การดำเนินงานอนามัยแม่และเด็ก

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
Advertisements

แนวทางการบริหารจัดการเวลาเรียน “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้” สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ.
สรุปผลการตรวจราชการติดตามและประเมินผล กระทรวงสาธารณสุข คณะที่ ๑ : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัยและระบบ ควบคุมโรค ภาพรวมเขต 8 ( รอบ 2/2558) กรมอนามัย กรมสุขภาพจิต.
โครงการสำคัญ ปี 2556 สำนักส่งเสริมสุขภาพ
ความก้าวหน้าการพัฒนากฎหมาย ที่อยู่ในความรับผิดชอบของกรมอนามัย
การนำเสนอผลการจัดทำแผนและคำของบประมาณ
(P7S10P1G2) การประชุมถ่ายทอดนโยบายและตัวชี้วัดด้านสาธารณสุข
ทิศทางการพัฒนา พฤติกรรมสุขภาพ 4.0
นโยบายการดำเนินงาน ปี 2561
สรุปผลการตรวจราชการ รอบที่ 1 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2560
นายแพทย์อภิชาติ รอดสม สาธารณสุขนิเทศก์ เขตสุขภาพที 6
อัตราเกิด อัตราตาย และอัตราเพิ่ม ของประชากรจังหวัดพิจิตร ปี ปี 2559 (อัตราต่อปชก.พันคน)
ทิศทางการ ดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพ
ยุทธศาสตร์ 20 ปี 5 ปี และปี 2561.
การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ
กรมบัญชีกลาง กองการพัสดุภาครัฐ
ผลการดำเนินงาน 3 Cluster สตรีและเด็กปฐมวัย วัยเรียน และ วัยรุ่น
การดำเนินงาน คณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ
4 เมษายน 2561 โดย นพ.ธานินทร์ โตจีน ประธาน MCH Board เขตสุขภาพที่ 4
การแก้ไขปัญหาสุขภาพช่องปาก จังหวัดปทุมธานี
โครงการ มหัศจรรย์ 1,000 วันแรกของชีวิต
Health Promotion & Environmental Health
นโยบาย ยุทธศาสตร์ มาตรการ แนวทาง พรบ.
การประเมินพฤติกรรมการบริโภคอาหารและการให้คำแนะนำ
คัดกรองพัฒนาการเด็ก คปสอ.หนองใหญ่
การดูแลผู้สูงอายุ ระยะยาว (Long Term Care )
นพ.โภคิน ศักรินทร์กุล โรงพยาบาลลำพูน
การเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย
การตรวจราชการติดตามและประเมินผล : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
(แผนบูรณาการขยะและสิ่งแวดล้อม)
รพ.สต.ติดดาว (5 ดาว 5 ดี) สู่ประชาชนสุขภาพดี
ทิศทางการขับเคลื่อนหลักสูตรส่งเสริมและพัฒนาเด็กอายุต่ำกว่า 3 ปี
แนวทางการเฝ้าระวังคุณภาพน้ำดื่ม และน้ำแข็งบริโภค ในสถานประกอบการ
เขตสุขภาพ ที่11.
เด็กอายุ 0-5 ปีมีพัฒนาการสมวัย
กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ สำนักสาธารณสุข
Effective Child Development สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดแพร่
การควบคุมและตรวจสอบภายใน รองผู้ว่าการตรวจเงินแผ่นดิน
Buddy Happy Brain (Smart Kids) ศูนย์อนามัยที่ ๓
การคัดกรองพัฒนาการเด็ก เครือข่ายอำเภอวังจันทร์ จังหวัดระยอง
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่ เขต 12 สงขลา
อำเภอสันกำแพง ดินแดนแห่ง
ประเด็นยุทธศาสตร์ : การสร้างระบบสุขภาพเพื่อประชาชนที่ทุกคนเป็นเจ้าของ
นโยบายการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพ
รูปแบบมาตรฐานการเขียนโครงการ
ระบบการประกันคุณภาพอาชีวศึกษา
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดตรัง
สู่สุขภาพและคุณภาพชีวิต
4.8 พัฒนาการเด็กวัยเรียน
หมู่บ้านอาสาพัฒนาและป้องกันตนเอง
นโยบาย ยุทธศาสตร์ มาตรการ แนวทาง พรบ นโยบาย พรบ 08/04/62
การตรวจราชการ “ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี สูงดีสมส่วน”
Performance Agreement : PA ปี 2560
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดตรัง
ความสัมพันธ์ระหว่างรูปเรขาคณิต
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดตรัง
เครือข่ายโภชนาการช่วงแรกของชีวิต ประเทศไทย
การวิจัย “อนาคตเด็กไทยที่พึงประสงค์”
เขตสุขภาพที่ 10 มุกศรีโสธรเจริญราชธานี
การเขียนรายงานเชิงวิชาการ
งาน Trade Association’s President Club (TAP)
“ทิศทางความร่วมมือในการลดการประสบอันตรายและโรคจากการทำงาน”
ประธานมูลนิธิสร้างเสริมวิถีบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพ
อำเภอสอยดาว จังหวัดจันทบุรี
งานการเงินนักศึกษา ส่วนการเงินและบัญชี
PA Mother & Child Health
มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
บทที่ 9 ความสัมพันธ์ระหว่างงานโภชนาการ กับการสาธารณสุข
สรุปผลการตรวจราชการฯ กรณีปกติ รอบที่ 2 ปี 2562 เขตสุขภาพที่ 3
แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพตามกลุ่มวัย สตรีและเด็กปฐมวัย 0-5 ปี
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การดำเนินงานอนามัยแม่และเด็ก ขับเคลื่อนโดย นโยบายมหัศจรรย์ 1,000 วัน (The Miracle of 1,000 Days : Maternal and Child Nutrition , Growth and Development Policy)

กลุ่มมารดา เป้าหมาย ปี 2560 37.66 <10% 11.29 <18% 17.72 > 60% อัตราส่วนการตายของมารดา < 20 ต่อ การเกิดมีชีพแสนคน 37.66 หญิงตั้งครรภ์อายุน้อยกว่า 20 ปี <10% 11.29 โลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์ <18% 17.72 ฝากครรภ์ครั้งแรกก่อน 12 wks. > 60% 78.66 ฝากครรภ์ 5 ครั้งคุณภาพ 62.34 ตัวชี้วัดแม่

การพัฒนาเด็กปฐมวัยยุค Thailand 4.0 ( Heart, Head, Hand, Health) ตัวชี้วัด เป้าหมาย ปี 2560 ทารกแรกเกิด นน.น้อยกว่า 2,500 กรัม <7 % 8.66 ทารกแรกเกิดขาดออกซิเจน ไม่เกิน 25 ต่อ พันการเกิดมีชีพ 19.2 กินนมแม่อย่างเดียว 6 เดือน > 50% 71.64 เด็ก 0-5 ปี สูงดีสมส่วน 54 % 49.37 (ข้อมูล ณ 2 พค.61) ศูนย์เด็กเล็กผ่านเกณฑ์คุณภาพ 60% 40

ผลลัพธ์ที่พึงประสงค์เพื่อส่งต่อในแต่ละกลุ่มวัย หญิง วัยเจริญพันธุ์ - ไม่มีภาวะโลหิตจาง - น้ำหนักเหมาะสม - ไม่เตี้ย - ไม่มีท้องไม่พร้อม - ท้องอายุไม่ต่ำกว่า 20 ปี

ทารกแรกเกิด ที่ต้องการ ไม่มีความพิการแต่กำเนิด น้ำหนักแรกเกิดไม่น้อยกว่า 2,500 กรัม ไม่มีภาวะขาดออกซิเจน

นโยบายมหัศจรรย์ 1,000 วันแรกของชีวิต ขับเคลื่อนมหัศจรรย์ 1000 วันแรกของชีวิต ทั่วประเทศ โดยใช้กลไกคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ.) สถานบริการสาธารณสุขทุกแห่ง จัดให้มีบริการกิจกรรมสำคัญตาม มาตรฐานอนามัยแม่และเด็กอย่างมีคุณภาพ และยกระดับบริการ ผลักดันให้ชุมชน ท้องถิ่น ภาคีเครือข่าย ร่วมลงทุนและมีส่วนร่วมใน การส่งเสริมให้เด็กอายุ 0-2 ปี สูงดีสมส่วนและพัฒนาการสมวัย หญิงตั้งครรภ์ หญิงให้นมบุตร และเด็กอายุ 0-2 ปี ทุกคน ได้รับบริการ ตามกิจกรรมสำคัญทั้งในสถานบริการสาธารณสุขและชุมชน/หมู่บ้าน นายแพทย์อรรถพล แก้วสัมฤทธิ์ รองอธิบดีกรมอนามัย

+ กลุ่มเป้าหมาย แนวคิด กรอบแนวคิดและแนวทางการดำเนินงาน มหัศจรรย์ 1,000 วันแรกของชีวิต (Child Nutrition and Development) 1,000 วันแรกของชีวิต ทารกในครรภ์ตั้งแต่เริ่มปฏิสนธิ + เด็กแรกเกิด ถึงอายุ 2 ปี กลุ่มเป้าหมาย หญิงตั้งครรภ์ (270 วัน) เด็ก อายุ 0-6 เดือน (180 วัน) อายุ 6 เดือน – 2 ปี (550 วัน) แนวคิด บูรณาการสุขภาพและเพิ่มกิจกรรมทางสังคมโดย อปท.ร่วมลงทุนและภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วม บูรณาการโภชนาการ การเล่น การนอน สุขภาพช่องปาก สุขาภิบาลอาหารและน้ำ การอ่านเล่านิทาน ฝึกวินัย มีทักษะ ANC, WCC, ครอบครัวคุณภาพ โดยใช้กลไก PCC และ MCH board คณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (DHB) มาตรการทางสังคม สูงดีสมส่วน (สมส่วน=ไม่อ้วน ไม่ผอม) พัฒนาการสมวัย เยี่ยมบ้านหญิงตั้งครรภ์ และเด็กแรกเกิด-2 ปี เพื่อติดตามการบริโภคอาหารและให้คำแนะนำอาหารตามวัย ส่งเสริมพัฒนาการสุขาภิบาลอาหารและน้ำ ฟัน กิจกรรมทางกาย และการนอน เดือนละ 1 ครั้ง/ครอบครัว โดยทีม PCC/ รพช./ รพ.สต./ อสม.

ความสำคัญของการเจริญเติบโต ทารกในครรภ์และเด็กแรกเกิด – 2 ปี เป็นช่วงสำคัญของการพัฒนาสมอง เป็นช่วงที่มีการเจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว เป็นช่วงของการสร้างอวัยวะ กล้ามเนื้อ ระบบกระดูก ระบบภูมิต้านทานโรค ของร่างกาย ให้สมบูรณ์ : การเจริญเติบโต องค์ประกอบของร่างกาย และการทำหน้าที่ของระบบต่าง ๆ ป้องกันการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรังในผู้ใหญ่ ตัดวงจรของการถ่ายทอดการขาดอาหารและโรคเรื้อรังในรุ่นลูก รุ่นหลาน ตัดวงจรความยากจนและความหิวโหย

หญิงตั้งครรภ์(270 วัน) ให้ Folic acid และ ยาเม็ดเสริมธาตุเหล็ก แก่เด็กผู้หญิงตั้งแต่อายุ 13 ปีขึ้นไป ฝากท้องก่อน 12 สัปดาห์ ฝากครรภ์คุณภาพ 5 ครั้ง จ่ายยาเม็ดไอโอดีน เหล็ก โฟลิก 100 % (OBIMIN AZ) โรงเรียนพ่อแม่ 2 ครั้ง เฝ้าระวังและติดตามน้ำหนักหญิงตั้งครรภ์ ประเมินพฤติกรรมการบริโภคอาหาร ให้คำแนะนำอาหารหญิงตั้งครรภ์ กิจกรรมทางกายที่เหมาะสมตามอายุครรภ์ ดูแลสุขภาพช่องปาก ANC คุณภาพตามชุดสิทธิประโยชน์ สอนสาธิตจุดกราฟโภชนาการหญิงตั้งครรภ์และแปลผล สอนสาธิตอาหารหญิงตั้งครรภ์ จ่าย Progesterone เพื่อลด Preterm ฝึกแปรงฟันแบบลงมือปฏิบัติ และ plaque control ให้คำแนะนำการนอนที่เพียงพอและปลอดภัย สร้างความรอบรู้ด้านสุขภาพ ยกระดับบริการ อปท.แจกนมหญิงตั้งครรภ์ 90 วัน 90 กล่อง หรือไข่ 90 วัน 90 ฟอง หรืออาหารที่ให้พลังงานและโปรตีนสูง ยกระดับโภชนาการหญิงตั้งครรภ์

ยกระดับโภชนาการหญิงให้นมบุตร เด็กอายุ 0-6 เดือน (180 วัน) จ่ายยาเม็ดไอโอดีน เหล็ก โฟลิก หญิงหลังคลอดที่ให้นมลูก 6 เดือน ติดตามเยี่ยมหลังคลอด ครั้งแรกภายใน 7 วัน เฝ้าระวังและติดตามการเจริญเติบโตของเด็ก และ พัฒนาการโดยคู่มือ DSPM ประเมินพฤติกรรมการบริโภคอาหาร ให้คำแนะนำเรื่อง อาหารหญิงหลังคลอด เลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียว กิจกรรมทางกาย การนอนหลับ การทำความสะอาดช่องปากเด็ก (เหงือก กระพุ้งแก้ม ลิ้น) WCC คุณภาพตามชุดสิทธิประโยชน์ ปฏิบัติตามพระราชบัญญัติควบคุมการส่งเสริมการตลาดอาหารสำหรับทารกและเด็กเล็ก พ.ศ. 2560 สอนสาธิตอาหารหญิงให้นมบุตร สอนจุดกราฟการเจริญเติบโตและแปลผล เฝ้าระวังและติดตามพัฒนาการ โดยพ่อแม่/ผู้เลี้ยงดูเด็กใช้คู่มือ DSPM ยกระดับบริการ อปท.แจกนมหญิงให้นมบุตร 90 วัน 90 กล่อง หรือไข่ 90 วัน 90 ฟอง หรืออาหารที่ให้พลังงานและโปรตีนสูง ยกระดับโภชนาการหญิงให้นมบุตร

เด็กอายุ 6 เดือน-2 ปี (550 วัน) จนท.ติดตาม/กระตุ้นพัฒนาการเด็กโดยใช้ DSPM/TEDA4I เฝ้าระวังและติดตามส่วนสูง/น้ำหนักเด็ก ประเมินพฤติกรรมการบริโภคอาหาร ให้คำแนะนำเรื่อง อาหารทารกและเด็กเล็ก เลี้ยงลูกด้วยนมแม่ การกิน กอด อ่านเล่านิทาน เล่น เต้น วาด การทำความสะอาดช่องปาก (เหงือก กระพุ้งแก้ม ลิ้น) จ่ายยาน้ำเสริมธาตุเหล็ก WCC คุณภาพตามชุดสิทธิประโยชน์ เฝ้าระวังและติดตามส่วนสูง/น้ำหนักเด็กในชุมชน เจาะเลือดเพื่อดูความเข้มข้นของเลือดในเด็กอายุ 6 เดือน – 1 ปี สอนสาธิตอาหารทารกและเด็กอายุ 1-2 ปี สอนจุดกราฟการเจริญเติบโตและแปลผล ฝึกกินไม่ติดรสชาติ กินเป็นเวลา ฝึกทักษะการแปรงฟันให้เด็กแบบลงมือปฏิบัติ (hand on) และ การตรวจฟันเด็กด้วยตนเอง เฝ้าระวังและติดตามพัฒนาการ โดยพ่อแม่/ผู้เลี้ยงดูเด็กใช้คู่มือ DSPM พ่อแม่ผู้เลี้ยงดูเด็กรอบรู้ด้านสุขภาพ ยกระดับบริการ อปท.แจกไข่ให้กับเด็กอายุ 6 เดือน- 2 ปี วันละ 1 ฟอง และแจกนมให้กับเด็กอายุ 1-2 ปี วันละ 1 กล่อง หรือหรืออาหารที่ให้พลังงานและโปรตีนสูง ยกระดับโภชนาการเด็กอายุ 6 เดือน-2 ปี

อปท. เครือข่ายมีส่วนร่วม ประชาสัมพันธ์การเตรียมตัวเพื่อการตั้งครรภ์ ด้วยการสนับสนุน ให้ Folic acid และ ยาเม็ดเสริมธาตุเหล็ก 2. ร่วมช่วยเหลือ ดูแล หญิงตั้งครรภ์ที่มีปัญหาทุกราย ทั้งด้านสุขภาพร่างกาย จิตใจ และ เศรษฐกิจ พัฒนาศักยภาพบทบาทความเป็นพ่อ – แม่ 4. แจกนมหญิงตั้งครรภ์และหญิงให้นมบุตร 90 วัน 90 กล่อง หรือไข่ 90 วัน 90 ฟอง หรืออาหารที่ให้พลังงานและโปรตีนสูง หรือทั้งนมและไข่

เครือข่ายมีส่วนร่วม อปท. 1. ร่วมประชาสัมพันธ์การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ 2. แจกไข่ให้กับเด็กอายุ 6 เดือน - 2 ปี วันละ 1 ฟอง และแจกนมให้กับเด็กอายุ 1-2 ปี วันละ 1 กล่อง หรืออาหารที่ให้พลังงานและโปรตีนสูง 3. ให้การช่วยเหลือ ดูแล ครอบครัวที่มีปัญหา 4. พัฒนาศูนย์เด็กเล็ก ให้น่าอยู่ “มั่นคง แข็งแรง สะอาด ปลอดภัย เป็นระเบียบเรียบร้อย” 5. พัฒนาศักยภาพครูผู้ดูแลเด็กทั้งด้านทักษะการดูแลเด็กปฐมวัย และ ด้านคุณธรรม 6. สร้างศูนย์การเรียนรู้ ที่สามารถพัฒนาทั้งด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ สมาธิ คุณธรรม ผ่านประสบการณ์จริง และ จากการเล่น (ดิน น้ำ ทราย โคลน)

เครือข่ายมีส่วนร่วม อสม. เฝ้าระวังพฤติกรรมเสี่ยงวัยรุ่นในหมู่บ้าน ประชาสัมพันธ์ และ ติดตาม การให้ Folic acid และ ยาเม็ดเสริมธาตุเหล็ก แก่หญิงวัยเจริญพันธุ์ ตั้งแต่อายุ 13 ปีขึ้นไป 2. ประชาสัมพันธ์และค้นหาหญิงตั้งครรภ์เพื่อการฝากครรภ์ครั้งแรกก่อนอายุครรภ์ 12 สัปดาห์ 3. ติดตามการเข้ารับบริการฝากครรภ์ตามเกณฑ์ 5 ครั้ง ติดตามการเยี่ยมหลังคลอดครั้งแรกภายใน 7 วัน หลังคลอด เฝ้าระวังและติดตามการได้รับวัคซีน วัดความยาว,ส่วนสูง/ชั่งน้ำหนัก และพัฒนาการเด็ก

ผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ ส่งมอบเข้าสู่ศูนย์เด็กเล็ก ปี 2561 -สูงดีสมส่วนร้อยละ 54 -พัฒนาการสมวัยร้อยละ 85 -เด็กอายุ 18 เดือน ฟันไม่ผุ ร้อยละ 85 ปี 2561 -สูงดีสมส่วนร้อยละ 54 -พัฒนาการสมวัยร้อยละ 85 น้ำหนักเพิ่มขึ้นตามเกณฑ์ ไม่มีภาวะโลหิตจาง ไม่ขาดไอโอดีน ตั้งครรภ์ แรกเกิด 0-2 ปี 3-5 ปี ส่งมอบเข้าสู่ศูนย์เด็กเล็ก สูงเฉลี่ยอายุ 2 ปี ในปี 2564 -ชาย 92 ซม. -หญิง 91 ซม. สูงเฉลี่ยอายุ 5 ปี ในปี 2564 ชาย 113 ซม. หญิง 112 ซม. -น้ำหนักแรกเกิด 2,500-3,900 gm -ความยาวแรกเกิด 50 ซม. -ไม่มีความพิการแต่กำเนิด -ไม่มีภาวะขาดออกซิเจน นายแพทย์อรรถพล แก้วสัมฤทธิ์ รองอธิบดีกรมอนามัย

การบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพ HAPPEN....ก้าวต่อไป H: Health Literacy ส่งเสริมความรู้ สร้างความตระหนักประชาชนกลุ่มแม่และเด็ก ส่งเสริมการใช้ สมุดสีชมพู , คู่มือ DSPM/DAIM A : Appreciation พัฒนาระบบการสื่อสารเครือข่าย ด้วย Digital Management พัฒนาระบบเฝ้าระวัง และการรายงานข้อมูล เสริมพลังและสร้างคุณค่าภาคีเครือข่าย P : PIRAB การบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพ - ความพร้อมสถานที่ให้บริการ/คู่มือ/อุปกรณ์ P: Provincial Health Board เสริมสร้างการมีส่วนร่วม ของทุกภาคี ในรูปแบบ PHB/ DHB เพื่อดูแลสุขภาพแม่และเด็ก E: Empowerment - เพิ่มศักยภาพเจ้าหน้าที่และภาคีเครือข่าย - พัฒนาเครือข่าย อสม. /FCT ในการติดตามช่วยเหลือกลุ่มเสี่ยง/ปกติ N : Neo-Health - ปรับระบบริการให้เหมาะสมและมีคุณภาพ

Thank You !