สรุปผลตรวจราชการ จังหวัดมหาสารคาม คณะ ๑ การส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค และการจัดการสุขภาพ TEEN PREG. LTC MMR G&C CHILD DEV. NCDS EOC smoke กรมอนามัย กรมสุขภาพจิต กรมควบคุมโรค กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ กรมการแพทย์ ๑๓-๑๕ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๒
ตัวชี้วัดที่ 1 : อัตรามารดาตาย (17:100,000 LB) ความครอบคลุมการ คัดกรองภาวะเสี่ยง ร้อยละ98.75 (1575/1595) หญิงตั้งครรภ์ที่มีความเสี่ยง ร้อยละ 14.48 (228/1575) หญิงตั้งครรภ์ได้รับ การจัดการ/ส่งต่อ ร้อยละ 100 ภาวะเสี่ยง 5 ลำดับแรก จากโรคอายุรกรรม 1. โลหิตจาง (257) 2. ความดันโลหิตสูง (51) 3. DM (17) 4. BMI<18.5กก/ตรม. (16) 5. Thyroid/SLE (10) 1.สถานการณ์และปัญหาสำคัญ MMR=0 ANC 5 ครั้งคุณภาพ 60 % ภาพรวมจังหวัด 74.4% ANEMIA PREGNANCY ≤ 16 % ภาพรวมจังหวัด 13.4% ไม่มีมารดาตาย มีกิจกรรมที่ต้องเฝ้าระวังและติดตาม คือ ANC 5 ครั้งคุณภาพ 5 อำเภอ โลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์ 5 อำเภอ (ภาพรวมจังหวัดผ่านเกณฑ์)
ตัวชี้วัดที่ 1 : อัตรามารดาตาย (17:100,000 LB) (ต่อ) 2.มาตรการปี 2562และการวิเคราะห์ความสอดคล้อง 1. จัด Zoning ที่มีประสิทธิภาพ คุณภาพ 2. One Labor Room One Province 3. Warning sign ใน ANC LR และชุมชน 4. พัฒนาและประเมินผลการจัดการภาวะวิกฤติทางสูติศาสตร์ 5. พัฒนากลไกหลัก พชจ. พชอ. และพชต. ที่มีความเชื่อมโยงกันทุกภาคส่วน 3.ข้อเสนอแนะ 1. นำระบบสารสนเทศ มาจัดการสื่อสาร ส่งต่อและส่งกลับหญิงตั้งครรภ์กลุ่มเสี่ยงทุกราย เพื่อการดูแลทั้งโรงพยาบาลและชุมชนครอบคลุม 2. เชิญชวนเข้าร่วม “โปรแกรม๙ย่างเพื่อสร้างลูก” เป็นช่องทางการสื่อสารข้อมูลความรู้แก่หญิงตั้งครรภ์ผ่าน facebook 4. SMALL SUCCESS 3 เดือน 6 เดือน 1.มีแผนและมีการขับเคลื่อนนโยบายป้องกันและแก้ไขมารดาตาย 1.พัฒนามาตรฐานบริการ MCH 2.พัฒนาระบบคัดกรองและการจัดการกลุ่มเสี่ยง 3.พัฒนาบุคลากรเพื่อรองรับสถานการณ์ฉุกเฉินทางสูติศาสตร์
1.สถานการณ์และปัญหาสำคัญ ตัวชี้วัดที่ 2 : ระดับความสำเร็จของการส่งเสริมพัฒนาการเด็กตามเกณฑ์มาตรฐาน (คัดกรอง 90%, สงสัยล่าช้า 20%, ติดตาม 90%, ล่าช้าได้รับการกระตุ้น 30%) (สูงดีสมส่วน 54%) 1.สถานการณ์และปัญหาสำคัญ เด็ก 0-5 ปี มีภาวะเตี้ย ครอบคลุม ชั่ง&วัด 91% พยัคฆภูมิพิสัย 12.7% ชื่นชม 10.1% เชียงยืน 6.9% โกสุมพิสัย 7.8% กุดรัง 12.3% กันทรวิชัย 8.7% เมือง 14.3% แกดำ 7.2% บรบือ 9.8% วาปีปทุม นาเชือก 10.7% นาดูน ยางสีสุราช 13.0% ผลวิเคราะห์ ข้อมูลเด็กสูงดีสมส่วน 0 – 60 เดือน ANEMIA 35.7%* เด็กได้รับธาตุเหล็ก 71.9% TSH 8.82% *โครงการศึกษาสถานการณ์การเจริญเติบโต ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อการเจริญเติบโต (เม.ย.-มิ.ย. 61) มากกว่าร้อยละ 10 ไม่เกินร้อยละ 10
ตัวชี้วัดที่ 2 : ระดับความสำเร็จของการส่งเสริมพัฒนาการเด็กตามเกณฑ์มาตรฐาน (คัดกรอง 90%, สงสัยล่าช้า 20%, ติดตาม 90%, ล่าช้าได้รับการกระตุ้น 30%) (สูงดีสมส่วน 54%) 2. มาตรการปี 2562 กำหนดเป็นวาระจังหวัด Smart Kids TAKSILA 4.0 ด้วย พชจ. (36 หน่วยงาน ครอบคลุม Non Health Sector) และ พชอ. ภายใต้มหัศจรรย์ 1000 วันและ สาวไทยแก้มแดง โดยผู้ว่าราชการฯ เป็นประธาน ขยายความครอบคลุมการดำเนินงานทุกตำบลด้วย พชต. (133 ต.) ขับเคลื่อนการดำเนินงานมาตรฐานสถานพัฒนาเด็ก ปฐมวัยแห่งชาติผ่าน พชจ., พชอ. ขับเคลื่อนการดำเนินงานกระตุ้นพัฒนาการเด็กที่มี ปัญหาพัฒนาการล่าช้าผ่านคณะกรรมการขับเคลื่อน ระบบงานสุขภาพจิตและจิตเวชระดับจังหวัด Intensive M&E 3. ข้อเสนอแนะ กำกับ ติดตาม คุณภาพ Smart Kids TAKSILA 4.0 สื่อสารสร้างความรอบรู้การกระตุ้นพัฒนากลุ่ม ผู้ปกครองอำเภอเมือง ติดตามกลุ่มล่าช้าให้ได้รับการกระตุ้นด้วยTEDA4I อย่างต่อเนื่องและครอบคลุม กำหนดแผนแก้ปัญหาเด็กกลุ่มที่มีปัญหาทุพ โภชนาการ (เตี้ย อ้วน ผอม) การแก้ไขปัญหาภาวะโลหิตจาง จำเป็นต้องให้ยาน้ำ เสริมธาตุเหล็กกลุ่ม 6 เดือน-2 ปี และต่อเนื่องถึง 5 ปี 4. SMALL SUCCESS 3 เดือน 6 เดือน มีนโยบาย/มาตรการ/แผนดำเนินงานตามแนวทางมหัศจรรย์ 1000 วัน ที่ชัดเจน ใน Smart Kids TASILA 4.0 ทุกอำเภอ บุคลากร สธ. ได้รับการพัฒนาศักยภาพการใช้คู่มือ DSPM, TEDA4I และทักษะการสื่อสารกับผู้ปกครอง 1. ขับเคลื่อนมหัศจรรย์ 1000 วัน อย่างน้อยร้อยละ 50 ของอำเภอ 2. กลุ่มเด็กล่าช้าได้รับการกระตุ้นด้วย TEDA 4I ร้อยละ 40 Best Practice ต้นแบบระบบขับเคลื่อนงานระดับจังหวัดภายใต้โครงการส่งเสริมเด็กร้อยแก่นสารสินธุ์ เก่ง ดี มีสุข (Smart Kids@Health Area 7) (PPA เขตสุขภาพที่ 7 ปี 2562)
ตัวชี้วัดที่ 3 : GREEN & CLEAN HOSPITAL รพ.ผ่านเกณฑ์ ระดับพื้นฐานร้อยละ 100 ระดับดีขึ้นไปร้อยละ 85 ระดับดีมากขึ้นไปร้อยละ 40 ระดับดีมาก Plus 1 แห่ง/จว. 1.สถานการณ์และปัญหาสำคัญ 2.มาตรการปี 2562และการวิเคราะห์ความสอดคล้อง 1. มีคณะทำงานพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมในโรงพยาบาลตามเกณฑ์ GREEN & CLEAN Hospital ระดับจังหวัด 2. จัดประชุมและแลกเปลี่ยนเรียนรู้การดำเนินงาน ตามกลยุทธ์ GREEN 3. โรงพยาบาลทุกแห่งประเมินตนเอง รายงานให้จังหวัดทราบ 4. จังหวัดออกประเมิน (Re-accreditation) ปีละ 1 ครั้ง (ตั้งเป้าสู่การพัฒนา GREEN & CLEAN Hospital Plus 9 แห่ง) รพ.ชื่นชม รพ.เชียงยืน รพ.โกสุมพิสัย รพ.กุดรัง รพ.กันทรวิชัย รพ.มหาสารคาม รพ.แกดำ รพ.บรบือ รพ.วาปีปทุม รพ.นาเชือก รพ.นาดูน รพ.ยางสีสุราช รพ.พยัคฆภูมิพิสัย ผ่านระดับดี ผ่านระดับดีมาก 3.ข้อเสนอแนะ 1.จังหวัดควรมีแผนเยี่ยมติดตามและแนะนำทุกปี 2.จัดเวทีประชุมและแลกเปลี่ยนรายประเด็น เช่น การจัดการขยะ การ ประหยัดพลังงาน การจัดการน้ำเสีย สุขาภิบาลอาหารและน้ำ เป็นต้น 3.ขยายกิจกรรม GREEN & CLEAN Hospital สู่ระดับ รพ.สต. 4. SMALL SUCCESS 3 เดือน 6 เดือน 1. ทุกจังหวัดมีแผน ในการขับเคลื่อน และประเมิน (Re-accreditation). โรงพยาบาลผ่านเกณฑ์ฯระดับพื้นฐานขึ้นไป ร้อยละ 100 โรงพยาบาลผ่านเกณฑ์ฯ ระดับดีขึ้นไป ร้อยละ 80
สถานการณ์: ตำบลLONG TERM CARE ผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 84.96 1.สถานการณ์และปัญหาสำคัญ 2.มาตรการปี 2562และการวิเคราะห์ความสอดคล้อง 1.เพิ่มพื้นที่ ตำบล LTC :กระตุ้นให้มีการสมัครร่วมตำบล LTC ทุก อปท. ( อีก23 แห่งจะครบ 100%) 2. ควบคุม กำกับ ติดตามทุกเดือน ชื่นชม 100 สถานการณ์: ตำบลLONG TERM CARE ผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 84.96 เชียงยืน 62.5 กันทรวิชัย 60.0 โกสุมพิสัย 70.85 เมือง 85.71 กุดรัง100 บรบือ 66.6 แกดำ100 วาปีปทุม 100 3 .ข้อเสนอแนะ ไม่มี นาเชือก 90.0 นาดูน100 ยางสีสุราช 100 พยัคฆภูมิพิสัย 100 4. SMALL SUCCESS 3 เดือน 6 เดือน 1. ตำบล LTC ผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 50 1. ตำบล LTC ผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 55
ตัวชี้วัดที่ 5 : อัตราผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่จากกลุ่มเสี่ยงเบาหวาน และอัตรากลุ่มสงสัยป่วยความดันโลหิตสูงในเขตรับผิดชอบได้รับการวัดความดันโลหิตที่บ้าน 1.สถานการณ์และปัญหาสำคัญ - แนวโน้มผู้ป่วยรายใหม่จากกลุ่มเสี่ยงเพิ่มขึ้น จากร้อยละ 2.31 ในปี 2557 เป็น 3.05 ในปี 2561 - อัตราป่วยเบาหวานรายใหม่จากประชากรทุกกลุ่ม ปี 2558-2561 มีแนวโน้มสูงขึ้น 362.69, 367.73, 697.57 และ 629.76 ต่อประชากรแสนคน - อัตราป่วยความดันโลหิตสูงรายใหม่จากประชากรทุกกลุ่ม ปี 2558-2561 มีแนวโน้มสูงขึ้น 582.10, 628.23, 1332.66 และ 1344.10 ต่อประชากรแสนคน ตามลำดับ 2.มาตรการปี 2562และการวิเคราะห์ความสอดคล้อง1. มี NCD Board จังหวัด อำเภอ (ทั้ง SP PP) 2. การพัฒนาระบบบริการดำเนินงานป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ผ่าน NCD Clinic Plus 3. การคัดกรอง DM/HT เพื่อค้นหาผู้ป่วยรายใหม่ 4. การติดตามวัดความดันโลหิตที่บ้าน HBPM 5. สร้าง System manager (SM) อำเภอ (รพ. สสอ.) 6. มีแผนดำเนินการสร้างเสริมสุขภาพ "รักษ์ไต อร่อยได้ ไม่ต้องเค็ม" พื้นที่เขต 7 ปีงบประมาณ 2562 ใน 13 อำเภอๆละ 1 ตำบล (งบ PPA เขต) 3.ข้อเสนอแนะ จัดการปัจจัยเสี่ยงร่วมกับ DPAC และลดเค็ม ขับเคลื่อนงาน NCD ผ่าน พชอ. โดยมีการทำ MOU กับผู้บริหารระดับอำเภอ (แกดำ โกสุม พยัคฆภูมิพิสัย นาเชือก) สื่อสาร CPG และการบันทึกข้อมูลในระดับ รพ.สต. ติดตาม Data exchange ใน HDC เพื่อเพิ่มความครอบคลุมการติดตามประเมินผลการดำเนินงาน 4. SMALL SUCCESS 3 เดือน 6 เดือน - มีข้อมูลกลุ่มเสี่ยงเบาหวานในปีที่ผ่านมาและปัจจัยเสี่ยงใน HDC - การคัดกรอง DM HT ในประชาชนอายุ 35 ปี ขึ้นไป ร้อยละ 83.38, 83.17 ตามลำดับ - กลุ่มเสี่ยงเบาหวานปีที่ผ่านมาได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อลดเสี่ยงและตรวจระดับน้ำตาลซ้ำ ≥ร้อยละ 85.39 1. กลุ่มเสี่ยงเบาหวานปีที่ผ่านมาได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อลดเสี่ยงและตรวจระดับน้ำตาลซ้ำ ≥ ร้อยละ 50 2. อัตรากลุ่มสงสัยป่วย HT ได้รับการวัดความดันโลหิต ที่บ้าน ≥ร้อยละ 10
ตัวชี้วัดที่ 6 : ระบบตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน (EOC & SAT ที่ปฏิบัติงานได้จริง) 1.สถานการณ์และปัญหาสำคัญ มีการระบาดของโรคติดต่อ เช่น Zika, leishmania, DHF พบเชื้อโรคพิษสุนัขบ้าในหัวสุนัขในหลายพื้นที่ ปี 2561 ดำเนินการพัฒนาศูนย์ EOC และ SAT ได้ครบตามที่กำหนด ผู้ปฏิบัติมีความความเข้าใจคลาดเคลื่อนเกี่ยวกับการวิเคราะห์ระดับความเสี่ยงสำคัญของโรคและภัย สุขภาพระดับพื้นที่ และเข้าใจคลาดเคลื่อนเกี่ยวกับการจัดทำแผนเผชิญเหตุ (IAP) ทีมตระหนักรู้สถานการณ์ บางคนยังขาดประสบการณ์และทักษะ ในการดำเนินงาน 2.มาตรการปี 2562และการวิเคราะห์ความสอดคล้อง พัฒนาศักยภาพบุคลากร ระดับจังหวัด เตรียมการเฝ้าระวังและประเมินสถานการณ์โรคและภัยสุขภาพ ระดับจังหวัด เตรียมความพร้อมของทรัพยากรเพื่อรองรับการเปิดศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน (EOC) ระดับจังหวัด เตรียมแผนบริหารจัดการภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขระดับจังหวัด นำระบบบัญชาการเหตุการณ์ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขมาใช้จริง หรือการซ้อมแผน 3.ข้อเสนอแนะ จังหวัดจัดอบรม เพื่อพัฒนาศักยภาพให้กับทีม เกี่ยวกับการจัดทำแผน IAP และ การวิเคราะห์ระดับความเสี่ยงสำคัญของโรคและภัยสุขภาพระดับพื้นที่ และอบรมทีม SAT โดย สคร.7 ขอนแก่น เป็นพี่เลี้ยง และให้การสนับสนุน หรือส่งทีมผู้ปฏิบัติงานเข้ารับการอบรมตามหลักสูตรที่ สคร. 7 จัดให้ On the job training ศึกษาจาก E-learning ที่กรมควบคุมโรคพัฒนาขึ้นมา 4. SMALL SUCCESS 3 เดือน 6 เดือน ทบทวนคำสั่ง EOC ปี 2562 จัดทำทะเบียนรายชื่อผู้บริหารที่ผ่านการอบรม ICS ของกรมควบคุมโรค ปี 2562 ผู้บริหารเข้ารับการอบรม ICS 1 ท่าน จัดทำตารางเวรปฏิบัติงานของทีม SAT ทีม SAT จัดทำรายงานการเฝ้าระวัง weekly report และจัดทำ spot report ได้ตามเกณฑ์ DCIR พัฒนาศักยภาพทีม SAT ในเดือนมีนาคม จัดประชุมเพื่อวิเคราะห์ระดับความเสี่ยงสำคัญ ของโรคและภัยสุขภาพระดับพื้นที่
ตัวชี้วัดที่ 7 :อัตราคลอดมีชีพในหญิงอายุ 15-19 ปี (38/1000 ปชก.) 1.สถานการณ์และปัญหาสำคัญ 2.มาตรการปี 2562และการวิเคราะห์ความสอดคล้อง 1. เร่งรัดและผลักดันการประชุมคณะอนุกรรมการฯระดับจังหวัด 2.ส่งเสริมสนับสนุนการดำเนินงานแผนยุทธศาสตร์โดยเฉพาะการเข้าถึงการบริการสุขภาพที่มีคุณภาพและเป็นมิตรกับวัยรุ่น บริการการยุติการตั้งครรภ์ที่ปลอดภัยภายใต้กฎหมายและข้อบังคับแพทยสภา 3.ส่งเสริมการจัดบริการ YFHS/อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์ /เครือข่ายยุติการตั้งครรภ์ที่ปลอดภัย(RSA) 4.ส่งเสริมการเข้าถึงสิทธิและการบริการคุมกำเนิดหลังคลอดหรือหลังแท้งด้วยวิธีกึ่งถาวร อ.ชื่นชม 7.59 อ.เชียงยืน 1.35 อ.โกสุมพิสัย 7.53 อ.กุดรัง 5.45 อ.กันทรวิชัย 5.01 อ.เมือง 0.9 อ.แกดำ 4.44 อ.บรบือ 5.94 อ.วาปีปทุม 7.27 อ.นาเชือก 2.78 อ.นาดูน อ.ยางสีสุราช 2.16 อ.พยัคฆภูมิพิสัย 6.01 3.ข้อเสนอแนะ 1.เน้นการขับเคลื่อนการพัฒนาระบบการศึกษาที่ส่งเสริมการเรียนรู้ด้านเพศวิถีศึกษา และทักษะชีวิตที่มีคุณภาพ 2.โรงพยาบาลทุกแห่งจัดให้มียาฝังคุมกำเนิดในโรงพยาบาล และให้บริการฝังยาคุมกำเนิดแก่ผู้รับบริการก่อนกลับบ้าน ณ โรงพยาบาลที่ผู้รับบริการมาคลอด จังหวัดมหาสารคาม 17.46 (HDC adjusted,ต.ค.-ธ.ค. 2561) ตั้งครรภ์ซ้ำ 7.32% (เป้า14%) 4. SMALL SUCCESS 3 เดือน 6 เดือน 1. ประชุมคณะอนุกรรมการฯระดับจังหวัดครั้งที่ 1 2. มีการจัดทำแผนยุทธศาสตร์ฯระดับจังหวัด 3. ประชุมคณะอนุกรรมการดำเนินงานกลุ่มวัยรุ่นและศูนย์พึ่ง ได้ ครั้งที่ 1/2562 1. จัดทำแนวทางการให้บริการด้านอนามัยการ เจริญพันธุ์สำหรับวัยรุ่น ภายใต้กฎกระทรวงฯ
ตัวชี้วัดที่ 8 : จำนวนผู้สูบบุหรี่ที่เลิกสูบบุหรี่ 1.สถานการณ์ จังหวัดมหาสารคาม จากข้อมูลการคัดกรองและการบำบัดผู้ติดบุหรี่ ในระบบ HDC จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ ปี 2560-2562 จำนวน 114,821 ราย เลิกได้ที่ 6 เดือน 24,542 คิดเป็นร้อยละ 21.37 (HDC วันที่ 8 กุมภาพันธ์ 2562) ปี 2562 เป้าหมาย อสม.ชวนเข้าร่วมโครงการฯ จำนวน 58,182 ราย อสม.ชวนฯได้ 22,407 ราย คิดเป็น ร้อยละ 38.5 อสม.สูบบุหรี่ สูบบุหรี่ 559 ราย เข้าร่วมโครงการ 457 คิดเป็นร้อยละ 81.7 2.มาตรการปี 2562และการวิเคราะห์ความสอดคล้อง แผนการคัดกรองช่วยเลิกเป็นระบบทั้งจังหวัด กำหนดเป็น PA ระดับอำเภอ ติดตามในการประชุมกวป.ทุกเดือน แต่งตั้งคณะกรรมการพัฒนาภาคประชาชน เพื่อสนับสนุนโครงการฯ ชี้แจงโครงการฯแก่คณะกรรมการ องค์กร อสม. /อสม.และเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง สนับสนุนสื่อ เอกสาร ความรู้เกี่ยวกับการเลิกบุหรี่ ให้กับ อสม. และชุมชน อสม.ที่สูบบุหรี่ เข้าร่วมโครงการทุกคน สำรวจและ อสม.ชวนผู้สูบบุหรี่เข้าร่วมโครงการ (อสม. 1 คน ต่อ ผู้สูบบุหรี่ 3 คน) 3.ข้อเสนอแนะ พัฒนาศักยภาพบุคลากรในการบันทึกข้อมูลระบบ 43 แฟ้ม (HDC) โปรแกรมการสร้างแรงจูงใจเพื่อให้ผู้ที่สูบบุหรี่อยากเลิกบุหรี่ 4. SMALL SUCCESS มีเครือข่าย อสม.ที่มีความเข้มแข็ง และพี่เลี้ยง เจ้าหน้าที่ทุกระดับ ร่วมมือเป็นเครือข่ายกับชุมชน ในการดำเนินงาน เครือข่าย พชต. พชอ. พชจ. บูรณาการ กับงานตำบลจัดการคุณภาพชีวิต อสม.4.0 อสม.นักจัดการสุขภาพ 3. มีการพัฒนาศักยภาพบุคลากรในการบันทึกข้อมูลผ่านระบบ 43 แฟ้มร่วมกับเขต 4. มี Model เป่าปอด ทดสอบบุหรี่ทุกอำเภอ เพื่อใช้เป็นสื่อในการช่วยเลิกบุหรี่ 5. มีการนิเทศติดตามการดำเนินงานเป็นรายอำเภอ และวิเคราะห์ระบบข้อมูลที่ผิดปกติ
ตัวชี้วัดที่ 9 : ร้อยละผู้ป่วยโรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูงควบคุมได้ (เป้าหมาย ≥ร้อยละ 40/50) 1.สถานการณ์และปัญหาสำคัญ - DM ควบคุมได้ ปี 2558-2562 ร้อยละ 10.83, 13.21, 14.14, 16.07 และ 7.86 ตามลำดับ ปี 2561 ได้ตรวจ HbA1c ร้อยละ 65.41 HT ควบคุมได้ ปี 2558-2562 มีค่า 30.69, 37.63, 44.75, 53.86 และ 27.63 ตามลำดับ ปี 2561 ได้รับการตรวจวัดความดันโลหิตอย่างน้อย 2 ครั้งในปี ร้อยละ 75.70 - ปี 2562 จำนวน DM 52,315 ได้ตรวจ HbA1C ร้อยละ 34.02 (คุมได้ 23.12) ซึ่ง DM มีเส้นรอบเอวมากกว่าส่วนสูง/2 ร้อยละ 67.08 จำนวน HT 72,108 คน ได้รับการตรวจอย่างน้อย 2 ครั้งในปี ร้อยละ 44.34 อัตราส่วน CM 17 คน : DM HT = 1:7,319 2.มาตรการปี 2562และการวิเคราะห์ความสอดคล้อง มี NCD Board จังหวัด อำเภอ (ทั้ง SP PP) 2. การพัฒนาระบบบริการดำเนินงานป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ผ่าน NCD Clinic Plus 3. อบรมให้ความรู้และคำปรึกษา (MI) เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ใน CM mini-CM (รพ.สต.) 4. สร้าง System manager (SM) อำเภอ (รพ. สสอ.) 5. ติดตามระบบข้อมูล ผ่าน CIO จังหวัด อำเภอใน VDO conference ทุกเดือน 6. ระบบติดตามการประเมินผลด้วยทีมสหสาขา 3.ข้อเสนอแนะ การจัดซื้อร่วมจังหวัด เขตในการตรวจ HbA1C การปรับเปลี่ยนด้วย DPAC MI (Monitoring interviewing) เพิ่มความครอบคลุมการตรวจวัดความดันโลหิตอย่างน้อย 2 ครั้งในปี ของผู้ป่วย HT (ต่อยอด) ติดตาม Data exchange ใน HDC เพื่อเพิ่มความครอบคลุมการติดตามประเมินผลการรักษา 4. SMALL SUCCESS 3 เดือน 6 เดือน NCD Clinic Plus มีแผนดำเนินงานและติดตามการพัฒนาคุณภาพ NCD Clinic Plus ชี้แจงและถ่ายทอดแนวทางการดำเนินงาน 27 ธ.ค.2561 การดุแลผู้ป่วย DM/HT ชี้แจงแนวทางการดำเนินงาน ตัวชี้วัด และ Road map ปี 2562 วันที่ 17 ธ.ค. 2562 พัฒนาศักยภาพบุคลากร เรื่อง ข้อมูล HDC MI HBPM อาหารสำหรับผู้ป่วย NCDs ร่วมกับสคร.7 1. รายงานผลประเมินตนเองของรพ. ตามเกณฑ์การประเมิน NCD Clinic Plus ขยายผลการพัฒนาศักยภาพบุคลากรในพื้นที่ เรื่อง MI และ SM ดำเนินงานการจัดบริการตามรูปแบบการบริการป้องกันควบคุม DM/HT ติดตามและประเมินผลการดำเนินงานด้วยทีมสหสาขา NCD, CKD Clinic
Thank you..