รายงานความก้าวหน้า คณะทำงานธรรมาภิบาล (CGO) เขตสุขภาพที่ 12 11 ธันวาคม 2561 Integrity and Transparency Assessment : ITA Public Sector Management Quality Award :PMQA
การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในกาดำเนินงาน ของหน่วยงานในสังกัดเขตสุขภาพที่ 12 Integrity and Transparency Assessment : ITA
KPI 44 ร้อยละของหน่วยงานในสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขผ่านเกณฑ์การประเมิน ITA หลักการประเมินตนเอง Self-Assessment ข้อเท็จจริงที่สามารถ ตรวจสอบได้จากเอกสารหลักฐาน เชิงประจักษ์ตามแบบสำรวจหลักฐานเชิงประจักษ์ Evidence-based Integrity And Transpanrency Assessment : EBIT จำนวน 26 ข้อ EB1 – EB 26 เป็นกลไกการขับเคลื่อนการบริหารราชการแผ่นดินที่มีธรรมาภิบาลเพื่อนำผลการประเมินมาพัฒนาและปรับปรุงกระบวนการปฏิบัติงานและให้การบริหารราชการของสำนักงานสาธารณสุขอำเภอและโรงพยาบาลในสังกัดสำนักงานเขตสุขภาพที่ 12 ให้มีประสิทธิภาพประสิทธิผลตามหลักธรรมาภิบาล
ผลการดำเนินงานปีงบประมาณ 2561
คะแนนการประเมิน ITA เฉลี่ยรายจังหวัด เขต 12 ปีงบประมาณ 61 เป้าหมาย 162 แห่ง ผ่านเกณฑ์ 146 แห่ง ไม่ผ่านเกณฑ์ 16 แห่ง หน่วยงานที่คะแนนต่ำกว่าค่าเป้าหมาย (ร้อยละ 90) 13 แห่ง สํานักงานสาธารณสุขจังหวัดนราธิวาส สสอ.เจาะไอร้อง สสอ.บาเจาะ สสอ.จะแนะ สสอ.เมือง-สสอ.ยี่งอ สสอ.ระแงะ สสอ.รือเสาะ สสอ.ศรีสาคร สสอ.สุคิริน โรงพยาบาลจะแนะ โรงพยาบาลรือเสาะ โรงพยาบาลแว้ง สํานักงานสาธารณสุขจังหวัดสงขลา สสอ. คลองหอยโข่ง หน่วยงานที่มีคะแนนต่ำกว่าค่าเป้าหมาย (ร้อยละ 90)และต่ำกว่า ร้อยละ 50 จำนวน 3 แห่ง สํานักงานสาธารณสุขจังหวัดนราธิวาส โรงพยาบาลสุคิริน สํานักงานสาธารณสุขจังหวัดสงขลา โรงพยาบาลปาดังเบซาร์ , โรงพยาบาลรัตภูมิ
ประเด็นปัญหาที่ส่งผลให้หน่วยงานมีผลคะแนนต่ำกว่าเป้าหมาย ไม่ดำเนินการตามกรอบแนวคิดการประเมิน ITA ในประเด็น ดังต่อไปนี้ 1.ดัชนีความโปร่งใส -ไม่เปิดโอกาสให้ผู้มีส่วนได้เสียเข้ามามีส่วนร่วมในการ ร่วมคิด ร่วมทำ และร่วมตรวจสอบ 2.ดัชนีคุณธรรมในองค์กร ประเด็น - ไม่การจัดทำคู่มือการปฏิบัติงานตามภารกิจหลัก ไม่เผยแพร่คู่มือการปฏิบัติงาน - การไม่ปฏิบัติตามคู่มือและการให้บริการที่ไม่เป็นธรรม - การจัดการเรื่องร้องเรียน 3. ดัชนีวัฒนธรรมและคุณธรรมในองค์กร - การจัดการเรื่องป้องกันผลประโยชน์ทับซ้อน - การดำเนินการด้านการป้องกันและปราบปรามการทุจริต - การรวมกลุ่มของเจ้าหน้าที่เพื่อตรวจสอบการบริหารงานของหน่วยงาน 4. ไม่ดำเนินการและไม่ส่งเอกสารหลักฐานเพื่อรับการประเมิน
ปัญหา/จุดร่วมที่สะท้อนปัญหาความเสี่ยงต่อความไม่สำเร็จ การกำกับติดตาม ITA ที่ไม่ต่อเนื่อง เจ้าภาพหลักของหน่วยงานดำเนินงานโดยลำพัง ขาดความร่วมมือของคนในองค์กร ไม่เข้าใจแนวทางการประเมิน ITA ระบบสารสนเทศ โดยเฉพาะ Internet ยังไม่รองรับและครอบคลุมทุกหน่วยงานเนื่องจากระบบสารสนเทศเป็นส่วนสำคัญในการประเมิน ITA ที่มุ่งเน้นการเปิดเผยข้อมูล ตรวจสอบได้ และการเข้าถึงข้อมูลของประชาชนและผู้มีส่วนได้เสียของหน่วยงาน
ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนา ผู้บริหารต้อง กํากับ ติดตาม เสริมแรง กระตุ้น หนุนเสริม จะเป็นพลังในการขับเคลื่อนการประเมิน ITA กําหนดบทบาทหน้าที่ของผู้รับผิดชอบหรือเจ้าภาพหลักเป็นลายลักษณ์อักษร นำข้อกำหนดของเกณฑ์การประเมิน ITA เป็นกระบวนการปฏิบัติงานสู่งานประจำ จังหวัดต้องพัฒนาเครือข่ายทีมพี่เลี้ยง ITA(Coach) ในการให้คําปรึกษาและให้ข้อเสนอแนะต่อการพัฒนากระบวนการปฏิบัติงานสู่งานประจํา สนับสนุนระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ ตามโมเดลประเทศไทยสู่ความมั่นคง มั่งคั่ง และยังยืน (Thailand 4.0) และ การเปิดเผยข่อมูลภาครัฐ (Open Government Data)
ปฏิทินการประเมิน ITA ของสานักงานเขตสุขภาพที่ 12ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 วัน เดือน ปี แผนการดำเนินงาน หมายเหตุ 26 ธันวาคม 2561 ไตรมาสที่ 1 Small Success ประเมินหลักฐานเชิงประจักษ์ EBIT ข้อ EB 1-EB 4 ระดับ 1 ระดับ 2 ระดับ 3 ระดับ 4 ระดับ 5 EB1 - EB 2 - EB3-4 ผู้ตรวจประเมินระดับเขต ประชุมตรวจหลักฐานเชิงประจักษ์ ส่งคะแนนให้ ศปท.สธ.ภายในวันที่ 3 มกราคม 2562 สถานที่ ห้องประชุมสำนักงานเขตสุขภาพที่ 12 25 มีนาคม 2562 ไตรมาสที่ 2 ประเมินหลักฐานเชิงประจักษ EBIT ข้อ EB 1-EB 26 ผู้ตรวจประเมินระดับเขต ประชุมตรวจหลักฐานเชิงประจักษ์ ส่งคะแนนให้ ศปท.สธ. ภายในวันที่ 3 เมษายน 2562 25 มิถุนายน 2562 ไตรมาสที่ 3 ประเมินหลักฐานเชิงประจักษ EBIT ข้อ EB 1-EB 26 ผู้ตรวจประเมินระดับเขต ประชุมตรวจหลักฐานเชิงประจักษ์ ส่งคะแนนให้ ศปท.สธ. ภายในวันที่ 3 กรกฎาคม 2562 26 สิงหาคม 2562 ไตรมาสที่ 24ประเมินหลักฐานเชิงประจักษ EBIT ข้อ EB 1-EB 26 ผู้ตรวจประเมินระดับเขต ประชุมตรวจหลักฐานเชิงประจักษ์ ส่งคะแนนให้ ศปท.สธ. ภายในวันที่ 3 กันยายน 2562
แนวทางการขับเคลื่อน PMQA ปี 2562 เขตสุขภาพที่ 12
Road Map การพัฒนา PMQA สสจ/สสอ. ปี 2562 กพร.สป จัดประชุมชี้แจงแนวทางแก่ผู้รับผิดชอบ จังหวัดละ 5 คน กพร.สป จัดประชุมพัฒนาผู้ประเมินระดับจังหวัด จังหวัดละ 1 คน นิเทศงาน จังหวัด รอบที่ 1 สป สธ.จัดประชุม แลกเปลี่ยนเรียนรู้PMQA 2 มค 62 2 เมย 62 2 กค 62 25 กย 62 มิย-สค 62 พย.-ธค 61 29-30 ตค.61 17-18 ธค 61 มค-มีค 62 สค 62 สสจ./สสอ. ประเมิน และทำแผนการพัฒนา PMQA 4 หมวด ปี 62 (2&4) Maintain ปี 61 (1&5) สสจ./สสอ. รายงาน ทุกไตรมาส กพร.สป แต่งตั้ง ผู้นิเทศงาน เขตสุขภาพ นิเทศงาน จังหวัด รอบที่ 2
แนวทางการขับเคลื่อนในเขตสุขภาพที่ 12 ผู้รับผิดชอบงานระดับจังหวัดที่ผ่านการอบรม เป็นแกนนำในการประเมินผลและจัดทำแผนการพัฒนา PMQA ของ สสจ./สสอ. แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ผ่าน กลุ่ม Line PMQA จังหวัด/เขต ขอความเห็นชอบแผนการพัฒนา PMQA จากกรรมการบริหารของหน่วยงาน และลงนามอนุมัติโดย ท่าน นพ.สสจ./สสอ. ติดตามความก้าวหน้าโดย การตรวจราชการนิเทศงาน 2 รอบ (ผู้รับผิดชอบงาน PMQA ของ สสจ/สสอ/ผู้นิเทศงานของเขต ร่วมเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้โดย นำเสนอรายงาน ของ สสจ. และจับฉลากนำเสนอ รายงานของ สสอ. 1 แห่ง ) นำเสนอความก้าวหน้าในการประชุมกรรมการบริหารเขต ไตรมาสละ 1 ครั้ง