งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ระบบดูแลผู้สูงอายุระยะยาว ด้านสาธารณสุข

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ระบบดูแลผู้สูงอายุระยะยาว ด้านสาธารณสุข"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ระบบดูแลผู้สูงอายุระยะยาว ด้านสาธารณสุข
เขตบริการสุขภาพที่ 9 สำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง ในตำบล Long Term Care ของกระทรวงสาธารณสุข นพ.สมคิด สุริยเลิศ ผู้อำนวยการโรงพยาบาลสุรินทร์ 7 January 2016

2 จากปัญหา จำนวนประชากรผู้สูงอายุมีจำนวนเพิ่มขึ้นเข้าสู่
สังคมผู้สูงอายุสัมบูรณ์ ในปี 2568 ทำให้ผู้สูงอายุภาวะพึ่งพิงซึ่งเป็นภาระต่อครอบครัว มีจำนวนเพิ่มมากขึ้นด้วย

3 นโยบาย กระทรวงสาธารณสุข

4 ผู้สูงอายุสุขภาพดี ดูแลตนเองได้ และมีคุณภาพชีวิตที่ดี
ผู้สูงอายุสุขภาพดี ดูแลตนเองได้ และมีคุณภาพชีวิตที่ดี นโยบายสาธารณะ ทักษะบุคคล รูปแบบการให้บริการ ในสถานบริการ ในชุมชน การบริการ ชุมชน สภาวะแวดล้อม กระทรวง สธ./พม./มท. อปท. การบริหารจัดการ ชุมชน/ครอบครัว จังหวัด ผู้สูงอายุ กลุ่มติดสังคม กลุ่มติดบ้าน กลุ่มติดเตียง

5 ผู้สูงอายุสุขภาพดี ดูแลตนเองได้ และมีคุณภาพชีวิตที่ดี : มาตรการสำคัญ
ผู้สูงอายุสุขภาพดี ดูแลตนเองได้ และมีคุณภาพชีวิตที่ดี : มาตรการสำคัญ - การตรวจคัดกรอง - บริการฟื้นฟูสภาพในโรงพยาบาล/ชุมชน 1.ระบบบริการ - ชมรมผู้สูงอายุ / การส่งเสริมสุขภาพและการป้องกันโรค - การดูแลที่บ้าน ผู้สูงอายุติดบ้าน ติดเตียง ด้วยอาสาสมัคร ประจำ ครอบครัว/รพสต./ทีมหมอครอบครัว - กิจกรรมดูแลด้านสาธารณสุขและด้านสังคม 2.การดูแลในชุมชนLong Term Care - ระดับตำบล มี นายก อบต.เป็นประธาน ผู้จัดการระบบดูแลเป็นเลขานุการ/ระดับอำเภอด้วย DHS การเงินของตำบลดูแลด้านสังคม / เงินด้านสาธารณสุขดูแลด้านสาธารณสุข 3.การบริหารจัดการ 4.การจัดการกำลังคน - ผู้จัดการระบบดูแล / ผู้ดูแลผู้ป่วย การดูแลแบบประคับประคองด้วยการแพทย์แผนปัจจุบัน และการแพทย์แผนไทย 5.ระบบการดูแลระยะสุดท้าย

6 รูปแบบการบริการ NGO/ เอกชน ผู้สูงอายุ
- พึ่งตนเอง/พึ่งครอบครัว/พึ่งชุมชน - อาสาสมัครประจำครอบครัว (อสค.) ครอบครัว - ศูนย์อเนกประสงค์ - ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพ - อสม./อผส./กายภาพบำบัด/โภชนากร ชุมชน - การดูแลผู้ป่วยที่บ้าน พยาบาลวิชาชีพ/ผู้ดูแล ผู้จัดการระบบดูแล NGO/ เอกชน อำเภอ/ตำบลบูรณาการ จัดการสุขภาพ ควบคุมกำกับ M&E /สนับสนุน / ควบคุมมาตรฐาน จังหวัด - 1° , 2° , 3° care - Excellent center Home health care team. care manager พม./มท. สธ. ประเทศ(ส่วนกลาง) - นโยบาย/มาตรฐาน/กฎหมาย

7 ระบบการดูแลระยะยาว Long Term Care
เป็นบริการสาธารณสุขและบริการสังคมสำหรับผู้ที่มีภาวะพึ่งพิง ไม่สามารถช่วยเหลือตนเองได้ การดูแลมี 2 ระบบใหญ่ๆ คือ 2.1 การดูแลในชุมชน 2.2 การดูแลในสถาบัน กลุ่มเป้าหมาย ติดบ้าน ติดเตียง จำแนกเป็น 4 กลุ่ม 3.1 เคลื่อนไหวได้บ้าง มีปัญหาการกิน /การขับถ่าย แต่ไม่มีภาวะสับสน 3.2 เคลื่อนไหวได้บ้าง มีภาวะสับสน และ อาจมีปัญหาการกิน / การขับถ่าย 3.3 กลุ่มที่เคลื่อนไหวเองไม่ได้ ไม่มีปัญหาการกิน ขับถ่าย หรือเจ็บป่วยรุนแรง 3.4 เคลื่อนไหวเองไม่ได้ เจ็บป่วยรุนแรง หรืออยู่ในระยะท้ายของชีวิต

8 เป้าประสงค์ กลไกการดำเนินงาน
“บุคคล ครอบครัว และชุมชน” ได้รับการสนับสนุนให้มีขีดความสามารถดำรงชีวิตได้อย่างมีศักดิ์ศรี ภายใต้แนวคิด“คนในชุมชนไม่ทอดทิ้งกัน” กลไกการดำเนินงาน การคัดกรองผู้สูงอายุ อาสาสมัคร หรือคนในครอบครัว ประเมินภาวะพึ่งพิงทำแผนการดูแล ผู้จัดการระบบดูแลระยะยาว ระบบการดูแลและระบบป้องกัน คณะกรรมการบริหารตำบล/เทศบาล

9 ผู้จัดการระบบดูแลระยะยาว ผู้ดูแลที่ผ่านการอบรม อาสาสมัครประจำครอบครัว
บุคลากรในการดูแล ผู้จัดการระบบดูแลระยะยาว ประเมิน วางแผนการดูแลผู้สูงอายุ ผจก 1 คน : ผู้สูงอายุ 35 – 40 คน ผู้ดูแลที่ผ่านการอบรม อบรม 70 หรือ420 ชั่วโมง ประเมิน /ดูแลตามแผนการดูแล ดูแลผู้สูงอายุกลุ่มติดบ้าน ติดเตียง 1คน : ผู้สูงอายุ 5 – 10คน อาสาสมัครประจำครอบครัว ดูแลคนในบ้าน

10 ฝึกอบรมผู้จัดการระบบดูแลระยะยาว

11 ฝึกอบรมผู้จัดการระบบดูแลระยะยาว

12 ฝึกอบรมผู้จัดการระบบดูแลระยะยาว

13 การบริหารจัดการด้วยอำเภอจัดการสุขภาพ
ระยะที่ 1 อบรมบุคลากรโดยเฉพาะอย่างยิ่งผู้จัดการระบบ ดูแลระยะยาว ระยะที่ 2 สำรวจคัดกรองผู้สูงอายุในพื้นที่รับผิดชอบ เพื่อได้ข้อมูลผู้อยู่ในภาวะพึ่งพิง ระยะที่ 3 มีคณะกรรมการบริหารจัดการ ในภาวะพึ่งพิง เช่น นายก อบต.หรือนายกเทศมนตรีเป็นประธานหรือ คณะกรรมการกองทุนตำบล ระยะที่ 4 ผู้สูงอายุได้รับบริการที่ดี มีมาตรฐาน

14 ของเขตบริการสุขภาพที่ 9
การดำเนินงาน ของเขตบริการสุขภาพที่ 9

15

16 จำนวนร้อยละของผู้สูงอายุในเขตนครชัยบุรินทร์
รายการ นครราชสีมา ชัยภูมิ บุรีรัมย์ สุรินทร์ เขต ผู้สูงอายุทั้งหมด 373,785 171,847 183,293 196,375 925,300 สัดส่วนผู้สูงอายุต่อประชากรทั้งหมด% 14.60 18.90 13.90 12.80 14.40 ผู้สูงอายุกลุ่มที่ 1 (จำนวน) 343,956 101,639 170,698 132,715 749,008 ผู้สูงอายุกลุ่มที่ 2 (จำนวน) 26,423 8,451 5,861 4,744 45,479 ผู้สูงอายุกลุ่มที่ 3 (จำนวน) 3,406 2,591 1,065 2,093 9,155

17 1 2 3

18

19

20 ศูนย์ดูแลสุขภาพระยะยาว โรงพยาบาลสุรินทร์
ศูนย์ดูแลสุขภาพระยะยาว โรงพยาบาลสุรินทร์

21 การสอนสาธิตผู้ดูแลผู้ป่วย/ ญาติ
บริหารแขนขา ป้องกันข้อติด โดย นักกายภาพบำบัด

22 สอนให้อาหารทางสายยาง โดย พยาบาลฟื้นฟู
สอนให้อาหารทางสายยาง โดย พยาบาลฟื้นฟู

23 สอนวิธีดูดเสมหะ โดย พยาบาลฟื้นฟู
การสอนสาธิต สอนวิธีดูดเสมหะ โดย พยาบาลฟื้นฟู

24 มีอุปกรณ์ที่ให้ผู้ป่วยยืมกลับบ้าน
รายการอุปกรณ์ทางการแพทย์เมื่อเริ่มเปิดศูนย์ 1 มี.ค. 58 มีอุปกรณ์ที่ให้ผู้ป่วยยืมกลับบ้าน รายการ จำนวน 1. เครื่องดูดเสมหะ 3 เครื่อง 2. เครื่องผลิตออกซิเจนขนาด 8 ลิตร 2 เครื่อง 3. เครื่องผลิตออกซิเจนขนาด 10 ลิตร 4. แท้งค์ออกซิเจนพร้อมเกย์และรถเข็น ขนาด 1.5 คิว 5 ชุด 5. แท้งค์ออกซิเจนพร้อมเกย์และรถเข็น ขนาด 6 คิว 3 ชุด 6. ที่นอนลม 7. เครื่องวัดความดันโลหิต 5 เครื่อง 8. เครื่องปั่นอาหาร 9. เตียงผู้ป่วย 2 เตียง 10. Set ทำแผล 10 set 11. Wheel chair 5 คัน 12. Walker 5 อัน 13. เครื่องเจาะน้ำตาลในเลือด 10 เคริ่อง

25 มีอุปกรณ์ที่ให้ผู้ป่วยยืมกลับบ้าน

26 มีอุปกรณ์ที่ให้ผู้ป่วยยืมกลับบ้าน
เครื่องผลิตออกซิเจน

27 การดูแลผู้ป่วยสูงอายุภาวะพึ่งพิงภายในโรงพยาบาลศูนย์
เป็นปัญหาเรื่องระยะเวลาการครองเตียงนาน ทำให้เตียงล้น ผู้ป่วยวิกฤตอาจขาดโอกาสเข้ารับการรักษา

28 รายการเครื่องมือที่มีอยู่ในศูนย์การดูแลสุขภาพระยะยาว ณ ปัจจุบัน
รายการเครื่องมือที่มีอยู่ในศูนย์การดูแลสุขภาพระยะยาว ณ ปัจจุบัน ลำดับที่ รายการเครื่องมือ จำนวน 1. เครื่อง Bipap ราคาเครื่องละ 150,000 บาท 5 เครื่อง 2. Syringe driver 8 เครื่อง 3. เครื่อง Suction 19 เครื่อง 4 เครื่องผลิตออกซิเจนขนาด 8 ลิตร 6 เครื่อง 5. เครื่องผลิตออกซิเจนขนาด 10 ลิตร 2 เครื่อง 6. แท้งค์ออกซิเจนขนาด 1.5 ลิตร 8 แท้งค์ 7. แท้งค์ออกซิเจนขนาด 6 ลิตร 5 แท้งค์ 8. เกย์ออกซิเจน 11 หัว 9. ที่นอนลม 13 เครื่อง 10. เตียง Fowler 13 เตียง 11. Set ทำแผล 12 set 12. รถนั่ง 9 คัน 13. Walker 7 ตัว 14. เครื่องวัดความดัน 15. ไม้เท้า 3 ขา 1 ตัว 16. เก้าอี้นั่งอาบน้ำ 17. เก้าอี้นั่งขับถ่าย 3 ตัว 18. เครื่องเจาะน้ำตาล 11 เครื่อง 19. เครื่องปั่นอาหาร 6 เครื่อง 20. เครื่องวัดออกซิเจนปลายนิ้ว

29 การให้ยืมอุปกรณ์การแพทย์
- ผู้ป่วยเคยป่วยเป็นวัณโรคปอด และมีปอดแฟบ - นอนรพ.อยู่ไอซียู นานกว่า 90 วัน - ตอนนี้กลับไปอยู่ที่บ้าน ได้นานกว่า 3 เดือน - ขณะนี้สามารถ ถอดเครื่องช่วยหายใจได้เป็นช่วง ๆ

30 การให้ยืมอุปกรณ์การแพทย์
ผู้ป่วยนอนรพ. 72 วัน ด้วยโรค ไตวาย และโรคหลอดเลือดสมอง และมีอาการระบบทางเดินหายใจล้มเหลว กลับไปอยู่บ้านได้นาน 3 เดือน 17 วัน ขณะนี้ยังมีชีวิตอยู่

31 การให้ยืมอุปกรณ์การแพทย์
ผู้ป่วยนอนรพ. 90 วัน ด้วยโรค เนื้องอกในสมอง กลับไปอยู่บ้านได้นาน 2 เดือน 12 วัน เพิ่งเสียชีวิต 29 ธ.ค.58

32 มีการติดตามเยี่ยมภายใน 14 วัน
โปรแกรม COCR9 มีการติดตามเยี่ยมภายใน 14 วัน

33 เยี่ยมบ้านร่วมกับทีมสหสาขาวิชาชีพ

34 เยี่ยมบ้านร่วมกับทีมสหสาขาวิชาชีพ

35 รับข้อมูลตอบกลับจาก รพ.สต.

36 รับข้อมูลตอบกลับจาก รพ.สต.

37 ยังขาดระบบบริการรถนำส่งผู้ป่วยกลับบ้าน
ปัญหาการส่งผู้ป่วยภาวะพึ่งพิงกลับบ้าน ยังขาดระบบบริการรถนำส่งผู้ป่วยกลับบ้าน

38 ส่งต่อผู้ป่วยกลับบ้านโดยประสานรถกู้ชีพ

39 ส่งต่อผู้ป่วยกลับบ้านโดยประสานรถกู้ชีพ

40 จัดอบรมผู้จัดการระบบดูแลระยะยาว จัดอบรมผู้ดูแลผู้ป่วย
เป้าหมายความสำเร็จในปี 2559 “ผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงในตำบลเป้าหมายได้รับการดูแล 100%” 3 เดือน 6 เดือน 12 เดือน จัดตั้งศูนย์ดูแลสุขภาพระยะยาวในโรงพยาบาลทุกระดับ มีการคัดกรองผู้ป่วย/ผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง จัดอบรมผู้จัดการระบบดูแลระยะยาว จัดอบรมผู้ดูแลผู้ป่วย จัดอบรมผู้ใช้โปรแกรม COCR 9 โรงพยาบาลทุกระดับจัดตั้งศูนย์ดูแลสุขภาพระยะยาวและมีการจัดบริการครบทุกแห่ง ใช้ระบบการส่งต่อ/รับข้อมูลจากรพ.สต. ด้วยโปรแกรม COCR 9 ครบทุกแห่ง

41 สวัสดี


ดาวน์โหลด ppt ระบบดูแลผู้สูงอายุระยะยาว ด้านสาธารณสุข

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google