โครงการ เพิ่มประสิทธิภาพการผลิต และการบริหารธุรกิจอุตสาหกรรมเกษตรแปรรูป
วัตถุประสงค์โครงการ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการธุรกิจ กระบวนการผลิต การควบคุมคุณภาพ การลดความ สูญเปล่า ให้วิสาหกิจมีขีดความสามารถในการ แข่งขันและเตรียมความพร้อมเข้าสู่อุตสาหกรรม 4.0 เพื่อเพิ่มศักยภาพของผู้ประกอบการและบุคลากรในสถานประกอบการ ให้มีขีดความสามารถในการดำเนินธุรกิจ
วิสาหกิจ บุคลากร 2,000 4,000 กลุ่มเป้าหมาย ในอุตสาหกรรม เกษตรแปรรูป หรืออุตสาหกรรม ที่เกี่ยวเนื่อง ในอุตสาหกรรม เกษตรแปรรูป หรืออุตสาหกรรม ที่เกี่ยวเนื่อง 2,000 4,000 กิจการ ราย
สาขาอุตสาหกรรมเป้าหมาย กลุ่มเป้าหมาย หมายถึง อุตสาหกรรมเกษตรแปรรูป หรืออุตสาหกรรมที่เกี่ยวเนื่อง เช่น อุตสาหกรรมอาหารแปรรูป และปศุสัตว์ อุตสาหกรรมสิ่งทอที่ทำ จากเส้นใยธรรมชาติ อุตสาหกรรมไม้และ ผลิตภัณฑ์จากไม้ อุตสาหกรรมหนังและ ฟอกหนัง อุตสาหกรรมน้ำยางและ แปรรูผลิตภัณฑ์ยาง อุตสาหกรรมกระดาษ สิ่งพิมพ์ บรรจุภัณฑ์จากไม้และ กระดาษ อุตสาหกรรมพลังงาน เชื้อเพลิงชีวภาพ อุตสาหกรรมปาล์ม และ แปรรูปผลิตภัณฑ์ปาล์ม อุตสาหกรรมเครื่องจักรกล การเกษตร เป็นต้น
ประชาสัมพันธ์และรับสมัคร ผ่าน www.ช่วยเอสเอ็มอี.com แบบฟอร์ม A1 (สำหรับวิสาหกิจ) โดยลงทะเบียนผ่าน www.ช่วยเอสเอ็มอี.com กลั่นกรอง ตรวจสอบคุณสมบัติ ของSMEs แบบฟอร์ม A1 เอกสารตามหลักเกณฑ์คุณสมบัติ กลุ่มวิสาหกิจทั่วไป กลุ่มวิสาหกิจศักยภาพสูง แบบฟอร์ม R01 แบบฟอร์ม P01 ประเมินวินิจฉัย (Assessment) และจัดทำ Proposal (1 man-day) แบบฟอร์ม R02.1 R02.2 R02.3 แบบฟอร์ม R03 Uploadขึ้น www.ช่วยเอสเอ็มอี.com อบรม/เชื่อมโยง/ปรึกษาแนะนำ (7 Man-days) อบรม/เชื่อมโยง/ปรึกษาแนะนำ (11 Man-days) ผลผลิต 2,000 กิจการ/ผลลัพธ์ ร้อยละ 65 ของวิสาหกิจ มีผลิตภาพเพิ่มขึ้น ร้อยละ 10 แบบฟอร์ม O www.ช่วยเอสเอ็มอี.com ผลผลิต ของบุคลากร 4,000 คน แบบฟอร์ม A1 (สำหรับบุคลากร) แบบฟอร์ม s ผลกระทบ เกษตรกรสามารถจำหน่ายผลผลิตทางการเกษตรให้แก่วิสาหกิจในการแปรรูปได้ จำนวน 14,300 ราย uploadขึ้น www.ช่วยเอสเอ็มอี.com
เพื่อยกระดับเทคโนโลยี และนวตกรรม โดยใช้ ระบบอัตโนมัติหรือดิจิทัล ขั้นตอนการดำเนินการ 1 M-D เชื่อมโยง Big Brother / ITC สถาบันการเงิน / การศึกษา /สถาบันวิจัย /ซัพพลายเชน (ต้นน้ำ - ปลายน้ำ) กิจกรรมเชื่อมโยง เพื่อยกระดับเทคโนโลยี และนวตกรรม โดยใช้ ระบบอัตโนมัติหรือดิจิทัล ปรึกษาแนะนำเชิงลึก วินิจฉัย อบรม เพื่อเพิ่มผลิตภาพผ่านเครื่องมือการเพิ่มผลิตภาพ หรือการเชื่อมโยงระบบอัตโนมัติหรือดิจิทัล 1. วิสาหกิจทั่วไป วิสาหกิจที่ต้องการพัฒนา Productivity วิสาหกิจที่มีศักยภาพต้องการยกระดับด้วยระบบAutomation/Digital In house Training/ Group Training 1 M-D 1 M-D 1 M-D 5 M-D 2. วิสาหกิจศักยภาพสูง 8 M-D (Digital/ Automation) 1 M-D 2 MD
คำอธิบายแบบฟอร์ม แบบฟอร์ม ความหมาย A1 ใบสมัครโครงการ (วิสาหกิจ/บุคลากร) R01 รายงานการประเมินและวินิจฉัยสถานประกอบการ R02.1 รายงานการให้คำปรึกษาแนะนำ (Daily Report) ปรึกษาแนะนำ R02.2 รายงานการให้คำปรึกษาแนะนำ (Daily Report) อบรม R02.3 รายงานการให้คำปรึกษาแนะนำ (Daily Report) เชื่อมโยง R03 รายงานสรุปผลการให้คำปรึกษาแนะนำเชิงลึก (Final Report) P01 รายงานข้อเสนอการให้คำปรึกษาแนะนำเชิงลึก (Proposal) S แบบประเมินความพึงพอใจ O รายงานผลผลิต/ผลลัพธ์ของโครงการ
ทั่วไป ศักยภาพสูง ประเภทกลุ่มวิสาหกิจเป้าหมายแบ่งเป็น 2 กลุ่ม ในอุตสาหกรรม เกษตรแปรรูป หรืออุตสาหกรรม ที่เกี่ยวเนื่อง ในอุตสาหกรรม เกษตรแปรรูป หรืออุตสาหกรรม ที่เกี่ยวเนื่อง ร้อยละ 80 ของ เป้าหมายผลผลิต ร้อยละ 20 ของ เป้าหมายผลผลิต
คุณสมบัติของวิสาหกิจทั่วไป เป็นวิสาหกิจที่จดทะเบียนเป็นนิติบุคคล หรือมีการ จดทะเบียนพาณิชย์ในสาขาอุตสาหกรรมเกษตร แปรรูปและอุตสาหกรรมที่เกี่ยวเนื่อง หรือย่อยอด เป็นซัพพลายเชนและอุตสาหกรรมสนับสนุนที่ เกี่ยวข้อง 2. มีผู้ถือหุ้นเป็นคนไทย ร้อยละ 51 ขึ้นไป 3. ไม่เป็นบุคคลล้มละลาย 4. ไม่เป็นธุรกิจที่ขัดต่อศีลธรรม
คุณสมบัติของวิสาหกิจที่มีศักยภาพสูง เป็นวิสาหกิจที่จดทะเบียนเป็นนิติบุคคล หรือมีการจด ทะเบียนพาณิชย์ในสาขาอุตสาหกรรมเกษตรแปรรูป และอุตสาหกรรมที่เกี่ยวเนื่อง หรือย่อยอดเป็น ซัพพลายเชน และอุตสาหกรรมสนับสนุนที่เกี่ยวข้อง 2. มีผู้ถือหุ้นเป็นคนไทย ร้อยละ 51 ขึ้นไป 3. ไม่เป็นบุคคลล้มละลาย 4. ไม่เป็นธุรกิจที่ขัดต่อศีลธรรม
คุณสมบัติของวิสาหกิจที่มีศักยภาพสูง (ต่อ) เป็นวิสาหกิจที่มีศักยภาพสูง โดยพิจารณาจากคุณสมบัติจำนวน 3 ข้อ จาก 11 ข้อ ดังต่อไปนี้ 1) มียอดขายเพิ่มขึ้นต่อเนื่องติดต่อกัน 2 ปี 2) มีฐานลูกค้าเพิ่มขึ้นในช่วง 3 ปีที่ผ่านมา 3) มีการส่งออกไปยังตลาดต่างประเทศ 4) มีการขยายสาขา หรือมีแผนที่จะขยายสาขาของกิจการ 5) ได้รับการรับรองมาตรฐานสากลต่างๆ 6) ได้รับรางวัลการประกวดต่างๆที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินธุรกิจ 7) มีการคิดค้นนวัตกรรมใหม่ๆ 8) มีการเชื่อมโยงระบบอัตโนมัติในกระบวนการผลิต 9) มีแผนการพัฒนาการผลิตโดยใช้ระบบอัตโนมัติ 10) มีการนำเทคโนโลยี ดิจิทัลมาใช้ในการบริหารจัดการองค์กร 11) มีการจัดทำแผนธุรกิจหรือแผนกลยุทธ์ที่ชัดเจนเพื่อใช้ใน การดำเนินธุรกิจ
สามารถจำหน่ายผลผลิตการเกษตรให้วิสาหกิจในการแปรรูปได้ ตัวชี้วัด ผลผลิต ผลลัพธ์ ผลกระทบ วิสาหกิจ ร้อยละ 65 เกษตรกร 2,000 ของวิสาหกิจ มีผลิตภาพ สามารถจำหน่ายผลผลิตการเกษตรให้วิสาหกิจในการแปรรูปได้ กิจการ เพิ่มขึ้น บุคลากร 4,000 ราย จำนวน 14,300 ราย ร้อยละ 10 ความพึงพอใจ ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 85
ตัวชี้วัดผลผลิต
ตัวชี้วัดผลผลิต
ตัวชี้วัดผลผลิต
ตัวชี้วัดผลผลิต
ตัวชี้วัดผลผลิต
ตัวชี้วัดผลผลิต
www.ช่วยเอสเอ็มอี.com และ www.ที่ปรึกษาไทย.com