รายงานการประเมินตนเอง SAR (Self-assessment Report)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การติดตามและ ประเมินผลโครงการ
Advertisements

การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
การจัดทำแผนปฏิทินการจัดการความรู้ และแผนในการติดตามประเมินผลการจัดการความรู้ E:\ประกันคุณภาพ\ppt\ดูงาน\12-PPT_เสนอ_ครุศาสตร์_จุฬา_19_11_50.ppt.
การเขียนโครงร่างวิจัย
1 กรอบการประเมินผลตัวชี้วัด กรอบการประเมินผลตัวชี้วัดการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐสำหรับส่วนราชการระดับกรม ปีงบประมาณ พ.ศ
มาตรฐานคุณภาพการสอน ของ คณะกรรมการแห่งชาติ ว่าด้วยมาตรฐานวิชาชีพครู (The National Board for Professional Teaching Standards) วิกฤติอาชีพครู พัฒนาวิชาชีพครู
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
เครื่องชี้วัดคุณภาพ วัตถุประสงค์: เพื่อให้ผู้เรียน
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
ระบบประเมินผลผู้บริหาร
วิธีการและเทคนิค การตรวจสอบ และการรายงาน ผลการตรวจสอบ ( Auditing )
บทที่ 4 ลงมือพัฒนา โครงงานคอมพิวเตอร์
กระบวนการถ่ายทอดความรู้
พยาบาลวิชาชีพชำนาญการพิเศษ
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
KPI 8 : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาบุคลากร น้ำหนัก :ร้อยละ 5 KPI ๑๐ : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาปรับปรุง วัฒนธรรมองค์การ น้ำหนัก : ร้อยละ 3 กองการเจ้าหน้าที่
นางวราพันธ์ ลังกาวงศ์ ผู้อำนวยการกลุ่มนโยบายและแผน.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการใช้โปรแกรมนำเสนอข้อมูล เรื่องการเชื่อมโยง ภาพนิ่ง ด้วยโปรแกรม Powerpoint2007 โดยใช้ สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI ของนักเรียนระดับชั้น.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
หลักสูตรการอบรมวิทยากรตัวคูณ ระดับจังหวัด ครั้งที่ 1 ภาคกลางตอนบน ( วันที่สอง ) ณ โรงแรมริชมอนด์ จังหวัดนนทบุรี ระหว่างวันที่ 9 – 11 มีนาคม 2558.
ภาพรวมและความเชื่อมโยงการดำเนินการ ตามตัวชี้วัด ระดับความสำเร็จของการพัฒนา คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ ส่วนราชการระดับกรม.
ตัวชี้วัดที่ 3.2 ร้อยละ ความสำเร็จของ การดำเนินโครงการ ให้บริการที่ดีที่สุด (Best Service) น้ำหนั ก : LineStaff Line & Staff 777.
ข้อที่เกณฑ์การประเมินการดำเนินงาน ข้อ 1 พัฒนาแผนกลยุทธ์จากผลการวิเคราะห์ SWOT โดยเชื่อมโยงกับวิสัยทัศน์ของคณะและ สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของคณะ สถาบัน.
เพื่อยกระดับคุณภาพการบริหารจัดการ ให้เทียบเท่ามาตรฐานสากล เครื่องมือตรวจสุขภาพและปรับปรุง องค์การ กรอบการประเมินองค์การด้วยตนเอง ตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ.
ปรานอม ประทีปทวี 25/09/591 หน้าที่ของครูผู้นิเทศ สพม.5.
องค์ความรู้ที่จำเป็นในการปฏิบัติราชการ แบบฟอร์มที่ 1 การจำแนกองค์ความรู้ที่จำเป็นต่อการผลักดันตามประเด็นยุทธศาสตร์ ของส่วนราชการ ชื่อส่วนราชการ : กรมทรัพยากรน้ำบาดาล.
การประเมินผลโครงการ คป สอ. เกาะช้าง ปี การดำเนินงาน 1. แต่งตั้งคณะกรรมการ ประธาน คปสอ. เกาะช้าง ประธาน คณะกรรมการ ผอ. รพ. เกาะช้างรองประธาน เลขานุการผู้รับผิดชอบงาน.
ง21101 การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม. 1 เจตคติต่อการประกอบอาชีพ
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
ประเด็นที่เปลี่ยนแปลงจากปี 2560
การสร้างแผนปฏิบัติการระดับตำบลหรือท้องถิ่น
ประเด็นที่เปลี่ยนแปลง
การเพิ่มประสิทธิภาพ ระบบบริหารจัดการความเสี่ยง
ระบบ ISO 9001:2015 สำหรับธุรกิจบริหารจัดการเรือ
ภาพรวมของ CLT/PCT สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน) พฤษภาคม 2561.
ภาพรวมของ CLT/PCT (CLT/PCT Profile)
ทบทวนมาตรฐานHA ตอนที่ III กระบวนการการดูแลผู้ป่วย
3P กับการพัฒนาคุณภาพ สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน)
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
การประเมินมาตรฐาน งานระบาดวิทยา ปี 2549
แพทย์หญิงวันทนีย์ วัฒนะ ผู้อำนวยการสำนักอนามัย
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
วิธีการกรอกแบบเสนอโครงการในไฟล์ Power point นี้
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
การประเมินผลสัมฤทธิ์ของโครงการ
ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ
หลักเทคนิคการเขียน SAR
Project Project (โครงงาน) ปริญญานิพนธ์ กิจกรรมซึ่งดำเนินงานตามลำดับ
ความหมายของการประกันคุณภาพการพยาบาล
Workshop Introduction
การบริหารโครงการซอฟต์แวร์
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
ข้อสังเกตโดยรวมของผลงานที่ได้คะแนน ระดับดีมาก - ดี
กำหนดการ Work shop -ชี้แจงวัตถุประสงค์ ร่วมเรียนรู้ ร่วมลด CAP ลดซ้ำซ้อน และเสริมพลัง -รับฟังการนำเสนอผลการประเมินตนเองและทำแผนปรับปรุงตนเองและสรุปปัญหาที่ต้อง.
การขอโครงการวิจัย.
โดย นางสาวนิรมล บุรกรณ์
ภาพรวมของ CLT/PCT (CLT/PCT Profile)
Continuous Quality Improvement
แผนงาน การพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ
สัมมนาเชิงปฏิบัติการหลักสูตรการฝึกยกระดับฝีมือแรงงาน
มุ่งเน้น การประเมินระดับการดำเนินงาน “หน่วยงานคุณธรรม”
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
การวิจัยทางการท่องเที่ยว
CLT Profile ภาควิชา/ทีมนำทางคลินิก
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา Self – Assessment Report
การสร้างแบบทดสอบ อาจารย์ ปรีชา เครือวรรณ อาจารย์ สมพงษ์ พันธุรัตน์
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ภาพรวมของ CLT/PCT (CLT/PCT Profile)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

รายงานการประเมินตนเอง SAR (Self-assessment Report) สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน)

เป้าหมายของการประเมินตนเอง เป็นฐานข้อมูลสำหรับการต่อยอดและขยายผล เพื่อหาโอกาสพัฒนา เพื่อติดตามความก้าวหน้า/ระดับการพัฒนา เพื่อการเรียนรู้ ทบทวน ใคร่ครวญการทำงานและการพัฒนาที่ผ่านมา ภายในทีมงานและกับผู้บริหาร เป็นฐานข้อมูลสำหรับการต่อยอดและขยายผล เพื่อประกอบการประเมินจากภายนอก สื่อสารและสร้างการเรียนรู้กับผู้เยี่ยมสำรวจ เป็นฐานข้อมูลสำหรับการต่อยอดและขยายผล ติดตามความก้าวหน้า หาโอกาสพัฒนา สื่อสารกับผู้เยี่ยมสำรวจ เรียนรู้ ทบทวน ใคร่ครวญ พัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง

เป้าหมายของการเขียน SAR เพื่อสร้างการเรียนรู้ในองค์กร ทีมงานสรุปบทเรียน ความสำเร็จ ความล้มเหลวในการทำงาน ทีมงานตรวจสอบความสมบูรณ์ของการพัฒนา สร้างการเรียนรู้กับหน่วยงานอื่นและกับผู้บริหาร เพื่อเป็นฐานข้อมูลสำหรับการต่อยอดและขยายผล เพื่อสื่อสารกับผู้เยี่ยมสำรวจของ สรพ.

ผู้นำกับการพัฒนาคุณภาพแบบฉบับ HA รายงานการประเมินตนเอง ตอนที่ I-III รายงานการประเมินตนเองสำหรับมาตรฐานแต่ละหมวดประกอบด้วย 5 ส่วน คือ i) ผลลัพธ์ของบทนั้น ii) บริบท iii) กระบวนการ iv) ผลการพัฒนาที่โดดเด่นและภาคภูมิใจ v) แผนการพัฒนา

ผู้นำกับการพัฒนาคุณภาพแบบฉบับ HA รายงานการประเมินตนเอง ตอนที่ I-III i) ผลลัพธ์ของบทนั้น รพ.มีสิทธิที่จะกำหนดตัวชี้วัดที่เกี่ยวข้องในมาตรฐานแต่ละบทได้เอง ควรนำเสนอข้อมูลครอบคลุมช่วงเวลาทั้งหมดที่เคยเก็บข้อมูลไว้ รูปแบบการนำเสนอ ควรนำเสนอข้อมูลสรุปในรูปแบบตารางในส่วนต้นของแต่ละมาตรฐาน เลือกข้อมูลบางตัวมานำเสนอเป็น run chart หรือ control chart พร้อม annotation สรุปเหตุการณ์หรือ intervention ในกราฟให้มากที่สุด โดยไม่ต้องอธิบายซ้ำใน text ยกเว้นเป็นการวิเคราะห์ข้อมูลเพิ่มเติม การนำเสนอตัวชี้วัดควบกับกระบวนการ จะทำให้เห็นประสิทธิผลของกระบวนการชัดเจนขึ้น และช่วยในการอธิบายว่ามีการพัฒนาที่สำคัญอะไรในช่วงเวลาใด ตัวชี้วัดที่นำเสนอควบกับกระบวนการ จะถูกนำเสนอในส่วนผลลัพธ์ (ตอนที่ IV) ด้วย โดยอาจจะมีการจัดหมวดหมู่ในส่วนของการดูแลผู้ป่วยให้มีความหมายมากขึ้น

ผู้นำกับการพัฒนาคุณภาพแบบฉบับ HA รายงานการประเมินตนเอง ตอนที่ I-III ii) บริบท เป็นการระบุข้อมูลสำคัญที่มีผลต่อการออกแบบ การปฏิบัติ และการ ประเมินผลความสำเร็จ ซึ่งทีมสามารถระบุข้อมูลสำคัญเพิ่มเติมจากหัวข้อที่ให้ แนวทางไว้ได้ ระบุข้อมูลสำคัญเกี่ยวกับมาตรฐานหมวดนั้น ซึ่งจะทำให้เข้าใจว่าความต้องการสุขภาพหรือปัญหาสำคัญของ รพ.คืออะไร ทำไมจึงใช้วิธีการที่ใช้อยู่ในการตอบสนองต่อความต้องการต่างๆ ในมาตรฐานบางหมวดอาจจะมีหัวข้อชี้แนะให้ว่าควรนำเสนอข้อมูลอะไรบ้าง รพ.สามารถระบุข้อมูลเพิ่มเติมหรือที่แตกต่างไปจากที่แนะนำไว้ก็ได้ บริบท อาจจะเป็น ความต้องการสุขภาพของชุมชน กลุ่มผู้ป่วยสำคัญ ปัญหาหรือความต้องการสำคัญที่เกี่ยวข้องกับมาตรฐานเรื่องนั้น ทิศทางนโยบายหรือจุดเน้นขององค์กร ฯลฯ

ผู้นำกับการพัฒนาคุณภาพแบบฉบับ HA รายงานการประเมินตนเอง ตอนที่ I-III iii) กระบวนการ เขียนสรุปประเด็นสำคัญอย่างย่อๆ โดยยึดหลักการเขียนตามแนวคิด 3P ดังตัวอย่างต่อไปนี้ เลือกประเด็นสำคัญมาตอบ ตอบโดยใช้หลัก 3P Purpose ระบุเป้าหมาย ของมาตรฐานหรือของการพัฒนา Process แสดงให้เห็นว่ากระบวนการทำงานได้รับการออกแบบอย่างเหมาะสม (good design) หรือมีการเปลี่ยนแปลงหรือปรับปรุงระบบงานที่เกิดขึ้น หรือมี good practice ที่ใช้ต่อเนื่อง Performance นำเสนอผลลัพธ์ (เชิงปริมาณหรือเชิงคุณภาพ) ที่สามารถธำรงไว้ได้ หรือที่เป็นผลของการปรับปรุง เขียนอย่างกระชับในลักษณะ bullet ไม่เกิน 3-4 บรรทัด

ผู้นำกับการพัฒนาคุณภาพแบบฉบับ HA รายงานการประเมินตนเอง ตอนที่ I-III (iii) กระบวนการ/การปฏิบัติตามมาตรฐาน ตัวอย่างการเขียนสรุป (Good practice) เพื่อบรรลุเป้าหมาย.... รพ.ได้ปฏิบัติตามระบบงานที่มีมาตรการต่อไปนี้ (1)… (2)…. (3)… ทำให้รักษาผลลัพธ์อยู่ที่...... (Improvement) เพื่อปรับปรุงกระบวนการ.... โดยมีเป้าหมาย..... ทีมงานได้ดำเนินการปรับปรุง (1)… (2)…. (3)… ทำให้เกิดผลลัพธ์หรือการเปลี่ยนแปลงคือ...... (Effort) เพื่อแก้ปัญหา..... ทีมงานได้ใช้แนวคิด...... โดยดำเนินการต่อไปนี้..... (ระบุความถี่ ความครอบคลุม เนื้อหาด้วยถ้าเป็นไปได้) ทำให้เกิดบทเรียน....... (Plan) เพื่อตอบสนองต่อโอกาสพัฒนาเรื่อง..... รพ.ได้วางแผนไว้ดังนี้....... * สถานพยาบาลไม่จำเป็นต้องเขียนครบ bullet ทั้ง 4 อันข้างบน แต่ให้เขียนให้สอดคล้องกับเหตุการณ์จริงที่เกิดขึ้นในช่วงที่ผ่านมา

ผู้นำกับการพัฒนาคุณภาพแบบฉบับ HA รายงานการประเมินตนเอง ตอนที่ I-III iv) ผลการพัฒนาที่โดดเด่นและภาคภูมิใจ ให้เลือกสิ่งที่เป็น good practice ในส่วนที่ (iii) มาระบุอีกครั้งหนึ่งเฉพาะชื่อของ good practice ไม่ต้องเขียนรายละเอียดซ้ำ ควรเป็น practice ที่สามารถเป็นบทเรียนให้ผู้อื่นได้เรียนรู้ หรือเป็นการใช้วิธีคิดใหม่ๆ ที่ทีมงานจะนำไปใช้ประโยชน์กับเรื่องอื่นได้ หัวข้อนี้จะมีจำนวนเท่าไรก็ได้ หรือไม่มีก็ได้

ผู้นำกับการพัฒนาคุณภาพแบบฉบับ HA รายงานการประเมินตนเอง ตอนที่ I-III v) คะแนนและแผนการพัฒนา Score ให้คะแนน 0.5-5 ตาม scoring guideline (มีเศษ 0.5 ได้) Gap ระบุว่า gap ซึ่งจะเป็นตัวเชื่อมระหว่าง score กับแผนการพัฒนา D = gap ในการออกแบบ (design gap) สอดคล้องกับคะแนน 1 A = gap ในการนำไปปฏิบัติ (action gap) สอดคล้องกับคะแนน 2 L = gap ในการประเมินและเรียนรู้ (learning gap) สอดคล้องกับคะแนน 3 I = gap ในการปรับปรุง (improvement gap) สอดคล้องกับคะแนน 3 Plan ระบุแผนพัฒนาในช่วง 1-2 ปีข้างหน้า ที่สอดคล้องกับ gap

ผู้นำกับการพัฒนาคุณภาพแบบฉบับ HA รายงานการประเมินตนเอง ตอนที่ I-III v) คะแนนและแผนการพัฒนา Plan ระบุแผนพัฒนาในช่วง 1-2 ปีข้างหน้า ที่สอดคล้องกับ gap การปฏิบัติตามมาตรฐาน Gap ที่พบจากการปฏิบัติตามมาตรฐานที่ไม่สมบูรณ์ Gap ที่พบจากการวิเคราะห์ DALI การยกระดับ maturity ของการปฏิบัติตามมาตรฐานที่ประเมินโดยอาศัย scoring guideline ผลการประเมินด้วยเครื่องมือและวิธีการอื่นๆ บริบทขององค์กร โจทย์ขององค์กร (ความท้าทาย ความเสี่ยง ปัญหา) กลยุทธ์/เป้าหมายที่องค์กรกำหนด

ผู้นำกับการพัฒนาคุณภาพแบบฉบับ HA ตัวอย่างรายงานการประเมินตนเอง II-1 ให้ระบุผลลัพธ์ของการดำเนินงานที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการ ในหมวดนั้นๆ โดยใช้ประเด็นสำคัญที่ระบุไว้เป็นแนวทางพิจารณา ซึ่งรพ.สามารถเพิ่มเติมได้ตามที่เห็นสมควร ตัววัดต่างๆ ควรระบุหน่วยของตัววัดให้ชัดเจน ถ้ามีการเปลี่ยนแปลงผลลัพธ์อย่างมีนัยยะสำคัญ ควรอธิบายไว้ในส่วน iii) กระบวนการด้วย

ผู้นำกับการพัฒนาคุณภาพแบบฉบับ HA ตัวอย่างรายงานการประเมินตนเอง II-1 (Good practice): เพื่อบรรลุเป้าหมาย...รพ.ได้ปฏิบัติตามระบบงาน ที่มีมาตรการต่อไปนี้ (1)… (2)… (3)… ทำให้เกิดผลลัพธ์...... (Improvement): เพื่อปรับปรุงกระบวนการ....โดยมีเป้าหมาย.....ทีมงานได้ดำเนินการปรับปรุง (1)… (2)…. (3)… ทำให้เกิดผลลัพธ์...... (Effort): เพื่อแก้ปัญหา....ทีมงานได้ใช้แนวคิด...โดยดำเนินการต่อไปนี้....ทำให้เกิดบทเรียน.... (Plan): เพื่อตอบสนองต่อโอกาสพัฒนาเรื่อง..... รพ.ได้วางแผนไว้ดังนี้.......

ผู้นำกับการพัฒนาคุณภาพแบบฉบับ HA ตัวอย่างรายงานการประเมินตนเอง II-1 Plan ระบุแผนพัฒนาในช่วง 1-2 ปีข้างหน้า ที่สอดคล้องกับ gap การปฏิบัติตามมาตรฐาน บริบทขององค์กร (Good practice): เพื่อบรรลุเป้าหมาย...รพ.ได้ปฏิบัติตามระบบงาน ที่มีมาตรการต่อไปนี้ (1)… (2)… (3)… ทำให้เกิดผลลัพธ์...... (Improvement): เพื่อปรับปรุงกระบวนการ....โดยมีเป้าหมาย.....ทีมงานได้ดำเนินการปรับปรุง (1)… (2)…. (3)… ทำให้เกิดผลลัพธ์...... (Effort): เพื่อแก้ปัญหา....ทีมงานได้ใช้แนวคิด...โดยดำเนินการต่อไปนี้....ทำให้เกิดบทเรียน.... (Plan): เพื่อตอบสนองต่อโอกาสพัฒนาเรื่อง..... รพ.ได้วางแผนไว้ดังนี้....... Score ให้คะแนน 0.5-5 ตาม scoring guideline (มีเศษ 0.5 ได้) Gap ระบุว่า gap ซึ่งจะเป็นตัวเชื่อมระหว่าง score กับแผนการพัฒนา D = gap ในการออกแบบ (design gap) สอดคล้องกับคะแนน 1 A = gap ในการนำไปปฏิบัติ (action gap) สอดคล้องกับคะแนน 2 L = gap ในการประเมินและเรียนรู้ (learning gap) สอดคล้องกับคะแนน 3 I = gap ในการปรับปรุง (improvement gap) สอดคล้องกับคะแนน 3

Scoring Guideline Score Process Result 1 เริ่มต้นปฏิบัติ Design & early implementation มีการวัดผล Measure 2 มีการปฏิบัติได้บางส่วน Partial implementation มีการวัดผลในตัววัดที่สำคัญ ตรงประเด็น อย่างครบถ้วน Valid measures 3 มีการปฏิบัติที่ครอบคลุมและได้ผล Effective implementation มีการใช้ประโยชน์จากตัววัด Get use of measures 4 มีการปรับปรุงกระบวนการต่อเนื่อง Continuous improvement มีผลลัพธ์ในเกณฑ์ดี (สูงกว่าค่าเฉลี่ย) Good results (better than average) 5 มีกระบวนการที่เป็นแบบอย่างที่ดี Role model, good practices มีผลลัพธ์ที่ดีมาก (25% สูงสุด) Very good results (top quartile)

รายงานการประเมินตนเอง ตอนที่ IV

รายงานการประเมินตนเอง ตอนที่ IV

ผู้นำกับการพัฒนาคุณภาพแบบฉบับ HA ทำแฟ้มสะสมผลงานเพื่อช่วยเขียน SAR ตั้งโครงแต่เริ่มต้น ทุกหัวข้อในมาตรฐานที่รับผิดชอบ Update ข้อมูลอย่างสม่ำเสมอ ทุกครั้งที่มีการสรุปผลงานแต่ละเรื่อง อย่างน้อยปีละครั้ง ถือโอกาสวิเคราะห์และเรียนรู้จากข้อมูลที่ใช้ติดตาม ครอบคลุม 3P ที่มาของปัญหาและเป้าหมาย การปรับปรุงกระบวนการที่เกิดขึ้น ผลลัพธ์ที่เปลี่ยนแปลงไป

กิจกรรมกลุ่ม ให้แต่ละกลุ่มทดลองเขียนรายงานการประเมินตนเองตามบท/มาตรฐานที่ได้รับมอบหมาย