่มผลผลิตองค์กร การเข้าร่วมโครงการ APO_15-RP-12-GE-WSP-B_Workshop on Diversity Management and Human Capital Strategy.
นายรังสรรค์ ศรีล้วน สรุปผลการดำเนินงานระบบสุขภาพอำเภอ 2558 ระบบสุขภาพอำเภอจังหวัดอุบลราชธานี
ผลที่ได้จากการสอบสวน 1. เกิดเหตุการณ์อะไรขึ้น 2. ทำไมถึงเกิดเหตุการณ์นั้น 3. ใครจะเป็นผู้ที่เหมาะสมที่สุดในการแก้ไขป้องกันอุบัติเหตุในครั้งนี้
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีและนวัตกรรมการศึกษา
แนวทางการจัดทำรายงานการควบคุมภายในและการประเมินผลการควบคุมภายใน
การเขียนชื่อ “เรื่อง”
1) นำการเปลี่ยนแปลงสู่ห้องเรียนคุณภาพ
Hospital Presentation นพ.ชัยวัฒน์ พงศ์ทวีบุญ ผู้อำนวยการโรงพยาบาล
การประชุมผู้บริหารกรมอนามัย เพื่อทบทวน วิสัยทัศน์ พันธกิจ และ ค่านิยม
Human resources management
การจัดทำแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม
การดำเนินการตามพระราชบัญญัติส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน พ.ศ. 2545
หน่วยที่ 2 การวิเคราะห์ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ (NT/O-NET)
กิจกรรมปีงบประมาณ 2558 กลุ่มวิจัยและพัฒนาระบบการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ
การเพิ่มขีดสมรรถนะของ สำนักบริหารยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัด (OSM)
การเขียนหนังสือราชการและการโต้ตอบ นักจัดการงานทั่วไปชำนาญการ
งานสนับสนุนบริการ สู่การบริการที่เป็นเลิศ
เทศบาลนครขอนแก่น ยินดีต้อนรับ
ผลการดำเนินงานกรมอนามัย รอบ 6 เดือน (ตุลาคม 2558 – มีนาคม 2559)
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551.
การบริหารกำลังคนภาครัฐ
นายดำหริ งิมสันเทียะ ผอ.สพป.อย.1
สาเหตุของการเปลี่ยนแปลงแนวทางการพัฒนา
Learning Assessment and Evaluation
เข้าสู่วาระการประชุม
สมรรถนะ (Competency) สมรรถนะ (Competency) โดย รศ.สุรชัย ขวัญเมือง
ดร.วีรพจน์ ลือประสิทธิ์สกุล
การมีส่วนร่วมของชุมชนและประชาชน: แนวคิด และประสบการณ์วิจัย
การประชุมคณะกรรมการโครงการ DHS South phase 2 ครั้งที่ 1/2560
การพัฒนาประเทศไทย ปี พ.ศ. 2559
4.1 งานนโยบายรัฐบาล ปีงบประมาณ 2560 เดือน สิงหาคม 2560
การเตรียมความพร้อม สหกิจศึกษา
การสัมมนาวิชาการ ปขมท.
แผนที่ยุทธศาสตร์ของศูนย์พัฒนาอนามัยพื้นที่สูงปี
ผู้อำนวยการวิทยาลัยเทคโนโลยีไทย-ไต้หวัน (BDI)
ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
Line Manager is Leader.
นายดำหริ งิมสันเทียะ ผอ.สพป.อย.1
ดร.ศรีวรรณ ฉัตรสุริยวงศ์ ครูเชี่ยวชาญ (คศ.4)
การจัดการความปลอดภัยระบบสารสนเทศ (Information Security Management System : ISMS) ด้วย เกณฑ์มาตรฐานการรักษาความมั่นคงปลอดภัย ISO/IEC และ ISO/IEC
Guidance Psychology and Services
Educational Standards and Quality Assurance
Career Path บุคลากรสายงานกิจการนิสิต
แผนยุทธศาสตร์ ๑๐ ปี มน. พ.ศ.๒๕๖๐ – ๒๕๖๙ เตรียมพัฒนานิสิตสู่ประชาคมโลก
ตอนที่ 3.2 กลยุทธ์การบริหารเจ้าหน้าที่
ดร.ภาสกร พงษ์สิทธากร ผู้อำนวยการศูนย์พัฒนาการนิเทศและเร่งรัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน สพฐ.
ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ
การประชุมบริหารจัดการพลังงาน สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุตรดิตถ์
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
สารสนเทศ และการรู้สารสนเทศ
12-13 พฤษภาคม 2561 ณ หอประชุมภัคพิพิธ โรงเรียนหาดใหญ่วิทยาลัย ๒
การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน School- Based Management
“การปฏิบัติหน้าที่อย่างครูมืออาชีพ”
จุดที่ควรปรับปรุง SR 1 และ SR 2.
แพทย์หญิงประนอม คำเที่ยง
สรุปผลการดำเนินงาน โครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาและการพัฒนาท้องถิ่น โดยมีสถาบันอุดมศึกษาเป็นพี่เลี้ยง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ
5ใจเลิกบุหรี่ ด้วยวิธี 5 D
ประเด็นความเสี่ยงของสำนักงาน ปี ๒๕๕๕
Program Evaluation Achakorn Wongpreedee, Ph.D.
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบ อสม. สู่การทำงานสุขภาพเชิงรุก
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การมีส่วนร่วม ... กระจายอำนาจ... ความยั่งยืน ภัทระ แสนไชยสุริยา คณะสาธารณสุขศาสตร์, มหาวิทยาลัยขอนแก่น

ชุมชน ทุนชุมชน ทุน คือ ? โจทย์การศึกษาชุมชน ? ประวัติชุมชน อดีต..ปัจจุบัน (อนาคต) มุ้งเล็กในมุ้งใหญ่ (การรวมกลุ่ม) แกนนำ (ฮาร์ดคอร์) ปัญหาชุมชน ..สุขภาพ/สุขภาวะ ชุมชน ทุนชุมชน ทุน คือ ?

“ ได้(ฉุก)คิด.....คิด(ต่อ)ได้” ความรู้ + ทักษะ(ชำนาญ) = ประสบการณ์ เสริมสร้างความรู้ (ความจริง) ... พัฒนาทักษะ (สมรรถนะ) ... ต่อเติมประสบการณ์ (ประยุกต์ใช้ความรู้และทักษะ) “ ได้(ฉุก)คิด.....คิด(ต่อ)ได้” “ สร้างการเรียนรู้ ”

อะไร คือ การมีส่วนร่วม? จะสร้างการมีส่วนร่วมได้อย่างไร?

ใครเป็นผู้มีส่วนร่วม? รู้จัก “ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย” ธรรมชาติ บทบาท หน้าที่– คาดหวัง / ความจริง สร้าง/หาสมดุล – สิ่งที่ต้องทำ, สิ่งที่ควรทำ, สิ่งที่ไม่จำเป็นต้องทำ

รูปแบบการมีส่วนร่วม การมีส่วนร่วมโดยสมัครใจ - สนใจ การมีส่วนร่วมโดยการบังคับ – มาตรการ ระเบียบ ข้อบังคับ & กฏหมาย

#€÷ คุณทำโน้น .. คุณทำนี่.. คุณทำนั่น ครับ.. ครับ ครับ..

พัฒนาการความร่วมมือ ผมดู คุณดู คุณทำ คุณทำผมช่วย พวกเราทำ ผมทำคุณช่วย ผมทำเอง

การมีส่วนร่วม ....ในความหมายเชิงปฏิบัติการ เป็นกระบวนการที่ บุคคล เข้าร่วมอย่างแข็งขันและจริงจังในการกำหนดประเด็นที่สนใจ ตัดสินว่าอะไรเป็นเหตุปัจจัยที่ส่งผลต่อการดำเนินชีวิต สร้างและดำเนินนโยบาย นำนโยบายสู่การปฏิบัติโดยมีการวางแผน พัฒนาและให้บริการ เพื่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลง (Bracht and Tsouros, 1990; WHO, 1991; Smithies and Webster, 1998; WHO Regional Office for Europe, 2002)

บุคคลที่มีส่วนช่วย(ร่วม)ในการวางแผน มักปรากฏตัวร่วมทำ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ร่วมคิด (ร่วมวิเคราะห์ ร่วมตัดสินใจ ร่วมวางแผน) ร่วมทำ (ร่วมดำเนินการอย่างต่อเนื่องของคนใน) ร่วมประเมิน ร่วมรับผล บุคคลที่มีส่วนช่วย(ร่วม)ในการวางแผน มักปรากฏตัวร่วมทำ การมีส่วนร่วมไม่ใช่เพียงแค่ว่า มารับรองหรือให้ความเห็นชอบ หรือ สนับสนุนทรัพยากร

หลักคิดการมีส่วนร่วม 1) ชุมชนสามารถและควรจะกำหนดลำดับความสำคัญในการจัดการปัญหาที่ชุมชนเผชิญ 2) ความล้ำลึกของภูมปัญญา ความรู้ ที่ชุมชนสะสม ชุมชนสามารถสร้างขึ้น และนำมาซึ่งการเปลี่ยนแปลงและการพัฒนาที่ดีขึ้น 3) เมื่อบุคคลเข้าใจปัญหาอย่างถ่องแท้ บุคคลนั้นย่อมมีความพร้อมมากกว่าในการแก้ไขปัญหาWhen 4) บุคคลมีรูปแบบแก้ไขปัญหาที่ดีที่สุดจากการมีส่วนร่วมในกระบวนการกลุ่ม

ระดับการมีส่วนร่วม บริการเชิงรุก การให้คำปรึกษาแนะนำ ให้ความร่วมมือ ร่วมดำเนินการ ร่วมเป็นผู้นำ ผลการเข้าร่วม ได้รับการกระตุ้นความตระหนัก การให้คำปรึกษา ให้ความร่วมมือ ร่วมดำเนินการ ร่วมเป็นผู้นำ ผลการเข้าร่วม ได้รับการกระตุ้นความตระหนัก การให้คำปรึกษาแนะนำ ให้ความร่วมมือ ร่วมดำเนินการ ร่วมเป็นผู้นำ

ระดับการมีส่วนร่วม ระดับ 9 ชุมชนริเริ่มทำเอง ไกลเกินกว่า การมีส่วนร่วม 8 7 6 5 4 3 2 1 ชุมชนริเริ่มทำเอง มีอำนาจตัดสิน เป็นตัวแทนร่วมตัดสินใจกับผุ้มีอำนาจ ร่วมตัดสินใจ เข้าร่วม หารือ รับคำปรึกษา สารสนเทศ เครื่องมือ/กลไก ไกลเกินกว่า การมีส่วนร่วม ระยะการมีส่วนร่วม ระยะก่อนการมีส่วนร่วม ไม่มีส่วนร่วม

“การทำงานร่วมกันของแต่ละกลุ่ม การอยู่ร่วมกันที่เกิดเป็นบทบาทของแต่ละบุคคล ใครมีความสามารถตรงไหนก็ได้รับบทบาทนั้น หมายความว่า หน้าที่และบทบาทมาตามความสามารถของคนนั้น องค์กรธรรมชาติ ดำรงอยู่ได้ด้วยความพอเหมาะ และความพอเหมาะเหล่านี้ก็คือ ความพอดี ความถนัด ซึ่งก็ทำตามหน้าที่ ไม่ฝืน เพราะถ้าฝืนก็ไม่ใช่ธรรมชาติของคนนั้น ถ้าเป็นธรรมชาติจริงต้องไม่แยกจาก ต้องไม่กำหนด ตัวสำคัญคือภารกิจเกิดขึ้นที่ประสานกันได้และเป็นประโยชน์ ไม่มีความขัดแย้งจนเกินไป ประนีประนอมกันได้” การสร้างการมีส่วนร่วม : หลักการ ความหมาย และแนวทางการพัฒนา : รศ.นพ.วิชัย โปษยะจินดา

ความสำเร็จของการมีส่วนร่วม ขึ้นกับ การพูดคุยหารือกันอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ ที่เป็นการกำหนด ทดสอบและตรวจทาน เป้าหมายร่วมกัน ซึ่งเป้าหมายร่วมดังกล่าวนั้นเกิดจากการวิเคราะห์ การวิจัย การศึกษา และประสบการณ์

อุปสรรคการมีส่วนร่วมของชุมชน - ขาดความมั่นใจ ขาดอิสระในการตัดสินใจ - ความขัดแย้งและการแบ่งฝ่าย (ความแตกต่างหลากหลาย) - ความขาดแคลน (ขาดทรัพยกร/ เจ็บป่วย) - ตรายาง

การเอาชนะอุปสรรคการมีส่วนร่วม - หาช่องทางเข้าถึงชุมชน ทำงานกับผู้นำ ประสานกับภาครัฐเพื่อการสนับสนุนระยะยาว เรียนรู้ และเข้าใจพื้นฐานชุมชนด้านเศรษฐกิจและสังคม จากอดีต ถึงปัจจุบัน สร้างกลไกที่เอื้อให้เกิดการมีส่วนร่วม (วิธีการค้นหา “ผู้นำ” ถามใครก้ได้ว่าหากต้อการคำปรึกษาจะไปหาใครให้บอกมาสามชื่อ จากชื่อสามชื่นั้นก็ให้ถาม คำถามเดิมว่า หากต้องการคำปรึกษาจะไปหาใคร แล้วเอารายชื่อที่สุดท้ายที่ได้มาเรียงตามความถี่ทีถูกเอ่ยถึง)

กระบวนการสร้างการมีส่วนร่วม เปิดพื้นที่พูดคุย ศึกษา/วิเคราะห์ ศึกษา/วิเคราะห์ สะท้อน สะท้อน พวกเราเป็นใคร? ค้นคว้า ค้นคว้า ทำ ทำ ทำไมมาอยู่นี่? ตัวเราเป็นใคร? ตั้งเป้าหมายร่วม กระบวนการสร้างการมีส่วนร่วม

ใกล้ชิด ผสมผสาน องค์รวม ต่อเนื่อง เชื่อมโยง ส่งต่อ) บริการปฐมภูมิ (รพ.สต.) ใกล้ชิด ผสมผสาน องค์รวม ต่อเนื่อง เชื่อมโยง ส่งต่อ) ความเชื่อใจ มีทุกคำตอบ

ความรู้ ทักษะ ประสบการณ์..... บริการปฐมภูมิ หลักยึด....จิตสำนึก การปฏิบัติ....นอบน้อมถ่อมตน

ความแข็ง...ความแรง ความแข็งแรง ไม้จิ้มฟัน ตะเกียบ ตะเกียบหนึ่งท่อน ตะเกียบหลายท่อน ตะเกียบหลายท่อน ตะเกียบหนึ่งมัด ตะเกียบหนึ่งมัด ไม้ท่อนหนึ่งท่อน ความแข็ง...ความแรง ความแข็งแรง

การมีส่วนร่วม ... ความสามัคคี กระจายอำนาจ... ความยั่งยืน

Co-learning Collective action Shared-leadership Collaboration Characteristics of Participation Co-learning Collective action Shared-leadership Collaboration Cooperation Consultation Compliance Co-option Development – Implement – Achievement Define – Resources – Action – Achievement - Measurement