บทที่ 2 การจัดการคุณภาพโดยรวม

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การติดตามและ ประเมินผลโครงการ
Advertisements

การผลิตบ่อพัก ทำเอง ใช้เอง หจก. มภัสกาญ คอนสตรัคชั่น
สรุปประเด็นสำคัญเรื่องเล่า
บทที่ 3 การบริหารพนักงานขาย
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
การฝึกอบรมและพัฒนาพนักงานขาย
วิชา หลักการตลาด บทที่ 3
บทที่ 1 ความรู้เบื่องต้นเกี่ยวกับระบบคุณภาพ
การติดตามประเมินผล และรายงาน.
. แผ น กลุ่ม 1 กลุ่ม 2 กลุ่ม 3 กลุ่ม 4 กลุ่ม 5 รวม 1. สหกรณ์/กลุ่ม เกษตรกรได้รับ การส่งเสริม สนับสนุนการ ดำเนินงาน สหกรณ์ กลุ่มเกษตรกร
ผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ กรมอนามัย ปีงบประมาณ พ
กระบวนการถ่ายทอดความรู้
พยาบาลวิชาชีพชำนาญการพิเศษ
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
นางวราพันธ์ ลังกาวงศ์ ผู้อำนวยการกลุ่มนโยบายและแผน.
วิสัยทัศน์การจัดการความรู้ กรมชลประทาน กรมชลประทานมุ่งจัดการ ความรู้ สู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
การพัฒนาโปรแกรมระบบ รายงาน หน่วยงานเวชสารสนเทศ หน่วยงานเวชสารสนเทศ กลุ่มพัฒนาระบบบริการ สุขภาพโรงพยาบาลสุโขทัย.
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบ คุณภาพ ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบ คุณภาพ.
ข้อที่เกณฑ์การประเมินการดำเนินงาน ข้อ 1 พัฒนาแผนกลยุทธ์จากผลการวิเคราะห์ SWOT โดยเชื่อมโยงกับวิสัยทัศน์ของคณะและ สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของคณะ สถาบัน.
Cop ที่ 3 การบริการวิชาการ : การ บริการวิชาการแบบมีส่วนร่วมเพื่อสร้าง ชุมชนเข้มแข็ง การบริการวิชาการแบบมีส่วนร่วมเพื่อสร้าง ชุมชนเข้มแข็ง คือ กิจกรรมหรือโครงการให้บริการ.
บทที่ 3 นักวิเคราะห์ระบบและการ วิเคราะห์ระบบ. 1. นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis) 1.1 ความหมายของนักวิเคราะห์ระบบ นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis:
โดย... นายวินิจ รักชาติ อดีตผู้อำนวยการ สำนักงาน ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม จังหวัด กาญจนบุรี
การประเมินผลโครงการ คป สอ. เกาะช้าง ปี การดำเนินงาน 1. แต่งตั้งคณะกรรมการ ประธาน คปสอ. เกาะช้าง ประธาน คณะกรรมการ ผอ. รพ. เกาะช้างรองประธาน เลขานุการผู้รับผิดชอบงาน.
ประเภทของ CRM. OPERATIONAL CRM เป็น CRM ที่ให้การสนับสนุนแก่กระบวนการธุรกิจ ที่เป็น “FRONT OFFICE” ต่างๆ อาทิ การขาย การตลาด และการ ให้บริการ SALES FORCE.
ชุมชนปลอดภัย.
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
การเพิ่มประสิทธิภาพ ระบบบริหารจัดการความเสี่ยง
ระบบ ISO 9001:2015 สำหรับธุรกิจบริหารจัดการเรือ
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
Presentation การจัดการข้อร้องเรียนในธุรกิจบริการ Customer Complaint Management for Service.
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
วิธีการกรอกแบบเสนอโครงการในไฟล์ Power point นี้
ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ
การรายงานความคืบหน้าหรือสถานะ
ณ ห้องประชุม พธ.ทร.(๒) วันที่ ๑๗ สิงหาคม ๒๕๕๘ เวลา ๐๙๓๐
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
แผนการขายลูกค้า SMEs พื้นที่ บน.3.1 ขบน ก.พ
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน ปี 2561
1.
การบริหารโครงการซอฟต์แวร์
KMA หมวด 6 การจัดการกระบวนการ.
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้จ่ายงบประมาณและการดำเนินงานของสถาบันอุดมศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ มีนาคม 2560.
ปี 2560 ปฏิทินการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส
การประเมินศักยภาพชุมชน ด้วย... ค่ากลางที่คาดหวัง
Continuous Quality Improvement
บทบาทหน้าของฝ่าย HR ในงานพัฒนาบุคคลและฝึกอบรม
บทที่ 4 หลักทฤษฎีและปฏิบัติการธุรกิจ ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ
กฎกระทรวง ความปลอดภัยทางรังสี พ.ศ.2561
ประวัติวิทยากร ปริญญาเอก ศึกษาศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต ดร.วัชรศักดิ์ สงค์ปาน
มุ่งเน้น การประเมินระดับการดำเนินงาน “หน่วยงานคุณธรรม”
เราคือ ‘One PPG’ We protect and beautify the world วัตถุประสงค์ของเรา
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชี และข้อผิดพลาด
การวางแผนกำลังการผลิต
Supply Chain Management
ชัยพฤกษ์รัตนาธิเบศร์ - วงแหวน
การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 15
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา Self – Assessment Report
8/26/2019 ชื่อบริษัท แผนธุรกิจ.
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
โดย หัวหน้างานบริหารทั่วไป
บทบาทหน้าของฝ่าย HR ในงานพัฒนาบุคคลและฝึกอบรม
การจัดการภาครัฐ และภาคเอกชน Public and private management
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 2 การจัดการคุณภาพโดยรวม บทที่ 2 การจัดการคุณภาพโดยรวม

ความหมายของการจัดการคุณภาพโดยรวม คือการปรับปรุงคุณภาพอย่างต่อเนื่อง เน้นคุณภาพทั่วทั้งองค์กร รวมถึงลูกค้าและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในองค์กร การมีส่วนร่วมและการทำงานเป็นทีมการเรียนรู้ภายในองค์กร

องค์ประกอบของการจัดการคุณภาพโดยรวม เป็นโปรแกรมของจำนวนกิจกรรมที่มีการทำงานร่วมกันอย่างสมบูรณ์ โดยมีองค์ประกอบ ดังนี้

โมเดลของการจัดการคุณภาพโดยรวม โมเดล ‘4ps’ เป็นองค์ประกอบของโมเดลการจัดการคุณภาพโดยรวม (TQM) ซึ่งจำเป็นในการบริหารงานในการนำองค์กรไปสู่ความสำเร็จในศตวรรษที่21 โดยโมเดลเหล่านี้เป็นโครงร้างของการศึกษาการจัดการคุณภาพโดยรวม โดยโมเดลใหม่ของการจัดการคุณภาพโดยรวมจะมีความสมบูรณ์ก็ต่อเมื่อผลผลิตออกตามเป้าหมาย

โมเดลใหม่ของการจัดการคุณภาพโดยรวมอยู่บนพื้นฐานของผลการปฏิบัติงานที่ยอดเยี่ยม กรอบแนวคิดของประสิทธิภาพได้ครอบคลุมไปถึงมุมมองขององค์กรและการดำเนินการ และการวางแผนที่เกี่ยวข้องกับพนักงาน เพื่อปรับปรุงกระบวนการซึ่งโมเดลของการจัดการคุณภาพโดยรวม ประกออบด้วย 1.การวางแผน(planning) 2.ประสิทธิภาพ(performance) 3.กระบวนการ(processes) 4.พนักงาน(people)

กลยุทธ์ 10 ประการที่ผู้บริหารสูงสุดขององค์กร (Chief Executive Officer: CEO) ควรจะนำมาใช้ในการคุณภาพโดยรวม ได้แก่ 1.การบริหารงานเชิงรุก ผู้นำควรจะบริหารงานเชิงรุกเชิงควรจะรู้ลาวงหน้าว่าจะมีปัญหาอะไรเกิดขึ้นในอนาคต และจะป้องกันปัญหาที่เกิดขึ้นล่วงหน้าอย่างไร 2.การบริหารความเสี่ยงและการบริหารการเปลี่ยนแปลง ผู้นำควรที่จะสนับสนุนให้องค์กรมีการบริหารเปลี่ยนแปลงทางด้านนวัตกรรม CEO ควรจูงใจเพื่อนร่วมงานของเขาให้ริเริ่มการเปลี่ยนแปลงที่ก่อให้เกิดผลดีกับบริษัท

3.ทำในสิ่งที่ถูกต้องและทำตั้งแต่ครั้งแรก การดำเนินกิจกรรมทุกๆ สิ่งในองค์กรไม่ได้หมายถึงเพียงแค่การผลิตสินค้าหรือบริการขั้นสุดท้ายเท่านั้น แต่หมายถึงสิ่งที่พนักงานในองค์กรปฏิบัติอยู่ทุกๆวันซึ่งทำอย่างถูกต้องและทำทุกๆเวลา การทำในสิ่งที่ถูกต้องประกอบด้วย 3.1การทำในสิ่งที่ถูกต้องและตลอดเวลา 3.2ตั้งเป้าหมายที่ถูกต้อง การกำหนดเป้าของพนักงาน ทีม รวมถึงแผนกต่างๆ 3.3เลือกพนักงานที่ถูกต้อง โดยการเลือกพนักงานที่ถูกต้องตั้งแต่แรกทุกๆครั้ง 3.4สร้างกระบวนการทำงานที่ถูก บริษัทควรลงทุนในเรื่องของเวลา เงิน และทีมงานที่ถูกต้องเพื่อกำหนด สร้าง และการใช้กระบวนการที่ถูกต้อง 3.5เลือกวัตถุดิบที่มีความอดทนเพื่อที่จะไม่ต้องมาตรวจคุณภาพ 3.6เลือกเครื่องจักรที่ถูกต้องและควรมีการจัดหาอุปกรณ์ ส่วนประกอบ และอะไหล่ไว้ล่วงหน้า

4. การป้องกันอย่างต่อเนื่องมีอยู่ 2 แนวทางในการจัดการแก้ปัญหา หนึ่งคือการรักษา และสองคือการป้องกัน 5.เอาใจใส่ตั้งแต่เรื่องเล็กๆและขยายขึ้นเรื่อยๆ เป็นกระบวนการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง 6.มั่นใจในสภาวะการเงินขององค์กร ในขณะที่บริษัทได้เริ่มดำเนินกิจกรรม TQM อยู่นั้น CEO ไม่ควรที่จะลืมคำนึงถึงสภาวะการเงินของด้วยองค์กรด้วย 7.บริหารโดยการตรวจเยี่ยม ( walk around management ) ถือเป็นเครื่องมือที่มีประสิทธิภาพในการบริหารและความเป็นผู้นำสำหรับการเติบโตขององค์กร

8.มีตัวชี้วัดความสำเร็จ ตัววัดความสำเร็จขั้นพื้นฐาน ก็คือ การเสาะหา การวิเคราะห์ข้อมูลเสียงตอบรับจากลูกค้าทั้งภายในและภายนอกองค์กร 9.ไม่หยุดนิ่งและปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง องค์กรควรมีการเปลี่ยนแปลงทุกๆ 2 ปี 10.สร้างองค์กรเสมือนจริง โดยกำหนดส่วนที่สำคัญที่สุด ชิ้นานที่ดีที่สุด

เครื่องมือและเทคนิคของการจัดการคุณภาพโดยรวม การจัดการคุณภาพโดยรวม (TQM) นั้นเกี่ยวข้องกับเครื่องมือที่ถูกต้องภายในองค์กรในการปรับปรุงคุณภาพอย่างต่อเนื่อง

ผู้บริหารระดับสูงควรจะเลือกอุปกรณ์และเทคนิคที่ใช่ เพื่อแนะนำพนักงานในระยะของการกำหนดรูปแบบการดำเนินการจัดการคุณภาพโดยรวม

การนำPDSA ไปใช้ในการจัดการด้านคุณภาพโดยรวม shewhart ได้พัฒนาวงจรคุณภาพ Plan-Do-Check-Act (PDCA) ในการปรับปรุงกระบวนการเด็มมิงได้นำไปพัฒนาเป็นวงจร PDSA ซึ่งมีด้วยกัน 4 ระยะ คือ Plan,Do,Study,Act

ระยะวางแผน (Planning) เป็นการเตรียมในช่วงระยะการเสนอการนำ TQM ไปใช้ซึ่งมีการกำหนดเป็นลายลักษณ์อักษรหลังจากได้วิเคราะห์รายละเอียดแล้ว ระยะปฏิบัติ (Do)เป็นระยะที่เกี่ยวข้องกับการนำแผนไปปฏิบัติเป็นพื้นฐานนำร่องก่อน

ระยะศึกษา(Study) ผลจากการนำไปปฏิบัติเป็นพื้นฐานนำร่องได้ถูกวัดและวิเคราะห์เพื่อให้เห็นถึงการปรับปรุงอย่างแท้จริงในระยะรกอาจจะมีความเข้าใจในแผนการทำงาน ซึ่งอาจนำไปสู่การยืนยันกระบวนการใหม่ๆในขั้น "การแก้ไข(ACT)" หรือปรับปรุงแผนและทบทวนวงจรอีกครั้งหนึ่งวงจร PDSA จะกระทำซ้ำในวงจรอย่างต่อเนื่องเพื่อปรับปรุงและนำมาสู่การปฏิบัติ 1. แผน (Plan) ประกอบด้วย การกำหนดวัตถุประสงค์ การกำหนดแผนเพื่อความสะดวกในการบรรลุเป้าหมาย 2. ปฏิบัติ (Do) แผนสำหรับกานนำไปใช้และวัดประสิทธิภาพ 3. ศึกษา (Study) คือ การเปรียบเทียบผลลัพธ์กับวัตถุประสงค์ การกำหนดช่องว่างในการวิเคราะห์สาเหตุของช่องว่างและการคาดหวังผลลัพธ์ 4. การแก้ไข (ACT) มาตรฐานในขั้นตอนการปฏิบัติงานที่จะทำให้บรรลุเป้าหมาย หากมีช่องว่างเกิดขึ้นควรมีการนำ PDSA ไปใช้อีกครั้ง

การเลือกกระบวนการเพื่อการปรับปรุง ในขันแรกของ TQM นั้นต้องสร้างเอกสารระบบตุณภาพในองค์กร โดยระบบได้กำหนดวัตถุประสงค์ในการประชุมมาตรฐาน ISO 9000 การเริ่มนำระบบเอกสารไปใช้งานเพื่อง่ายต่อการจัดทำรายงานความก้าวหน้า ปรับปรุงสามารถนำไปใช้ภายหลังจากที่ได้จัดตั้งระบบแล้ว การปรับปรุงแก้ไขมีวัตถุประสงค์ที่จะบรรลุเป้าหมายดังนี้ 1.บรรลุความเป็นเลิศด้านเทคนิค 2.การปรับปรุงคุณภาพ 3.การเพิ่มผลิตภาพ 4.การลดต้นทุนคุณภาพ 5.การปรับช่วงเวลาในการให้บริการของอุปกรณ์ 6.การลดต้นทุนค่าแรง 7.การลดเวลาการส่งมอบ เป้าหมายฝนการปรับปรุงอาจกำหนดได้จากแหล่งทรัพยากรจำนวนมากซึ่งแหล่งทรัพยากรดังกล่าวอาจจะมาจากการตรวจสอบคุณภาพภายใน ข้อเสนอแนะของพนักงาน ลูกค้า ซัพลายเออร์ และข้อมูลด้านอื่นๆ

วงจร PDSA เพื่อการปรับปรุงคุณภาพอย่างต่อเนื่อง วงจร PDSA วงนอกคือ การจัดการคุณภาพ โดยรวม (TQM) ทั่วทั้งองค์กร ส่วน PDCA ที่อยู่ในขั้น การปฏิบัติ (DO) จะเป็นการปรับปรุงในแต่ละโครงการ เมื่อมีโครงการที่จะทำการปรับปรุงเกิดขึ้น ก็จะต้องมีการปรับปรุงคุณภาพมากขึ้นและกำหนดเป้าหมายให้ชัดเจน จากนั้นทีมปรับปรุงจะทำการศึกษาและกำหนดออกมาเป็นกลยุทธ์และแผนปฏิบัติการโดยฝ่ายQC ควรจะเป็นส่วนหนึ่งในการวิเคราะห์ปัญหาของทีมปรังปรุงด้วย ทีมงาน TQM ประกอบด้วย QC ผู้ประสานงาน TQM และ พนักงานฝ่ายสนับสนุน

แผน (Plan) ทีมปรับปรุงได้วางแผนเพื่อติดตารมประเด็นต่างๆดังนี้ 1.อะไรคือสถานการณ์ในปัจจุบัน/ระดับประสิทธิภาพเป็นอย่างไร 2.อะไรคือสิ่งที่คาดหวัง/ระดับประสิทธิภาพเป็นอย่างไร 3.ทีมจะเสนอหนทางไปสู่การแก้ปัญหาที่มีประสิทธิภาพได้อย่างไร การศึกษา (Study) จะมีการปรับปรุงการแก้ไขในขั้นตอนนี้ก็ต่อเมื่อขั้นตอนการปฏิบัติ นั้นมีความสมบูรณ์ หลังจากนั้นจะมีการศึกษาเกิดขึ้น โดยขั้นนี้ทีมปรับปรุงจะประเมินประสิทธิภาพของข้อเสนอแนะในการแก้ไขปัญหา กระบวนการปรับปรุงจะต้องมรการติดตามอย่างต่อเนื่องในระหว่างขึ้นนี้จะมีการเก็บข้อมูลเป็นช่วง โดยทีมปรับปรุงจะวิเคราะห์ถ้าพอใจจะแจ้งไปยังฝ่าย QC ทราบทันที การแก้ไข (Act) หากฝ่าย QC มั่นใจในการปรับปรุงจะเข้าสู่กระบวนการแก้ไขทันที ในขั้นตอนการปฏิบัติงานนั้นได้มีการแก้ไขและดำเนินการปรับปรุงมาแล้ว ดังนั้นจึงมีการกำหนดกระบวนการใหม่ ๆ เพื่อนำไปใช้อย่างต่อเนื่องบนเพื้นฐานของขั้นแก้ไข

อุปสรรคในการนำ TQM มาใช้ อุปสรรคโดยทั่วไปมีดังนี้ 1.ขาดความมุ่งมั่นและข้อผูกพันของผู้บริหารระดับสูง 2.ขาดการมีส่วนร่วมของพนักงาน 3.ไม่มีความร่วมมือกันในหมู่ผู้บริหารระดับต้น และผู้จัดการระดับกลาง 4.วิสัยทัศน์ขาดความชัดเจน 5.สูญเสียการติดตามผลการดำเนินงาน 6.ไม่มีส่วนร่วมของลูกค้าและซัพพลายเออร์ 7.เชื่อว่าการฝึกอบรมจะนำไปสู่การแตกแยกของพนักงาน 8.การขัดขวางการเปลี่ยนแปลงทุกระดับ 9.ความไม่มีประสิทธิภาพของผู้ในบริการด้าน TQM 10.เลือกที่ปรึกษาผิด

11.ขาดความคงเส้นคงว่าในการบริหารจัดการ 12.ความเร่งรีบและเสียในกระบวนการผลิต 13.การมองไปที่กำไรระยะสั้น 14.ไม่มีการลงทุนเรื่องทรัพยากรอย่างเพียงพอ 15.องค์กรเฉพาะกิจ 16.ผลิตภัณฑ์หมดอายุเร็ว 17.การสูญเสียความมั่นใจในช่วงระยะกลางของ TQM 18.ใช้แรงงานมากกว่าการใช้สมองในการทำงาน 19.การแข่งขันที่รุนแรงซึ่งนำไปสู่สงครามราคา 20.ไม่สามารถค้นหาผู้ชนะเลิศภายในองค์กรได้ 21.มีพนักงานที่ให้บริการไม่ถูกต้อง เนื่องจากมีพนักงานมากหรือน้อยเกินไป

สรุป การจัดการคุณภาพคือ การปรับปรุงคุณภาพอย่างต่อเนื่อง เน้นคุณภาพทั่วทั้งองค์กร รวมถึงลูกค้าและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในองค์กร การมีส่วนร่วมและการทำงานเป็นทีม การเรียนรู้ภายในองค์กร ส่วนโมเดล 4Ps เป็นองค์ประกอบหลักของโมเดลการจัดการคุณภาพรวม ซึ่งเป็นสิ่งจำเป็นในการบริหารงานในการนำองค์กรไปสู่ความสำเร็จในศตวรรษที่ 21 ประกอบด้วย การวางแผน ประสิทธิภาพ กระบวนการ และพนักงาน นอกจากนี้ เราจะต้องไม่ประเมินค่าความสำคัญของ 3Cs ได้แก่วัฒนธรรมการติดต่อสื่อสาร และความมุ่งมั่นต่ำจนเกินไป องค์กรควรจะใช่ส่วนผสมและเครื่องมือที่แตกต่างกันไปโดยใช่เครื่องมือและเทคนิคในการนำการจัดการคุณภาพโดยรวมมาใช้ประกอบด้วยวงจร PDSA ซึ่งเหมาะสำหรับโคตรการปรับปรุงกระบวนการ โดยการปรับปรุงแต่ละกระบวนการควรจะต้องสร้างองค์กรเช่นเดียวกับสร้างโครงการ PDSA เกี่ยวข้องในส่วนต่างๆ ได้แก่ ระยะวางแผน ปฏิบัติ ศึกษา แก้ไข เพื่อที่่จะบรรลุเป้าหมายดังนี้ 1 บรรลุความเป็นเลิศทางด้านเทคนิค 2 การปรับปรุงคุณภาพ 3 การเพิ่มผลิตภาพ 4 การลดต้นทุนคุณภาพ 5 การปรับช่วงเวลาในการให้บริการของอุปกรณ์ 6 การลดต้นทุนค่าแรง 7 การลดเวลาส่งมอบ