ศาสนาเชน Jainism
ประเพณี พิธีกรรม วันสำคัญ ศาสนาเชน ประวัติความเป็นมา 1 ความหมายของศาสนา 2 ศาสดาของศาสนา 3 หลักธรรม คัมภีร์ 4 นิกาย สัญลักษณ์ 5 ประเพณี พิธีกรรม วันสำคัญ 6
ประวัติศาสนา แหล่งกำเนิด ประเทศอินเดีย เกิดก่อนพุทธศักราช 58 ปี แหล่งกำเนิด ประเทศอินเดีย เกิดก่อนพุทธศักราช 58 ปี ศาสนาเชนมีความเก่าแก่คู่กับศาสนาพราหมณ์ ศาสนาเชนเป็น ศาสนาอเทวนิยม ผู้สถาปนาศาสนาเชน คือ ฤษภาและอาริษตาเนมิ ศาสดาองค์สำคัญที่ได้รับการนับถือในปัจจุบันคือ พระมหาวีระ
ศาสนาเชน ความหมาย ศาสนาแห่งผู้ชนะ(ชนะตนเอง) ความหมายของศาสนาเชน ไชน์ เชน ชินะ ผู้ชนะ ไยน์ ศาสนาเชน ความหมาย ศาสนาแห่งผู้ชนะ(ชนะตนเอง) การตั้งชื่อศาสนาเป็นตามเนมิตกนามหรือนามเกียรติยศของผู้เป็นศาสดาหรือผู้ก่อตั้ง ศาสนาเชน เกิดจากการปฏิรูปศาสนาพราหมณ์ และ ฮินดู ในด้านคำสอน,ความเชื่อถือและ ศาสนพิธี
ศาสดาของศาสนาเชน กษัตริย์สิทธารถะ พระนางตริศลา มหาวีระ เจ้าหญิงยโสธรา นามเดิม “วรรธมาน” แปลว่า ผู้เจริญมีกำเนิดใน กุลกษัตริย์ เมืองเวสาลี อโนชา
คัมภีร์ของศาสนาเชน คัมภีร์ อังคะ [อาคม] จารึกคำบัญญัติหรือวินัยที่เป็นไปเกี่ยวกับความประพฤติปฏิบัติของนักพรตหรือคฤหัสถ์ผู้ครองเรือน คัมภีร์ สิทธานตะ กล่าวถึงเรื่องราวประเภทชาดกในศาสนา
นิกายของศาสนาเชน นิกายทิคัมพร นิกายเศวตัมพร นักบวชจะต้องสละทรัพย์สินทั้งหมด เพราะผู้ที่หลุดพ้นแล้วจากกิเลสจะไม่ติดไม่ยึดอยู่ในอะไรทั้งสิ้น ต้องปฏิบัติตามปัญจมหาพรตม,สำรวม 5,เปลือยกาย * นิกายนี้มีเฉพาะเพศชายเท่านั้น นิกายเศวตัมพร นักบวชจะนุ่งห่มขาว ถือว่าปกปิดร่างกายไม่ให้อุจาดตาเท่านั้น ไม่ใช่เรื่องกิเลส ต้องปฏิบัติตามหมาพรต ทั้ง 5,ไม่บริโภคอาหารในเวลาค่ำคืน , รักษาความหมดจด * มีได้ทั้งเพศชาย และ เพศหญิง
หลักคำสอนของศาสนาเชน หลักธรรมขั้นพื้นฐาน หลักโมกษะ หลักปรัชญา - อหิงสา - สัตยะ - อัสเตยะ - พรหมจรยะ - อปริครหะ ชญาน - ชีวะ - อชีวะ -สัมยัคทรรศนะ -สัมยัคญาณะ -สัมยัคจาริตะ มติชญาน ศรุติชญาน อวธิชญาน มนปรยายชญาน เกวลชญาน
พิธีกรรมของศาสนาเชน พิธียุสะนะ[ปัชชุสะนะ] งานพิธีรำลึกถึงองค์ศาสดามหาวีระ ซึ่งเป็นงานพิธีกรรมทำให้มีความสงบ,การให้อภัยกัน,การเสียสละ,บริจาคทานแก่คนยากจน นิยมทำกันในปลายเดือนสิงหาคมหรือต้นเดือนกันยายน กระทำพิธีคราวละ 8 วันแบ่งเป็น 5 ระยะ ระยะที่ 1 ใน 3 วันแรก พวกฆราวาสต้องมารับคำสอนจากสงฆ์ทุกเช้า ระยะที่ 2 ในวันที่ 4 พวกฆราวาสต้องอ่านกัลปสูตร ระยะ ที่ 3 ในวันที่ 5 จะมีการประกอบพิธีใหญ่ ระยะที่ 4 ในวันที่ 6-7 นี้คงมีแต่การอ่าน กัลปสูตรอย่างเดียว ระยะ ที่ 5 ในวันที่ 8 มีการอ่านคัมภีร์ทุกคัมภีร์
พิธีกรรมของศาสนาเชน พิธีไกตระ การจัดพิธีเคารพรูปองค์ศาสดา ปีละ 2 ครั้ง ครั้งละ 9 วัน ระหว่างเดือนพฤษภาคม - มิถุนายน และเดือนกันยายน - ตุลาคม พิธีระลึกถึงวันนิรวาณของมหาวีระ วันพระจันทร์เต็มดวงในเดือนตุลาคม - พฤศจิกายน ศาสนิกชนก็จะจุดตะเกียง เพื่อให้เกิดแสงสว่างไปทั้งร่างกายและจิตใจ พิธีญานปัญจมะ พิธีกรรมเคารพพระคัมภีร์ และมีการจาริกแสวงบุญไปยังภูเขา สะตรันชัย อันเป็นสถานที่ศักดิ์สิทธิ์แห่งตีรถังกรองค์แรก