Typology of Aged with Illustration (TAI)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการสหกรณ์
Advertisements

สถานการณ์และการเตรียมความพร้อม การป้องกันอุบัติเหตุทางถนน
การคัดเลือกพื้นที่เพื่อการพัฒนาสถานบริการสาธารณสุข ในชายแดนชนบท
เป็นการนำความรู้ด้าน Microsoft Excel ที่มีความพิเศษตรงที่สามารถ กำหนดสูตรการคำนวณในแต่ละเซลล์ ของ Sheet งานนั้นๆได้ โดยอาศัย ความแม่นยำในการคีย์ข้อมูลเข้าไป.
โดย นางสาวนิภาพร เถาคำแก้ว วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก (อี.เทค.)
กลุ่มวัยผู้สูงอายุ
เครื่องชี้วัดคุณภาพ วัตถุประสงค์: เพื่อให้ผู้เรียน
ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต ฝ่ายบริหารทั่วไป
สถานการณ์และการเตรียมความพร้อม การป้องกันอุบัติเหตุทางถนน
การขัดเกลาทางสังคมซ้ำเพื่อสร้างพฤติกรรมการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ ของเยาวชนในศูนย์ฝึกและอบรมเด็กและเยาวชน ผู้วิจัย นภัสวรรณ บุญประเสริฐ หลักสูตรปริญญาศิลปศาสตรดุษฎี
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
การจัดทำแผนปฏิบัติการ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ พ.ศ กันยายน 2557.
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
“ การประเมินผลการ ปฏิบัติงาน ของพนักงานส่วน ท้องถิ่น ” ในระบบจำแนก ตำแหน่งเป็นประเภท ตามลักษณะงาน จัดทำโดย ฝ่ายส่งเสริมและ พัฒนาบุคลากร กองการเจ้าหน้าที่
มอบนโยบายการบริหารราชการให้กับหัวหน้าสถานีตำรวจ วันอังคารที่ 2 ๑ มิ. ย.59 เวลา น. สำนักงานตำรวจแห่งชาติ
สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.
ปรานอม ประทีปทวี 25/09/591 หน้าที่ของครูผู้นิเทศ สพม.5.
ประเภทของ CRM. OPERATIONAL CRM เป็น CRM ที่ให้การสนับสนุนแก่กระบวนการธุรกิจ ที่เป็น “FRONT OFFICE” ต่างๆ อาทิ การขาย การตลาด และการ ให้บริการ SALES FORCE.
กลุ่มวัยผู้สูงอายุ
รายงานและการบันทึกข้อมูล Functional + SpecialPP
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ
นางสาวศิวพร แพทย์ขิม เอกสุขศึกษา กศ. บ. คณะพลศึกษา.
ปัญหาสุขภาพผู้สูงอายุไทย 2547
การเพิ่มประสิทธิภาพ ระบบบริหารจัดการความเสี่ยง
ประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง การกำหนดหลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
การศึกษาอุบัติการณ์และปัจจัยเสี่ยงการเกิดพิษต่อตับ ในผู้ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ที่ได้รับยาต้านไวรัสเอชไอวี โรงพยาบาลวารินชำราบ.
โครงการส่งเสริมป้องกันโรคในช่องปากผู้สูงอายุ
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
ระบบดูแลผู้สูงอายุระยะยาว ด้านสาธารณสุข
ข้อมูลทั่วไปอำเภอเมืองระยอง
ข้อกำหนด/มาตรฐาน ด้านสุขาภิบาลอาหาร
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
ส้วมสะอาดในร้านอาหาร
วิธีการกรอกแบบเสนอโครงการในไฟล์ Power point นี้
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
การประเมินผลการปฏิบัติงาน
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน ปี 2561
บทที่ 4 การดูแลให้ได้รับการพักผ่อนและความปลอดภัย การจัดการสิ่งแวดล้อม การทำเตียง อ.กรวรรณ สุวรรณสาร.
การประเมินผลการปฏิบัติงาน
พื้นฐานการออกแบบ กราฟิก หมายถึง ศิลปะแขนงหนึ่งซึ่งใช้การสื่อความหมาย ด้วยเส้น สัญลักษณ์ รูปวาด ภาพถ่าย กราฟ แผนภูมิ การ์ตูน ฯลฯ เพื่อให้สามารถสื่อความหมายของข้อมูลได้ถูกต้องตรง.
Typology of Aged with Illustration : TAI
Ph.D. (Health MS.Health การประเมินผลการสร้างเสริมสุขภาพประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง The Health Promotion.
งานผู้สูงอายุ ปี 2560 ตัวชี้วัด (Long Term Care)ในชุมชนผ่านเกณฑ์
SMS News Distribute Service
การประเมินสภาวะของผู้สูงอายุ
เรียนอย่างไรให้ประสบความสำเร็จ
“ถ้าหากบริษัทบุหรี่ต้องหยุดทำการตลาดที่พุ่งเป้าไปที่เด็กๆ บริษัทบุหรี่จะล้มละลายภายใน 25 – 30 ปี เพราะจะไม่มีลูกค้าเพียงพอที่ธุรกิจจะอยู่ได้”
กองทุนฟื้นฟูสมรรถภาพที่จำเป็นต่อสุขภาพ จังหวัดน่าน
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
จุดมุ่งหมายทางการศึกษา และ จุดประสงค์การเรียนรู้
การดำเนินงานเชิงรุก โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์และเอดส์
วิชากฎหมายอาญาภาคทั่วไป (177181)
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
นวัตกรรมทางการพยาบาล “FIFO cautery box”
มะเร็งปากมดลูก โดย นางจุฑารัตน์ กองธรรม พยาบาลวิชาชีพ รพ.สต.บ้านโนนแต้
ขดลวดพยุงสายยาง.
การติดตาม (Monitoring)
Supply Chain Management
ชัยพฤกษ์รัตนาธิเบศร์ - วงแหวน
โครงการโรงเรียนคุณภาพประจำตำบล (1 ตำบล 1 โรงเรียนคุณภาพ)
การอบรมฟื้นฟูความรู้ผู้จัดการการดูแลผู้สูงอายุ (Care Manager : CM)
นวัตกรรม ขวดเก็บ Sputum culture
ด้วยตัวเอง โดยใช้แรงต้าน
การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาไพทอน การเขียนโปรแกรมแบบทางเลือก
Ph.D. (Health MS.Health การประเมินผลการสร้างเสริมสุขภาพประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง The Health Promotion.
การพัฒนาการทำแผล หอผู้ป่วยพิเศษร่มเย็น 4
คุณต้องรู้ว่าคุณกำลังมีปัญหาอะไร?
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Typology of Aged with Illustration (TAI) ดร.ชุติกาญจน์ ฉัตรรุ่ง วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สุพรรณบุรี

(Typology of Aged with Illustration) “TAI” คืออะไร (Typology of Aged with Illustration) TAI คือ เครื่องมือที่ใช้ เพื่อการประเมินสภาวะของผู้สูงอายุ จำแนกประเภทผู้สูงอายุโดยใช้รูปภาพประกอบ ริเริ่มโดยศาสตราจารย์ Tai Takahashi ผู้เชี่ยวชาญประเทศญี่ปุ่น

ในแต่ละด้าน จะแบ่งเป็น 6 ระดับ 0, 1, 2, 3, 4และ 5 TAI ทำงานอย่างไร TAI ทำงานโดยการประเมินสภาวะทางร่างกาย และจิตใจแ ระบุระดับการทำงานในด้านต่างๆ 4 ด้าน 1. ความสามารถในการเคลื่อนไหว (Mobility) 2. สภาพจิตใจ (Mental) 3. การรับประทานอาหาร (Eating) 4. การขับถ่าย (Toilet) ในแต่ละด้าน จะแบ่งเป็น 6 ระดับ 0, 1, 2, 3, 4และ 5 0 = ไม่ได้หรือทำได้น้อยที่สุด 5 = ทำได้ดี

1. ความสามารถในการเคลื่อนไหว (Mobility ) 5 เดินขึ้นบันไดได้ TAI: Mobility คะแนน5,4,3 =เคลื่อนไหวร่างกายได้เอง คะแนน2,1,0 = เคลื่อนไหว ร่างกายเอง ไม่ได้ เดินทางราบได้ (โดยไม่ใช้เครื่องช่วย) เดินขึ้นบันไดเอง โดยใช้อุปกรณ์ช่วย 4 เดินทางราบได้โดยต้องช่วย /นั่งรถเข็นไปมาเองได้ 3 2 ลุกขึ้นนั่งยืนมาลงข้างเตียงได้ 1 นอนบนเตียง พลิกตัวไปมาได้ นอนบนเตียง ไม่สามารถพลิกตัว

2.สภาพจิตใจ (Mental status) 5 ไม่มีปัญหาสุขภาพจิต มีปัญหาการตัดสินใจและความจำ Orientationดีและไม่มีปัญหาด้านพฤติกรรม 4 ไม่มีปัญหาด้าน การรับรู้แต่มีปัญหา พฤติกรรมจนสร้าง ความรำคาญ 3 TAI: mental status คะแนน 5,4 = สุขภาพจิตปกติ คะแนน 3, 2, 1,0 = มีความแปรปรวนทางจิต 1 Disorientation มีปัญหาด้านพฤติกรรม 2 Disorientation ไม่มีปัญหาพฤติกรรมผิดปกติ ไม่มีการตอบสนอง

3. การรับประทานอาหาร (Eating) 5 กินเองได้ดี 4 กินเองได้ แต่หกเลอะเทอะบ้าง TAI: Eating คะแนน 5,4 =การรับประทานอาหารปกติ คะแนน 3, 2, 1,0 = การรับประทานอาหารผิดปกติ 3 ต้องป้อน ไม่มีปัญหาการกลืน 2 ต้องป้อน มีปัญหาการกลืน 1 Feed NG/ gastrostomy tube ให้ IV หรือTPN

5 4 3 2 1 การขับถ่าย (Toilet) ใส่สายสวนปัสสาวะ ไปห้องน้ำเองได้ และทำความสะอาดเองได้ TAI: Toilet คะแนน5,4 =การขับถ่ายปกติ คะแนน3,2,1,0 = การขับถ่ายผิดปกติ 4 ไปห้องน้ำเองได้ มีปัญหากลั้นไม่ได้บางครั้ง 3 ช่วยพาไปห้องน้ำและ ช่วยทำความสะอาดหลังถ่าย 2 ต้องใส่ผ้าอ้อม ช่วยในการเปลี่ยน/ใส่ได้ 1 ต้องใส่ผ้าอ้อม ใส่/เปลี่ยน ผ้าอ้อมอย่างยากลำบาก ใส่สายสวนปัสสาวะ

TAI ทำงานอย่างไร ผู้สูงอายุจะถูกจำแนกออกเป็นประเภทต่างๆ โดยใช้ตารางของ TAI หลังจากนั้นจะมีการระบุการดูแลที่จำเป็นสำหรับผู้สูงอายุแต่ละประเภท

การแบ่งกลุ่มผู้สูงอายุตามระบบ TAI Border: B มีภาวะเสี่ยง Confused: C สับสน Immobile: I เคลื่อนไหวร่างกายเอง ไม่ได้

ตารางจำแนกประเภทผู้สูงอายุพร้อมภาพประกอบ คะแนน ADL อยู่ที่ 5,4,3= เคลื่อนไหวร่างกายได้เอง การจำแนกประเภท TAI ตามความสามารถในการเคลื่อนไหว   คะแนน ADL อยู่ที่ 2 , 1,0 = เคลื่อนไหร่างกายเองไม่ได้ คะแนน ADL อยู่ที่ 5,4= สุขภาพจิตเป็นปกติ การจำแนกประเภทTAI ตามสุขภาพจิต คะแนน ADL อยู่ที่ 3,2,1,0= มีความแปรปรวนทางจิต Confused Group (C) (กลุ่มที่มีความสับสน)   Border Group (B) กลุ่มที่เป็นปกติ/เสี่ยง Immobile Group (I) (กลุ่มที่เคลื่อนไหวร่างกายเองไม่ได้)   การจำแนกประเภทTAI ตาม สุขภาพจิต,ความสามารถใน การเคลื่อนไหว,การรับประทาน อาหาร,และการขับถ่าย การจำแนกประเภทTAI ตาม ความสามารถในการรับประทานอาหาร และการขับถ่าย การจำแนกประเภทTAI ตาม ความสามารถในการ รับประทานอาหาร

การจำแนกประเภทผู้สูงอายุ B 5 B 4 B 3 คำจำกัดความของประเภทผู้สูงอายุตามการศึกษารูปแบบและสัญลักษณ์พร้อมภาพประกอบ(TAI) พึ่งตนเองได้อย่างสมบูรณ์(ได้ค่าประเมินADLเท่ากับ5ในด้านสุขภาพจิต,ความสามารถในการเคลื่อนไหว,การรับประทานอาหาร,และการขับถ่าย)   พึ่งตนเองได้ไม่สมบูรณ์แต่สามารถรับประทานอาหาร และขับถ่ายเองได้ โดยไม่ต้องมีผู้ดูแล พึ่งตนเองไม่ได้และต้องการดูแลในด้าน การรับประทานอาหารและ/หรือการขับถ่าย ลักษณะเฉพาะของผู้สูงอายุแต่ละประเภท

ด้านการรับประทานอาหารและการขับถ่าย ด้านการรับประทานอาหาร การจำแนกประเภทผู้สูงอายุ   มีความสับสน แต่พึ่งตนเองได้ทั้ง ด้านการรับประทานอาหารและการขับถ่าย C 4 ต้องการการดูแล ด้านการรับประทานอาหาร หรือการขับถ่าย C 3 ต้องการการดูแลทั้ง และการขับถ่าย C 2

การจำแนกประเภทผู้สูงอายุ   เคลื่อนไหวไม่ได้แต่พึ่งตนเองได้ด้านการรับทานอาหาร I 3 เคลื่อนไหวไม่ได้และต้องการการดูแลด้านการรับประทานอาหาร แต่กลืนอาหารที่ป้อนให้ได้ตามปกติ I 2 เคลื่อนไหวไม่ได้และ ต้องการดูแลด้านการรับประทานอาหาร มีความผิดปกติในการกลืนอาหารที่ป้อนให้ I 1

Classified Disability of Elderly by TAI Mobility (5,4,3) Mobility (2,1,0) Mental status (5,4) Mental status (3,2,1,0) E ≥ 4 T ≥ 4 E=5 ,T=5 M=5,M=5 E ≤ 3 &/ T ≤ 3 E ≥ 4 T ≥ 4 E 4 T3 E3 T4 E ≤ 3 T ≤ 3 E4 E3 E 0,1,2 B3 C3 C2 I3 I2 B5 B4 C4 I1 M = Mobility , M = Mental status E = Eating , T = Toilet

ตารางเปรียบเทียบ Bathel ADL Index TAI Feeding Eating Mobility Transfer Stair Toilet Bowel Bladder No Mental Grooming Dressing Bathing

ของผู้สูงอายุเป็นตัวตั้ง ในการจัดบริการ (Evidence-based) ทำไม TAI จึงเป็นเครื่องมือที่ใช้ประเมิน อาการที่ปรากฏ ของผู้สูงอายุเป็นตัวตั้ง ในการจัดบริการ (Evidence-based) การประเมินและการระบุการดูแลที่จำเป็นอ้างอิงจากงานวิจัยในสถานพยาบาลหลายแห่ง ในประเทศญี่ปุ่น ซึ่งได้มีการสำรวจว่า “บริการประเภทใดควรจะถูกจัดเตรียมให้กับผู้สูงอายุ ประเภทใด และเป็นเวลาเท่าใดต่อวัน”

Classification B: C: I: Fragile Care needed Move Death Independent Hospital I1 Death

กรณีศึกษา ชาย อายุ 83 ปี รูปร่างสมส่วน ลุกจากเตียงได้ เดินช้าๆ โดยใช้ walker ช่วย มีอาการมือสั่น รับประทานอาหารได้แต่ใช้เวลานานในการรับประทานอาหารแต่ละมือ ล้างหน้า แปรงฟัน เข้าห้องน้ำและขับถ่ายเองได้ ลูกช่วยอาบน้ำ และแต่งตัวให้ มีอาการปัสสาวะราด วันละ 1-2 ครั้ง อุจจาระราด สัปดาห์ละ 1 -2 ครั้ง เวลาอุจจาระราดผู้สูงอายุไม่รู้ว่าตนเองอุจจาระ ผู้สูงอายุทราบว่าอยู่ที่บ้าน แต่จำไม่ได้ว่ารับประทานอาหารและยาหรือยัง ไม่ทราบวัน เดือน ปี จำได้เฉพาะคนในบ้าน ญาติที่นานๆ พบกันจะเรียกชื่อไม่ได้

การจำแนกกลุ่มประเภทการให้บริการทาง ด้านสาธารณสุขตามชุดสิทธิประโยชน์ ผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง แบ่งเป็น 4 กลุ่ม กลุ่มติดบ้าน (ADL 5-11 คะแนน) - กลุ่มที่ 1 กลุ่มที่เคลื่อนไหวได้บ้าง และอาจมีปัญหาการกิน หรือการขับถ่าย ไม่มีภาวะสับสน (B3) - กลุ่มที่ 2 กลุ่มที่เคลื่อนไหวได้บ้าง มีภาวะสับสน สมองเสื่อม (C2,C3,C4)

การจำแนกกลุ่มประเภทการให้บริการทาง ด้านสาธารณสุขตามชุดสิทธิประโยชน์ (ต่อ) กลุ่มติดเตียง (ADL 0-4 คะแนน) - กลุ่มที่ 3 เคลื่อนไหวเองไม่ได้ อาจมีปัญหาการกินหรือ การขับถ่ายหรือมีอาการเจ็บป่วยรุนแรง (I3) - กลุ่มที่ 4 เคลื่อนไหวเองไม่ได้ เจ็บป่วยรุนแรง หรืออยู่ใน ระยะสุดท้ายของชีวิต (I1,I2)

การแบ่งประเภทผู้สูงอายุตามเกณฑ์ สปสช. ADL และ TAI เคลื่อนไหวเองไม่ได้ และอาจมีปัญหาการกินหรือการขับถ่ายหรือมีอาการเจ็บป่วยรุนแรง (4,000-8000 บาท /คน/ปี) กลุ่ม 4 ติดเตียง (I1,I2) เคลื่อนไหวเองไม่ได้ มีปัญหาการรับประทานอาหาร (5,000- 10,000 บาท) กลุ่ม 1 ติดบ้าน (B3) เคลื่อนไหวเองได้บ้าง และอาจมีปัญหาการกินหรือการขับถ่าย แต่ไม่มีภาวะสับสน ( ไม่เกิน4000 บาท/คน/ปี ) กลุ่ม 2 ติดบ้าน (C2,C3,C4) เคลื่อนไหวเองได้บ้าง และ อาจมีปัญหาการกินหรือ การขับถ่าย มีภาวะสับสน (3,000-6000 บาท /คน/ปี )

ชุดสิทธิประโยชน์สำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง กิจกรรม กลุ่มที่ 1 กลุ่มที่ 2 กลุ่มที่ 3 กลุ่มที่ 4 1.ประเมินก่อนให้บริการและวางแผน 1 ครั้ง/ปี 2.ให้บริการระยะยาว 1 ครั้ง/เดือน 2 ครั้ง/เดือน 3.บริการดูแลที่บ้าน 1 ครั้ง/สป 2 ครั้ง/สป 4.จัดหาอุปกรณ์ทางการแพทย์ ที่จำเป็นตามสภาพผู้ที่อยู่ในภาวะพึ่งพิง 5.ประเมินผลและปรับแผน 6เดือน/ครั้ง 3เดือน/ครั้ง 1เดือน/ครั้ง อัตราการชดเชยค่าบริการ (เหมาจ่าย/คน/ปี) ไม่เกิน 4,000 บาท 3000-6000 บาท 4000-8000 บาท 5000-10000 บาท

การดูแลตามความ ต้องการ (ตัวอย่าง) การจัดแบ่งประเภทประเภท : B3 ระบุ ADL การเคลื่อนไหว 3 สภาพจิตใจ 4 การกิน 3 การใช้ห้องน้ำ 3 ชุดสิทธิประโยชน์ การดูแลตามความ ต้องการ

กิจกรรมกลุ่ม ประเมินกรณีศึกษา โดยใช้เครื่องมือ TAI จำแนกกลุ่มประเภทการให้บริการทางด้านสาธารณสุขตามชุดสิทธิประโยชน์ เปรียบเทียบกรณีศึกษาจากการประเมินด้วยเครื่องมือ ADL และ TAI

Thank you for your Attention

ชุดสิทธิประโยชน์สำหรับกรณีศึกษา กิจกรรม Case 1 กลุ่มที่ 1 Case 2 กลุ่มที่ 4 Case 3 Case 4 กลุ่มที่ 4 1.ประเมินก่อนให้บริการและวางแผน 1 ครั้ง/ปี 2.ให้บริการระยะยาว 1 ครั้ง/เดือน 2 ครั้ง/เดือน 3.บริการดูแลที่บ้าน 2 ครั้ง/สป 4.จัดหาอุปกรณ์ทางการแพทย์ ที่จำเป็นตามสภาพผู้ที่อยู่ในภาวะพึ่งพิง 5.ประเมินผลและปรับแผน 6เดือน/ครั้ง 3เดือน/ครั้ง 1เดือน/ครั้ง อัตราการชดเชยค่าบริการ (เหมาจ่าย/คน/ปี) ไม่เกิน 4,000 บาท 5000-10000 บาท