บทที่ 6 เงินลงทุนในตราสารหนี้และตราสารทุน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการเลือกตั้งคณะกรรมการสวัสดิการในสถานประกอบกิจการ ประกาศราชกิจจานุเบกษา วันที่ 22 พฤษภาคม.
Advertisements

บทที่ 2 การลงทุนในหุ้นสามัญ
“กลยุทธ์การบริหารความเสี่ยง จากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ”
บทที่ 1 การรวมธุรกิจ.
มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 101 หนี้สงสัยจะสูญ และหนี้สูญ
บทที่ 3 การบริหารพนักงานขาย
ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ (Business Information Systems)
บทนำ บริษัทในเครือมักจะมีธุรกรรมที่เกี่ยวข้องกัน
บทที่ 4 งบการเงินรวมหลังวันซื้อหุ้น
บทที่ 10 ผลตอบแทนที่คำนึงถึงความเสี่ยง ของกลุ่มหลักทรัพย์
BUNCHEE TIPS BY AOODY FOR MM MEETING ON FEBUARY 17, 2014.
1.
โปรแกรมสต๊อกสินค้า และ โปรแกรมขายหน้าร้าน Nanosoft Smart INV.NET วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปและการ ประยุกต์ใช้งาน อ. วิสุตร์ เพชรรัตน์
บัญชี อิเล็กทรอนิกส์ กลุ่มออมทรัพย์ เพื่อการผลิต นายยงยุทธ พันตารักษ์ พัฒนาการอำเภอเมือง พิจิตร จังหวัดพิจิตร.
คำแนะนำ นายทะเบียนสหกรณ์ เรื่อง วิธีปฏิบัติทางบัญชีเกี่ยวกับ สินทรัพย์ไม่มีตัวตน พ. ศ เรื่อง วิธีปฏิบัติทางบัญชีเกี่ยวกับ สินทรัพย์ไม่มีตัวตน พ.
ภาษีอากร.
สัญญาก่อสร้าง.
กระบวนการทางการบัญชี บันทึก  สมุดรายวันขั้นต้น
บทที่ 3 องค์ประกอบของการสัมมนา
บทเรียนโปรแกรมเพื่อการทบทวน
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
มาตรฐานการสอบทาน รหัส 2410
บทที่ 3 การจำแนกรายการบัญชี
มาตรฐานระบบการบริหารงานคุณภาพ
ACCOUNTING FOR INVENTORY
การเงินธุรกิจ (Business Finance) รหัสวิชา FIN1104
การบันทึกรายการค้าในสมุดบัญชี
บทที่ 13 นโยบายเงินปันผล (DIVIDENE POLICY)
บทที่ 1 หน่วยผลิตและทางเลือกภายใต้โครงสร้างตลาด
การบัญชีต้นทุนช่วง (Process Costing).
พ.ร.ก.ยกเว้นและสนับสนุนฯ สำนักกฎหมาย กรมสรรพากร
การวิเคราะห์ ต้นทุน ปริมาณ กำไร
บทที่ 5 การวางแผนทางการเงิน ผศ. อรทัย รัตนานนท์ รศ.อรุณรุ่ง วงศ์กังวาน.
บทที่ 4 ต้นทุนของเงินทุน ผศ. อรทัย รัตนานนท์ รศ.อรุณรุ่ง วงศ์กังวาน.
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
ระบบเศรษฐกิจ.
ฝ่ายบัญชีและการเงิน สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ
กำหนดกรอบระยะเวลาการขึ้นทะเบียนปี2556/57 1. ข้าว
(มีผลใช้บังคับวันที่ ๑ พ.ย. ๒๕๕๗)
ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
กองทุนเงินทดแทน ประกันสังคม.
สำนักงานกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองแห่งชาติ สาขา 7
Financial Reporting AND Analysis Accounting Information
นโยบายการลงทุน Employee’s Choice.
แผนการตลาดสำหรับ [ชื่อผลิตภัณฑ์]
บทที่ 3 การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ ต้นทุน-ปริมาณ-กำไร
บทที่ 1 กรอบแนวคิดสำหรับการรายงานทางการเงิน.
สรุปมาตรฐานการบัญชี เรื่อง สัญญาก่อสร้าง
ตัวอย่างการจัดทำรายงานการผลิต และงบการเงิน
สินค้าคงเหลือ-การวัดมูลค่าวิธีอื่น
การเงินทางธุรกิจ (Business Finance) รหัสวิชา FIN1103
แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับการบัญชีต้นทุน
การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชี และข้อผิดพลาด
การจัดการเงินสด และหลักทรัพย์ ในความต้องการของตลาด
Supply Chain Management
Business Finance FI 212 Lectured By ญาลดา พรประเสริฐ.
การจัดทำแผนการสอบบัญชีโดยรวม
รายได้ประชาชาติ รายวิชา : week 04.
กลยุทธ์ราคา (Pricing Strategy)
8/26/2019 ชื่อบริษัท แผนธุรกิจ.
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
บทที่ 2 งบการเงิน ความหมายของงบการเงิน
การขายและการตลาดสำหรับธุรกิจโรงแรมและที่พัก
โซ่อุปทานและโลจิสติกส์ ญาลดา พรประเสริฐ คณะวิทยาการจัดการ
การบัญชีสำหรับ กิจการขายผ่อนชำระ
การจัดการภาครัฐ และภาคเอกชน Public and private management
คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
Welcome.. ข่าวประชาสัมพันธ์ กองคลัง สาระน่ารู้
บทที่ 7 การบัญชีภาษีมูลค่าเพิ่ม
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 6 เงินลงทุนในตราสารหนี้และตราสารทุน

ส่วนแรกของบทนี้ ประกอบด้วย ความหมายของเงินลงทุน ต้นทุนของเงินลงทุน และประเภทของเงินลงทุน จากนั้น จะกล่าวถึงการรับรู้รายการและการวัดมูลค่าของเงินลงทุนในตราสารหนี้ ต่อด้วยการรับรู้รายการและการวัดมูลค่าของเงินลงทุนในตราสารทุน ส่วนสุดท้ายจะกล่าวถึงการโอนเปลี่ยนประเภทเงินลงทุนและตัวอย่างการแสดงรายการและการเปิดเผยาข้อมูลสำหรับเงินลงทุน อนึ่ง เนื้อหาทั้งหมดในหนังสือนี้ยังคงเป็นไปตามกรอบมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 105 การบัญชีสำหรับเงินลงทุนในตราสารหนี้และตราสารทุน ซึ่งเป็นมาตรฐานการบัญชีของประเทศไทย (Local GAAP) ที่ว่างไว้ตามมาตรฐานการบัญชีของประเทศสหรัฐอเมริกา (Full IFRS) เมื่อนั้นมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 105 จะถูกยกเลิกและใช้มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 9 เครื่องมือทางการาเงินแทน

ความหมายของเงินทุน เงินลงทุน หมายถึง สินทรัพย์ที่กิจการมีไว้เพื่อเพิ่มความมั่งคั่งให้กับกิจการ ซึ่งผลตอบแทนที่กิจการจะได้รับจากการถือเงินลงทุนอาจจะเป็นดอกเบี้ยรับ ค่าสิทธิ และรายได้เงินปันผล หรือกิจการอาจจะได้รับผลตอบแทนจากราคาหุ้นที่เพิ่มสูงขึ้นกว่าตอนที่ซื้อ ( capital gain ) ต้นทุนของเงินลงทุน ราคาทุนของเงินลงทุนจะรวมรายจ่ายโดยตรงทั้งหมดที่กิจการจำเป็นต้องจ่ายเพื่อให้ได้เงินลงทุนนั้นมารายจ่ายเหล่านั้น ได้แก่ ราคาจ่ายซื้อเงินทุน ค่านายหน้า ค่าธรรมเนียม และค่าภาษี-อากร หากกิจการซื้อหุ้นกู้ระหว่างงวดดอกเบี้ย จำนวนเงินที่ต้องจ่ายเพิ่มสำหรับดอกเบี้ยค้างรับที่ติดมากับหุ้นกู้นั้นไม่ถือเป็นราคาทุนของเงินลงทุน ให้บันทึกบัญชีดอกเบี้ยที่ติดมานั้นต่างหาก โดยเดบิตดอกเบี้ยรับ และเครดิตเงินสด ตัวอย่างจะแสดงในหัวข้อตราสารหนี้เพื่อค้าต่อไป

การจัดประเภทของเงินทุน กิจการจะต้องจัดประเภทเงินทุนนับตั้งแต่วันที่ได้เงินลงทุนมา ตามวัตถุประสงค์ของการถือเงินลงทุน โดยการดูความตั้งใจของผู้บริหารที่มีต่อเงินลงทุน ว่าจะถือเงินลงทุนไว้เพื่ออะไร เนื่องจากจากมีผลกระทบต่อการบันทึกเงินทุนและการแสดงรายการในงบแสดงฐานะการเงิน เงินลงทุนถ้าแบ่งตามระยะเวลาที่ตั้งใจจะถือ แบ่งได้เป็น 2 ประเภท คือ 1) เงินลงทุนชั่วคราว ( Temporary Investment ) หมายถึง เงินลงทุนที่กิจการตั้งใจจะถือไว้ไม่เกิน 1 ปี เนื่องจากกิจการมีเงินสดหมุนเวียนเวียนเกินความต้องการใช้ในขณะนั้น จึงนำไปซื้อเงินลงทุนดังกล่าวเพื่อหาผลตอบแทนและกิจการจะขายเงินลงทุนชั่วคราวนี้ในทันทีที่ต้องการเงินสด 2) เงินลงทุนระยะยาว ( Long-Term Investment ) หมายถึง เงินลงทุนที่กิจการมีความต้องการจะลงทุนเกินกว่า 1 ปี นอกจากการจัดประเภทเงินลงทุนเป็นเงินลงทุนชั่วคราวหรือเงินลงทุนระยะยาวแล้ว เงินลงทุน ยังสามารถจัดประเภทตามชนิดของตราสารทางการเงิน ได้ดังนี้ 1) เงินลงทุนในตราสารหนี้ ( Investment in Debt Securities ) เงินลงทุนที่ผู้ถือหลักทรัพย์มีฐานะเป็นเจ้าหนี้ของกิจการ เช่น หุ้นกู้ พันธบัตรรัฐบาล เป็นต้น 2) เงินลงทุนในตราสารทุน ( Investment in Equities Securities ) เงินลงทุนที่ผู้ถือหลักทรัพย์ มีฐานะเป็นเจ้าของกิจการ เช่น หุ้นสามัญ หุ้นบุริมสิทธิ ใบสำคัญแสดงสิทธิซื้อหุ้นทุน เป็นต้น

เงินลงทุนในตราสารหนี้ ( Debt Investment ) เงินลงทุนในตราสารหนี้ หมายถึง การลงทุนในตราสารที่แสดงถึงความเป็นเจ้าหนี้ของกิจการ เช่น หุ้นกู้ พันธบัตรรัฐบาล การจัดประเภทเงินลงทุนในตราสารหนี้ ขึ้นอยู่กับความตั้งใจของผู้บริหารที่มีต่อเงินลงทุนในตราสารหนี้ และความสามารถของกิจการในการถือครองตราสารหนี้ดังกล่าว การจัดประเภทเงินลงทุนในตราสารหนี้ เงินมาลงทุนในตราสารหนี้สามารถจัดประเภทได้ ดังนี้ 1) ตราสารหนี้เพื่อค้า ( Trading Securities) หมายถึง ตราสารหนี้ที่กิจการถือไว้โดยมีวัตถุประสงค์ที่จะขายในอนาคตอันใกล้ ทำให้กิจการถือหลักทรัพย์นั้นไว้ในเวลาสั้น ๆ เพื่อหากำไรจากการเปลี่ยนแปลงราคาของหลักทรัพย์ ( Capital gain ) หลักทรัพย์เพื่อค้าจึงจัดประเภทเป็นเงินลงทุนชั่วคราว 2) ตราสารหนี้เผื่อขาย ( Available for Sales Securities ) หมายถึง ตราสารหนี้ที่กิจการถือไว้โดยมิได้มีความตั้งใจ ที่ถือเป็นหลักทรัพย์เพื่อค้า และในขณะเดียวกันก็ไม่ได้ถือเป็นตราสารหนี้ที่ถือจนครบกำหนด เนื่องจากกิจการยังไม่มีวัตถุประสงค์ที่ชัดเจน จึงเรียกหลักทรัพย์ประเภทนี้ว่าตราสารหนี้เผื่อขาย ตราสารหนี้เผื่อขายจะจัดประเภทไว้เป็นเงินลงทุนชั่วคราวหรือเงินลงทุนระยะยาวก็ได้ ขึ้นอยู่กับระยะเวลาที่ผู้ซื้อตั้งใจจะถือเงินลงทุนไว้ 3) ตราสารหนี้ที่ถือจนครบกำหนด ( Held to Maturity Securities หรือ Held for Collection Securities ) หมายถึง ตราสารหนี้ที่กิจการมีความตั้งใจแน่วแน่และมีความสามารถที่จะถือไว้จนครบกำหนดไถ่ถอน

แบบฝึกหัดท้ายบทที่ 6 1. การจัดประเภทเงินลงทุนระยะยาวเป็นกี่ ประเภท อะไรบ้าง 2. เงินลงทุนระยะยาวแสดงอย่างไรในหมวดอะไรในงบการเงิน 3. กิจการซื้อหุ้นสามัญบริษัท รุ่งเรือง จากัด (มหาชน) ควรจัดเป็นหลักทรัพย์ประเภทใด 4. ในวันที่ 1 ม.ค. 25X3 บริษัท สองสาย จำกัด ซื้อเงินลงทุนหุ้นกู้ 10% จานวนเงินหน้าใบหุ้น 500,000 บาท กำหนดเวลา 5 ปี ได้รับดอกเบี้ย ทุกสิ้นปี อัตราดอกเบี้ยในท้องตลาด 8% ต่อปี ถือไว้เป็นตราสารหนี้ที่ จะถือจนครบกำหนด ให้คำนวณหาต้นทุนเงินลงทุน 5. ในวันที่ 30 เม.ย. ซื้อหุ้นกู้12% โดยมีความตั้งใจจะถือไว้เผื่อขาย จากบริษัท สายสวรรค์ จากัด มูลค่า 50,000 บาท ในราคา 102 บวกดอกเบี้ย คงค้าง เสียค่าใช้จ่ายในการซื้อ 1,000 บาท กำหนดจ่ายดอกเบี้ยทุก วันที่30 มิ.ย. และ 31 ธ.ค. ครบกำหนดไถ่ถอน 31 ธ.ค. 25X4