ความรู้เกี่ยวกับการจัดการ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Information Systems in the Enterprise
Advertisements

Foundations of Management Understanding
Information System.
ประเภทของระบบสารสนเทศในองค์กร
อาจารย์มณทิพา ทับทิมอ่อน
องค์การสมัยใหม่ (Modern organization) หมายถึง การที่มีกลุ่มคนมาทํางาน ร่วมกันอย่างเป็นระบบ เพื่อให้ได้บรรลุเป้าหมายอย่างใดอย่างหนึ่ง ซึ่งองค์สมัยใหม่การมีลักษณะร่วมกันอยู่
Graham allison ส่วนที่เหมือนกันและต่างกัน สำคัญมาก เพราะไปเกี่ยวข้องกับ กลุ่มเป้าหมาย PA=public=social BA=targeted group Pa managerialism marketisation.
กระบวนวิชา ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ (Management Information System)
ผู้จัดการโครงงาน และ คณะทำงานโครงงาน The Project Manager and The Project Team Information System Project Management Date 27 June 2008 Time
ประเด็น 1. ที่มาและความสำคัญของสมรรถนะ 2. ประโยชน์และการประยุกต์ใช้
พันธกิจที่ 4 สร้างกลไกการพัฒนางานสุขภาพจิต นายแพทย์บุญชัย นวมงคลวัฒนา ประธานพันธกิจที่ 4.
การบริหารโครงการ (Project Management) โครงการ คือ งาน (task) ซึ่งมีการ กำหนดเวลาเริ่มต้นและสิ้นสุด ที่ แน่นอนและมีความต้องการใช้ทรัพยากร ต่างๆใน แต่ละกิจกรรมโดย.
1-2 ครั้งที่ 1 ผู้จัดการ และการจัดการ Managers and Managing.
ระบบสารสนเทศ อ.วรพจน์ พรหมจักร.
บทที่ 4 กลยุทธ์ระบบสารสนเทศ
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบและการวิเคราะห์ระบบ
โครงการอบรมหลักสูตรประกาศนียบัตร ผู้ตรวจสอบภายในภาครัฐ
การจัดการศูนย์สารสนเทศ
การประเมินศักยภาพองค์กรลุ่มน้ำ ( Self-Assessment and Reporting : SAR)
บทที่ 3 องค์การสมัยใหม่ (Modern organization)
บทที่ 2 กระบวนการและการวางแผนจัดการทรัพยากรมนุษย์ Human Resource Planning ดร. อัญภัคร์ ประพันธ์เนติวุฒิ มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา.
ความขัดแย้ง-การเปลี่ยนแปลง- การสร้างทีมงาน และภาวะผู้นำของผู้บริหาร : กรอบคิดเพื่อนำไปสู่การปฏิบัติ รองศาสตราจารย์ ดร.ภาณุวัฒน์ ภักดีวงศ์ ภาควิชาบริหารและพัฒนาการศึกษา.
การจัดการทรัพยากรมนุษย์
Human Resource Management การจัดการทรัพยากรมนุษย์
ระบบสารสนเทศในงานบริหารงานบุคคล และการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
Action Research รศ. ดร. วิโรจน์ สารรัตนะ
13 October 2007
การควบคุมภายในและการตรวจสอบภายใน
ความหมายของการจัดการ
การเตรียมความพร้อมข้าราชการ สู่ประชาคมอาเซียน ปี 2558
บทที่ 3 การตัดสินใจ ประเทศไทย - เศรษฐกิจ - การเมือง Google
เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology)
1-2 ครั้งที่ 1 ผู้จัดการ และการจัดการ Managers and Managing.
บทที่ 2 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
1-2 ครั้งที่ 1 ผู้จัดการ และการจัดการ Managers and Managing.
13 October 2007
รศ.ดร.ทศพร ศิริสัมพันธ์
ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology)
แนวทาง การจัดวางระบบการควบคุมภายใน และการประเมินผลการควบคุมภายใน
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับโครงการ
โดย ดร.เตือนใจ ดลประสิทธิ์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการประกอบธุรกิจ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
หมู่บ้านอาสาพัฒนาและป้องกันตนเอง
การจัดทำแผนอัตรากำลัง 3 ปี
การจัดการศูนย์สารสนเทศ
การจัดการทางการพยาบาล Management in Nursing
การบริหารการปฏิบัติงานของทรู (Cycle of Performance Management System)
ทิศทางการขับเคลื่อนแผนพัฒนากำลังคนรายจังหวัด
แนวคิดการจัดทำแผนพัฒนา และงบประมาณจังหวัด/กลุ่มจังหวัด
การผลิตและการจัดการการผลิต
เนื้อหา บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการเงินธุรกิจ
เอกภพ หรือ จักรวาล เอกภพ หรือ จักรวาล (Universe) เป็นระบบที่ใหญ่ที่สุดและไร้ขอบเขต และเป็นห้วงอวกาศที่เต็มไปด้วยดวงดาวจำนวนมหาศาล ซึ่งเราจะเรียกดวงดาวที่เกาะกันเป็นกลุ่มว่า.
การบริหารทีมงานและภาวะผู้นำ
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 2 : มาตรฐานการรักษาความปลอดภัยข้อมูล สธ412 ความมั่นคงของระบบสารสนเทศ อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ
บทที่ 5 องค์กร การบริหารในองค์กรและการพัฒนางานอาชีพในองค์กร
โดย ดร.เตือนใจ ดลประสิทธิ์
การขนส่งกับการจัดการโลจิสติกส์ Transport and Logistics Management
การจัดการสารสนเทศ Management Information System (MIS)
การจัดการและแนวความคิดทางการจัดการ
หลักการจัดการ Principle of Management
การวางแผนทรัพยากรมนุษย์ HR Planning
วิชา การจัดการทรัพยากรมนุษย์
สังคม วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย
การพัฒนาศักยภาพคนทำงาน
ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ
การฝึกอบรมและการพัฒนาบุคคล
องค์การและการจัดการ Organization and management (Mpp 5504)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. นัทนิชา หาสุนทรี สาขา รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต
บทที่ 3 ความรู้เกี่ยวกับการจัดการ
รพีพัฒน์ จันทนินทร มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ความรู้เกี่ยวกับการจัดการ บทที่ 3 ความรู้เกี่ยวกับการจัดการ

ความหมายของการจัดการ การจัดการ คือ กระบวนการทำงานที่มุ่งสู่เป้าหมายขององค์กรจากการทำงานร่วมกันโดยใช้บุคลากรและทรัพยากรทางการจัดการต่างๆ เพื่อให้มีประสิทธิผลและมีประสิทธิภาพมากที่สุด 2

ดับบริน และไอร์แลนด์ (Dubrin & IrelandX) กระบวนการบริหารจัดการ หมายถึง กระบวนการเพื่อบรรลุจุดหมายขององค์การโดยมีขั้นตอนดังนี้ การวางแผน (Planning) การจัดองค์การ (Organizing) การนำ (Leading) การควบคุม

ผลสำเร็จของการจัดการ ประสิทธิภาพ : Efficiency การบรรลุวัตถุประสงค์โดยใช้ทรัพยากรน้อยที่สุดแต่ก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด “Do things right” ประสิทธิผล : Effectiveness การบรรลุผลหรือเป้าหมายที่ตั้งไว้ “Doing the right things” 4

เปรียบเทียบผลงานกับทรัพยากรที่ใช้ ตัวอย่าง องค์การตั้งเป้าหมายในการใช้น้ำให้น้อยลง 10 % ภายใน 1 ปี องค์การ A สามารถลดน้ำได้ 10% ใช้เงินในการส่งเสริม 1 พันบาท องค์การ B สามารถลดน้ำได้ 10% ใช้เงินในการส่งเสริม 5 พันบาท สรุป การทำงานของทั้งสององค์การเกิดประสิทธิผล ในขณะที่องค์การ A มีการทำงานที่มีประสิทธิภาพกว่า 5

ความหมายของการจัดการหรือการบริหาร การจัดการ( Management ) คือ ระบบการจัดการของผู้บริหารที่ใช้ศาสตร์และศิลป์มาดำเนินกิจกรรมตามขั้นตอนต่างๆโดยอาศัยทรัพยากร ที่มีอยู่ให้สัมฤทธิ์ผลตามวัตถุประสงค์ จะเน้นการปฏิบัติการให้เป็นไปตามนโยบายที่วางไว้ การบริหาร (Administration)จะใช้ในการบริหารระดับสูงโดยเน้นความสำคัญที่การกำหนดนโยบาย และแผนต่างๆ องค์การทางราชการใช้ “ การบริหาร หรือ ผู้บริหาร ” องค์การภาคเอกชนใช้ “ การจัดการ หรือ ผู้จัดการ ”

ความแตกต่างระหว่างการบริหารและการจัดการ คำว่า Manager นั้น จะแปลว่า ผู้บริหาร ผู้จัดการ หรือ ผู้จัดการงานก็ได้แล้วแต่ความนิยมและอาจใช้คำว่า Administrator, Director, Executive, Supervisor ในความหมายเดียวกับ Manager ก็ได้ การบริหาร (Administration) ใช้ในการบริหารระดับสูง หน้าที่หลัก คือ กำหนดนโยบายที่สำคัญและการกำหนดแผน เป็นคำที่นิยมใช้ในการบริหารรัฐกิจ (Public Administration) การจัดการ (Management) เน้นการดำเนินงานให้เป็นไปตามนโยบาย (แผนที่วางไว้) นิยมใช้กับการจัดการธุรกิจ (Business Management)

ความสำคัญของการจัดการ หลักและเทคนิคของการจัดการเป็นปัจจัยที่ผู้บริหารให้ความสำคัญ ตรวจสอบติดตาม ปรับปรุง แก้ไขให้ทันต่อเหตุการณ์ตลอดเวลาเพราะการเปลี่ยนแปลงจากการพัฒนาด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ การจัดการเกิดขึ้นในทุกระดับของการบริหาร จึงเปรียบเสมือนอวัยวะส่วนหนึ่งขององค์การ

ความสัมพันธ์ระหว่างองค์การและการจัดการ 1. องค์การจะดำเนินงานให้สำเร็จตามวัตถุประสงค์จะต้องอาศัย การจัดการ เป็นเครื่องมืออันสำคัญ 2. การจัดการต้องเกิดขึ้นในองค์การ ถ้าไม่มีองค์การ การจัดการ จะเกิดขึ้นไม่ได้ 3. การจัดการที่มีประสิทธิภาพ จะต้องมีองค์การที่เหมาะสม เพราะองค์การเป็นพื้นฐานของการจัดการ และการจัดองค์การ เป็นหน้าที่ๆสำคัญของการจัดการ

ศาสตร์และศิลป์ในการจัดการ ศาสตร์หรือวิทยาศาสตร์ คือหมู่ หรือกลุ่มของระบบวิชาความรู้ต่างๆ มีศัพท์เฉพาะศาสตร์ มีการจัดระบบเป็นหมวดหมู่ ศึกษาค้นคว้าแสวงหาความรู้ใหม่ๆ วิทยาการจัดการ เป็นการรวมวิธีการทางสังคมศาสตร์ผสมกับวิทยาศาสตร์ ศิลปะ หมายถึง การกระทำสิ่งใดสิ่งหนึ่งได้ด้วยความสามารถเป็นพิเศษ เช่น นักบริหารนำเอาความรู้ หลักการ และทฤษฎี ทางด้านการบริหารจัดการมาประยุกต์ใช้ในการดำเนินการจัดการทรัพยากรมนุษย์

ลำดับขั้นของการบริหาร ลำดับขั้นของการบริหารจัดการ องค์การต่างๆจำเป็นต้องมีผู้บริหารในจำนวนที่เหมาะสมเพื่อความสัมพันธ์กับจำนวนบุคลากรกิจกรรมที่ปฏิบัติ และชื่อตำแหน่ง สามารถแบ่งระดับผู้บริหารออกได้เป็น 3 ระดับ ดังนี้

ระดับของผู้บริหาร Organizational Levels ผู้บริหารระดับสูง ผู้บริหารระดับกลาง ผู้บริหารระดับต้น ผู้ปฏิบัติงาน

ระดับของผู้บริหาร (Organization Levels) 1. ผู้บริหารระดับสูง (Top Managers) มีหน้าที่และบทบาทความรับผิดชอบในการตัดสินใจ กำหนดแผนและเป้าหมายที่มีผลต่อองค์การโดยรวม ได้แก่ ประธาน กรรมการผู้จัดการ ผู้จัดการทั่วไป อธิการบดี 2. ผู้บริหารระดับกลาง (Middle Managers) มีหน้าที่และบทบาทในการกำกับดูแลและประสานงานของผู้ระดับต้น ได้แก่ ผู้จัดการโครงการ คณบดี ผู้จัดการฝ่าย 3. ผู้บริหารระดับต้น (First–line Managers) มีหน้าที่และบทบาทในการกำกับดูแลและประสานงานของผู้ปฏิบัติงานที่มิได้เป็นผู้บริหารหรือพนักงานทั่วไป ได้แก่ หัวหน้ากลุ่ม หัวหน้าภาค หัวหน้าคนงาน

งานของผู้จัดการ หน้าที่การจัดการ บทบาททางการจัดการ ทักษะด้านการจัดการ ระบบการจัดการหรือระบบการบริหาร

หน้าที่ของการจัดการ (Management Functions) 1. การวางแผน (Planning) การกำหนดเป้าหมาย และวิธีการ(กลยุทธ์) เพื่อให้บรรลุเป้าหมาย รวมทั้งการรวบรวมและประสานงานกิจกรรมต่างๆ 2. การจัดองค์การ (Organizing) การกำหนดกิจกรรมที่ต้องดำเนินการ บุคคลที่จะเป็นผู้รับผิดชอบและปฏิบัติงาน การจัดโครงสร้างองค์การ การจัดกลุ่มงานและการกำหนดสายการบังคับบัญชา 3. การนำ (Leading) การสั่งการและการจูงใจให้ทุกฝ่ายทำงานร่วมกันอย่างเต็มใจ เพื่อให้บรรลุเป้าหมายขององค์การ 4. การควบคุม (Controlling) การตรวจสอบและประเมินผลการปฏิบัติตลอดจนแก้ไขปรับปรุงงาน เพื่อให้เป็นไปตามแผนที่กำหนดไว้ รวมวิธีการจัดการใช้ทรัพยากรขององค์การ คือ คน วัสดุอุปกรณ์ เงินทุน เทคโนโลยี

บทบาททางการจัดการ บทบาทด้านความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล เป็นบทบาทที่เกี่ยวข้องกับการประสานงาน มีการปฏิสัมพันธ์กับสมาชิกภายในองค์การและบุคคลภายนอกองค์การ บทบาทด้านข้อมูลข่าวสาร เป็นบทบาทที่เกี่ยวกับด้านข้อมูลข่าวสาร การประมวลผลกลั่นกรองข้อมูล ถ่ายทอดข้อมูลให้กับบุคคลที่เกี่ยวข้อง บทบาทด้านการตัดสินใจ ผู้จัดการจะมีบทบาทที่เกี่ยวกับการตัดสินใจอยู่ตลอดเวลาในการวางแผนกลยุทธ์ การจัดหาและการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรขององค์การ

ทักษะด้านการจัดการ (Management Skill) ทักษะด้านเทคนิค (Technical Skill)ความรู้ และความชำนาญในกิจกรรมต่างๆที่เกี่ยวข้องกับวิธีการ กระบวนการ และขั้นตอน ซึ่งเกี่ยวข้องกับการทำงานด้วยเครื่องมือและเทคนิคพิเศษ ทักษะด้านมนุษย์ (Human Skill)ความสามารถในการทำงานร่วมกับบุคคลอื่น การร่วมมือกัน การทำงานเป็นทีม การสร้างสรรค์บรรยากาศในการทำงาน ความรู้สึกมั่นใจและมีอิสระของบุคคลในการแสดงความเห็น ทักษะด้านความคิด (Conceptual Skill)ความสามารถในการมองเห็นภาพรวมขององค์ประกอบที่สำคัญในสถานการณ์ต่างๆ และเข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างองค์ประกอบต่างๆ

ระบบการจัดการหรือการบริหาร ระบบเปิด (open system) เป็นระบบการบริหารที่คำนึงถึงสภาพแวดล้อม ไม่ว่าจะเป็นสภาพแวดล้อมทางด้านเศรษฐกิจ การเมือง วัฒนธรรม สังคม ซึ่งมีการเปลี่ยนแปลงที่รวดเร็ว เป็นสภาพแวดล้อมที่ไม่สามารถควบคุมได้ แต่องค์การต้องมีการปรับตัว เพื่อความอยู่รอดขององค์การ ระบบปิด (closed system) เป็นระบบการบริหารจัดการที่ไม่คำนึงถึงสภาพแวดล้อม

แบบฝึกหัด ระดับของผู้บริหาร มีกี่ระดับ แต่ละระดับมีหน้าที่อะไรบ้าง จงอธิบาย