โครงการปรับระบบการเลี้ยงสุกรเพื่อป้องกันโรคและประเมินสถานภาพโรค PRRS ของกลุ่มผู้เลี้ยงสุกรรายย่อยปี 2559.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยคริสเตียน ภาคการศึกษาที่ 1 ปี การศึกษา 2559.
Advertisements

อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ Input&Output เสนอ อ. อภิเดช จิตมุ่ง โดย นาย ภคินนัย ชมภูนุช ม.4/1 เลขที่ 8 นางสาว ฟ้ารุ่ง วะสาร ม.4/1 เลขที่ 27 นางสาว รัฐภัทร บุญทัน.
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ตำบลหนองฮี ยินดีต้อนรับ คณะท่านผู้บริหารระดับสูง ด้วยความยินดียิ่ง.
บทที่ 2 การกำหนดปัญหาและวัตถุประสงค์ของการวิจัย
ความก้าวหน้าการพัฒนากฎหมาย ที่อยู่ในความรับผิดชอบของกรมอนามัย
การนำเสนอผลการจัดทำแผนและคำของบประมาณ
L I O รายงานผลการดำเนินงาน ประจำเดือนมกราคม 2555
โครงการพัฒนารูปแบบการจัดบริการเชิงรุกเพื่อค้นหาโรคเอดส์ วัณโรค และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ในเรือนจำ นพ.สุเมธ องค์วรรณดี ผู้อำนวยการสำนักโรคเอดส์ วัณโรคและโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
มาตรฐานงานสุขศึกษา &โปรแกรมประเมิน.
ประกาศ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ระเบียบ ประกาศ คำสั่งกรมปศุสัตว์
Market System Promotion & Development Devision
พลังวัชร์ แพ่งธีระสุขมัย คณะวิศวกรรมศาสตร์
กรมบัญชีกลาง กองการพัสดุภาครัฐ
กลุ่มพัฒนาระบบบัญชีคอมพิวเตอร์
สำหรับธุรกิจบริหารจัดการเรือ
BUSINESS TAXATION รศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
แนวทางการเฝ้าระวังคุณภาพน้ำดื่ม และน้ำแข็งบริโภค ในสถานประกอบการ
การดำเนินงาน OSCC ศูนย์ช่วยเหลือสังคม
Effective Child Development สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดแพร่
การควบคุมและตรวจสอบภายใน รองผู้ว่าการตรวจเงินแผ่นดิน
Buddy Happy Brain (Smart Kids) ศูนย์อนามัยที่ ๓
วันชนา จีนด้วง ศูนย์อนามัยที่ 2 พิษณุโลก
รูปแบบมาตรฐานการเขียนโครงการ
สิทธิประโยชน์การเป็นสมาชิกกองทุน สำรองเลี้ยงชีพ
สรุปความก้าวหน้าการดำเนินงาน ตามแผนบูรณาการสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ
4.8 พัฒนาการเด็กวัยเรียน
คุณลักษณะของผู้บริหารมืออาชีพ
พญ.ชีวนันท์ เลิศพิริยสุวัฒน์
บทที่ 6. ผศ.ดร.จันทร์เพ็ญ มีนคร
หนังสือคณะกรรมการว่าด้วยการพัสดุ ด่วนที่สุด ที่ กค (กวพ) 0405
ตัวชี้วัด : ร้อยละของการดำเนินงานให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงได้รับการดูแลสุขภาพ และการป้องกันโรคและภัยสุขภาพจากมลพิษสิ่งแวดล้อม.
การพัฒนาคุณภาพข้อมูลสุขภาพ จังหวัดสระแก้ว
MOCKUP PACKAGE Digital Restaurant.
วิลเลียม ฮาร์วีย์ (William Harvey) ด.ญ.กัณฐิกา จันแย้ ม.4.3 เลขที่ 1
โทมัส ฮอบส์ (Thomas Hobbes)
โดยคุณอัมพวัน คุลภ์อนันต์
การกำจัดขยะและสารเคมี
บทที่ 4. ผศ.ดร.จันทร์เพ็ญ มีนคร
10 สถานที่ท่องเที่ยว ขอแนะนำ.
ศูนย์พัฒนาการจัดบริการอาชีวอนามัยจังหวัดสมุทรปราการ
สำนักงานเกษตรอำเภอเมืองสมุทรสงคราม
ความสำคัญของโภชนาการสำหรับเด็กปฐมวัย
พลวัตความเหลื่อมล้ำเชิงพื้นที่ :
กลุ่มพัฒนาสุขภาพสัตว์
นวัตกรรมกลุ่มงานวิสัญญี ปี 2562 E Mobile
การจัดทำรายงาน ของผู้สอบบัญชีสหกรณ์ อาจารย์ ณัฐเสกข์ เทพหัสดิน
แบบฟอร์มการนำเสนอหลักสูตร มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย
ศูนย์ช่วยเหลือ SMEs (SME Rescue Center)
ขั้นตอนการเบิก-จ่ายเงินให้กับผู้รับจ้าง
นโยบายการคลัง รายวิชา : Week 06.
ประเภทที่ 1 วิจัยในชั้นเรียน
การเขียนรายงานเชิงวิชาการ
เข้าใจและสามารถปฏิบัติตนตามหลักธรรม ที่เกี่ยวเนื่องกับอริยสัจ 4
การดำเนินกิจการ ของสหกรณ์ออมทรัพย์.
การสนับสนุนกิจกรรม Win back ลูกค้าคู่แข่ง บภ.1.1
Product Champion Cluster วัยเรียน : โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ
หอผู้ป่วยศัลยกรรมระบบปัสสาวะ โรงพยาบาลราชบุรี
จัดสวัสดิการผู้สูงอายุตามวิถีแว้ง
บทที่ 7 การเก็บรวบรวมข้อมูล
งานพัฒนาระบบประกันคุณภาพภายใน โรงเรียนสตรีวัดอัปสรสวรรค์
กลุ่มที่1 การจัดการข้อมูลการดำเนินงานโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส
บ้านเรียนดี สรรสร้างสื่อดี
งานการเงินนักศึกษา ส่วนการเงินและบัญชี
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ด้วยการสอนซ่อมเสริมร่วมกับ
การจัดทำและการบริหาร งบประมาณรายจ่ายประจำปี นางดรงค์รัตน์ กล้าหาญ
เทคนิคการเขียนบทความทางวิชาการ
มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
อำเภอวาปีปทุม จังหวัดมหาสารคาม
Credit Management ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเสริมหน้าอกด้วยซิลิโคน และ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โครงการปรับระบบการเลี้ยงสุกรเพื่อป้องกันโรคและประเมินสถานภาพโรค PRRS ของกลุ่มผู้เลี้ยงสุกรรายย่อยปี 2559

ทำไมจึงต้องมีโครงการฯ นี้เกิดขึ้น การผลิตสุกรในประเทศไทย เป็นเกษตรกรผู้เลี้ยงสุกรรายย่อยประมาณ 5-10 % ส่วนใหญ่จะเป็นระบบแบบไม่ครบวงจร ซึ่งเกษตรกรกลุ่มนี้จะประสบปัญหาการผลิตบ่อยครั้ง จากปัญหาเหล่านี้ - ขาดความรู้ความเข้าใจการจัดการฟาร์มและระบบป้องกันโรคที่ถูกต้อง - ต้นทุนการผลิตที่สูง - ปัญหาความสูญเสียที่เกิดจากโรคระบาดต่างๆ เข่น PRRS

โครงการนี้เกิดขึ้นเพื่อ..... 1. ส่งเสริมและพัฒนาเกษตรกรรายย่อยให้มีความรู้ความเข้าใจด้านการป้องกันและควบคุมโรคตามรูปแบบการเลี้ยงสุกรตามหลักความปลอดภัยทางชีวภาพ เพื่อลดการเกิดโรคและลดต้นทุนการผลิต 2. กรมปศุสัตว์สามารถประเมินสถานภาพโรค PRRS ของฝูงสุกร โดยวิเคราะห์ปัญหาจากผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ เพื่อนำไปเป็นแนวทางการป้องกันและควบคุมโรค PRRS

เป้าหมายของโครงการนี้ 1. ในพื้นที่ที่มีเกษตรกรรายย่อย จำนวน 69 จังหวัด (ยกเว้น กรุงเทพฯ นนทบุรี ปทุมธานี สมุทรปราการ สมุทรสงคราม สมุทรสาคร ภูเก็ต และยะลาตาม ฐานข้อมูลเกษตรกรผู้เลี้ยงสุกรปี 2558 ของศูนย์ฯสารสนเทศ กรมปศุสัตว์ 2. เกษตรกรรายย่อยที่เลี้ยงสุกรพ่อ-แม่พันธุ์ไม่เกิน 30 ตัว และ/หรือเลี้ยง สุกรขุน ไม่เกิน 100 ตัว จังหวัดละ 10 ราย

2. การประเมินสภาพโรค PRRS ดำเนินการอย่างไร แบ่งออกเป็น 2 ส่วน 1. การปรับระบบการเลี้ยง 2. การประเมินสภาพโรค PRRS

1. การปรับระบบการเลี้ยง 1.1 การคัดเลือกเกษตรกรเป้าหมายและสำรวจความต้องการของเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการฯ โดยคัดเลือกจาก - เกษตรกรใหม่ที่ยังไม่เคยเข้าร่วมโครงการฯ แต่ได้รับการรับรอง การขึ้นทะเบียนเรียบร้อยแล้ว - เกษตรกรที่ยังไม่ได้จัดตั้งกลุ่ม แต่มีความพร้อมในการจัดตั้งกลุ่ม - เกษตรกรที่ไม่สามารถจัดตั้งกลุ่ม แต่มีความพร้อมในการจัดตั้งกลุ่ม

การปรับระบบการเลี้ยง (ต่อ) 1.2 ฝึกอบรมเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการฯ เรื่องโรคที่สำคัญ การป้องกันโรคตามหลักความปลอดภัยทางชีวภาพ การทำทะเบียนสุกรพ่อ-แม่พันธุ์ การบันทึกข้อมูลฟาร์ม ประโยชน์ที่ได้รับจากการร่วมกลุ่มเกษตรกร 1.3 ติดตามและให้คำแนะนำเกษตรกรหัวข้อความปลอดภัยทางชีวภาพในเรื่อง - สถานที่เลี้ยงสุกร - การเลี้ยงสุกร(การจัดการ) 1.4 ตรวจเยี่ยมเกษตรกร อย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง พร้อมทั้งสรุปรายงานผลการดำเนินโครงการ

2. การประเมินสถานภาพโรค 2.1 เก็บตัวอย่างเลือดสุกรของเกษตรกรจังหวัดละ 30 ตัวอย่าง โดยพ่อพันธุ์ให้เก็บทุกตัวที่เหลือเป็นของแม่พันธุ์ 2.2 ตรวจหาระดับภูมิคุ้มกันโรค PRRS ด้วยวิธี ELISA หากพบตัวอย่างที่ให้ผลบวกให้ยืนยันผลด้วยวิธี PCR หากผลการตรวจยังคงเป็นบวกให้จว.ทำการสอบสวนโรคและรายงานสคบ.ต่อไป 2.3 สรุปผลการประเมินโรค PRRS และสรุปวิเคราะห์ผลการดำเนินงาน

หน่วยงานใดบ้างที่รับผิดชอบ 1. สำนักงานปศุสัตว์จังหวัด 69 จังหวัด 2. สถาบันสุขภาพสัตว์แห่งชาติ/ ศูนย์วิจัยและพัฒนาการสัตวแพทย์ 3. สำนักงานปศุสัตว์เขต 1-9 4. สำนักควบคุม ป้องกันและบำบัดโรคสัตว์

สิ่งที่จะได้รับจากโครงการฯนี้ 1. เกษตรกรมีความเข้มแข็งและมีอาชีพเลี้ยงสุกรได้อย่างยั่งยืน 2. สร้างความเชื่อมั้นในการบริโภคเนื้อสุกรปลอดโรคกับผู้บริโภค 3. ได้ต้นแบบในการดำเนินการปรับระบบการเลี้ยงสุกรของเกษตรกรรายย่อย 4. อัตราการเกิดโรค PRRS ของสุกรในประเทศไทยลดลง 5. ลดต้นทุนการผลิตสุกรของเกษตรกรรายย่อย

Thank YOU