กระบวนการคิด การปรับตัว และ การเตรียมความพร้อมจากการเปิดเสรีทางการค้า

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน AEC ASEAN ECONOMIC COMMUNITY
Advertisements

ระบบการส่งเสริมการเกษตรแปลงใหญ่ ปี 2558 ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้เกิดความร่วมมือในการผลิตโดยเกษตรกร และ / หรือองค์กรเกษตรกรในพื้นที่และกิจกรรม.
1 การวิเคราะห์ข้อมูล เขตพัฒนาเศรษฐกิจ พิเศษนครพนม.
การขับเคลื่อน ด้านการตลาดเกษตรอินทรีย์ไทย
ความก้าวหน้าการพัฒนากฎหมาย ที่อยู่ในความรับผิดชอบของกรมอนามัย
พ.ศ.๒๕๕๘ พ.ศ.๒๕๕๙ สิงหาคม กันยายน ตุลาคม พฤศจิกายน ธันวาคม มกราคม
การนำเสนอผลการจัดทำแผนและคำของบประมาณ
แนวทางการดำเนินงาน โครงการสนับสนุนค่าใช้จ่าย ในการจัดการศึกษา ตั้งแต่ระดับอนุบาล จนจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีงบประมาณ 2560.
เทคโนโลยีสารสนเทศในห่วงโซ่อุปทาน ญาลดา พรประเสริฐ คณะวิทยาการจัดการ
การค้าระบบใหม่ กับการเปลี่ยนแปลงของโลก
Market System Promotion & Development Devision
ASEAN Becomes Single Market
การเตรียมความพร้อมของSMEsไทยสู่...
พลังวัชร์ แพ่งธีระสุขมัย คณะวิศวกรรมศาสตร์
กรมบัญชีกลาง กองการพัสดุภาครัฐ
กำหนดการสัมมนา CIO วันที่ 26 ธค.49 ณ MICT ชั้น ICT3 ห้องประชุม 1
Value Chain and Supply Chain ห่วงโซ่คุณค่า และห่วงโซ่อุปทาน
การเบิกจ่ายเงินค่าเบี้ยประชุม
ธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์
สถิตินิติบุคคลตั้งใหม่ ช่วงเดือน ม.ค – มิ.ย (สนง.ใหญ่)
ประเด็นภารกิจไตรมาส 2-4 ปี 61 ที่มอบจังหวัดในเขตตรวจฯฯ
การเสริมสร้างศักยภาพเมืองชายแดน ภายใต้ประชาคมอาเซียนที่จังหวัดสระแก้ว กองความร่วมมือการค้าและการลงทุน กรมการค้าต่างประเทศ.
แนวทางการเฝ้าระวังคุณภาพน้ำดื่ม และน้ำแข็งบริโภค ในสถานประกอบการ
Effective Child Development สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดแพร่
การควบคุมและตรวจสอบภายใน รองผู้ว่าการตรวจเงินแผ่นดิน
เพื่อการพัฒนาการเกษตรอย่างยั่งยืน
๕ พัฒนาการของ ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
4.1 งานนโยบายรัฐบาล ปีงบประมาณ 2560 เดือน สิงหาคม 2560
สิทธิประโยชน์การเป็นสมาชิกกองทุน สำรองเลี้ยงชีพ
4.8 พัฒนาการเด็กวัยเรียน
อนาคตประเทศไทยหลังปี 2560 ผลกระทบจาก AEC ดีกับไทยหรือไม่
หมู่บ้านอาสาพัฒนาและป้องกันตนเอง
พญ.ชีวนันท์ เลิศพิริยสุวัฒน์
ข้อกำหนดทางธุรกิจในยุคดิจิตอล
อนาคต ASEAN กับนักบริหาร ระบบสาธารณสุขมืออาชีพ
หนังสือคณะกรรมการว่าด้วยการพัสดุ ด่วนที่สุด ที่ กค (กวพ) 0405
ตัวชี้วัด : ร้อยละของการดำเนินงานให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงได้รับการดูแลสุขภาพ และการป้องกันโรคและภัยสุขภาพจากมลพิษสิ่งแวดล้อม.
บทบาทใหม่ของการบริหารทรัพยากรบุคคล
การวางแผนพัฒนาจังหวัด และกลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการ
การวิเคราะห์ข้อมูล เขตเศรษฐกิจพิเศษ เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด
การกำจัดขยะและสารเคมี
10 สถานที่ท่องเที่ยว ขอแนะนำ.
สำนักงานเกษตรอำเภอเมืองสมุทรสงคราม
13 October 2007
Logistics : a Key for Thailand’s Food Hub การสัมมนา “Food Challenges Toward AEC” (Bitec Bangna) โดย ดร.ธนิต โสรัตน์ รองประธานสภาองค์การนายจ้างผู้ประกอบการค้าและอุตสาหกรรมไทย.
พลวัตความเหลื่อมล้ำเชิงพื้นที่ :
กลุ่มพัฒนาสุขภาพสัตว์
โครงการปรับระบบการเลี้ยงสุกรเพื่อป้องกันโรคและประเมินสถานภาพโรค PRRS ของกลุ่มผู้เลี้ยงสุกรรายย่อยปี 2559.
พืชเกษตรอย่างครบวงจรในระดับพื้นที่
แบบฟอร์มการนำเสนอหลักสูตร มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย
ศูนย์ช่วยเหลือ SMEs (SME Rescue Center)
การวิเคราะห์ข้อมูล เขตเศรษฐกิจพิเศษ เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด
ญาลดา พรประเสริฐ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
ประเภทที่ 1 วิจัยในชั้นเรียน
การเขียนรายงานเชิงวิชาการ
เข้าใจและสามารถปฏิบัติตนตามหลักธรรม ที่เกี่ยวเนื่องกับอริยสัจ 4
งาน Trade Association’s President Club (TAP)
หอผู้ป่วยศัลยกรรมระบบปัสสาวะ โรงพยาบาลราชบุรี
จัดสวัสดิการผู้สูงอายุตามวิถีแว้ง
งานการเงินนักศึกษา ส่วนการเงินและบัญชี
พ.ศ.๒๕๕๘ พ.ศ.๒๕๕๙ สิงหาคม กันยายน ตุลาคม พฤศจิกายน ธันวาคม มกราคม
เศรษฐกิจพอเพียง Sufficiency Economy.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ด้วยการสอนซ่อมเสริมร่วมกับ
การจัดทำและการบริหาร งบประมาณรายจ่ายประจำปี นางดรงค์รัตน์ กล้าหาญ
วิทยาลัยโลจิสติกส์และซัพพลายเชน College of Logistics and Supply Chain
เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษหนองคาย
มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
สื่อการเรียนการสอนวิชาเครื่องรับโทรทัศน์ ( )
หัวข้อการนำเสนอ ความเป็นมา นำเสนอเว็บไซต์ระบบคลังข้อมูลทางการค้าของไทย
Credit Management ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
ใบสำเนางานนำเสนอ:

กระบวนการคิด การปรับตัว และ การเตรียมความพร้อมจากการเปิดเสรีทางการค้า นางจินตนา ชัยยวรรณาการ ที่ปรึกษาด้านการพาณิชย์ในประเทศ กระทรวงพาณิชย์ ณ โรงแรมริเวอร์แคว จ.กาญจนบุรี วันที่ 27 ตุลาคม 2558

รู้เรา กลุ่มอุตสาหกรรมและเกษตรที่ไทยมีความได้เปรียบ แต่ควรรักษาระดับศักยภาพและเพิ่มความสามารถในการแข่งขันให้มากขึ้น รู้เรา สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) และสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) ได้จัดทำงานวิจัยที่จะช่วยตอบโจทย์ให้แก่ภาครัฐและภาคเอกชนในการเตรียมความพร้อม เข้าสู่เออีซี โดยพบว่า อุตสาหกรรม 5 กลุ่ม ได้แก่ อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ อุตสาหกรรมยานยนต์ อุตสาหกรรมเครื่องนุ่งห่ม อุตสาหกรรมผู้ให้บริการโลจิสติกส์ และอุตสาหกรรมการเกษตร จัดได้ว่าเป็นกลุ่มอุตสาหกรรมที่มีศักยภาพ และยังคงมีความได้เปรียบกับประเทศสมาชิกอาเซียน แต่ไทยควรรักษาระดับศักยภาพและเพิ่มความสามารถในการแข่งขันให้มาก อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ไทยนั้น จะดึงดูดนักลงทุนชาวต่างชาติในกลุ่มอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์มูลค่าสูงมาลงทุนโดยเฉพาะประเทศไต้หวันและเกาหลีที่ส่วนอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์มูลค่าต่ำ ผู้ประกอบการในอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์มูลค่าต่ำจะไปลงทุนในกลุ่มประเทศกัมพูชา ลาว พม่า และเวียดนาม (กลุ่ม CLMV) มากขึ้น อุตสาหกรรมยานยนต์ ยังคงมีศักยภาพในการแข่งขันและเป็นผู้นาการส่งออกอันดับต้นๆ ของอาเซียน แต่ไทยยังมีปัญหาในเรื่องต้นทุนโดยเฉพาะค่าจ้างแรงงาน และแรงงานที่มีฝีมือ มีแนวโน้มในการเพิ่มฐานการผลิตไปยังกลุ่ม CLMV เพื่อลดต้นทุน 3. อุตสาหกรรมเครื่องนุ่งห่ม มีศักยภาพในการแข่งขันสูง แต่มีต้นทุนสินค้าสูง และยังขาดการพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ ภาครัฐควรส่งเสริมให้ผู้ประกอบการขยายการลงทุนไปในประเทศ CLMV ให้มากขึ้น ส่งเสริมการวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ให้ตอบสนองความต้องการของลูกค้า สร้างมูลค่าเพิ่มให้กับผลิตภัณฑ์จากการสร้างตราสินค้าและสร้างความเข้มแข็งในด้าน Supply Chain Management โดยพัฒนาความเชื่อมโยงระหว่างอุตสาหกรรมทั้งโซ่อุปทาน 4. อุตสาหกรรมผู้ให้บริการโลจิสติกส์ไทย จุดเด่น คือ มีคุณภาพของการบริการสูง เนื่องด้วยความหลากหลายของระดับการให้บริการภายในประเทศ ดังนั้น ผู้บริโภคจึงมีความสนใจในด้านคุณภาพการให้บริการเป็นสาคัญ และมีแนวโน้มที่จะจ้างพนักงานในลักษณะ Outsource มากขึ้น และต้องการพนักงานทุกระดับที่มีทักษะหรือมีความเป็นมืออาชีพมากขึ้น 5. อุตสาหกรรมการเกษตร พบว่า ประเทศไทยไม่จาเป็นปรับห่วงโซ่อุปทานทั้งระบบ แต่ควรเน้นด้านการปรับตัวด้วยการเพิ่มความสามารถในการแข่งขันในด้านที่มีศักยภาพอยู่แล้ว เช่น การปรับตัวโดยการนาเทคโนโลยีและเครื่องจักรกลที่ทันสมัยเข้ามาใช้ในการเพิ่มผลผลิต

5 กลุ่มอุตสาหกรรมและเกษตร ผู้ให้บริการ โลจิสติกส์ อิเล็กทรอนิกส์ ยานยนต์ เครื่องนุ่งห่ม ผู้ให้บริการ โลจิสติกส์ การเกษตร สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) และสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) ได้จัดทำงานวิจัยที่จะช่วยตอบโจทย์ให้แก่ภาครัฐและภาคเอกชนในการเตรียมความพร้อม เข้าสู่เออีซี โดยพบว่า อุตสาหกรรม 5 กลุ่ม ได้แก่ อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ อุตสาหกรรมยานยนต์ อุตสาหกรรมเครื่องนุ่งห่ม อุตสาหกรรมผู้ให้บริการโลจิสติกส์ และอุตสาหกรรมการเกษตร จัดได้ว่าเป็นกลุ่มอุตสาหกรรมที่มีศักยภาพ และยังคงมีความได้เปรียบกับประเทศสมาชิกอาเซียน แต่ไทยควรรักษาระดับศักยภาพและเพิ่มความสามารถในการแข่งขันให้มาก อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ไทยนั้น จะดึงดูดนักลงทุนชาวต่างชาติในกลุ่มอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์มูลค่าสูงมาลงทุนโดยเฉพาะประเทศไต้หวันและเกาหลีที่ส่วนอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์มูลค่าต่ำ ผู้ประกอบการในอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์มูลค่าต่ำจะไปลงทุนในกลุ่มประเทศกัมพูชา ลาว พม่า และเวียดนาม (กลุ่ม CLMV) มากขึ้น อุตสาหกรรมยานยนต์ ยังคงมีศักยภาพในการแข่งขันและเป็นผู้นาการส่งออกอันดับต้นๆ ของอาเซียน แต่ไทยยังมีปัญหาในเรื่องต้นทุนโดยเฉพาะค่าจ้างแรงงาน และแรงงานที่มีฝีมือ มีแนวโน้มในการเพิ่มฐานการผลิตไปยังกลุ่ม CLMV เพื่อลดต้นทุน 3. อุตสาหกรรมเครื่องนุ่งห่ม มีศักยภาพในการแข่งขันสูง แต่มีต้นทุนสินค้าสูง และยังขาดการพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ ภาครัฐควรส่งเสริมให้ผู้ประกอบการขยายการลงทุนไปในประเทศ CLMV ให้มากขึ้น ส่งเสริมการวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ให้ตอบสนองความต้องการของลูกค้า สร้างมูลค่าเพิ่มให้กับผลิตภัณฑ์จากการสร้างตราสินค้าและสร้างความเข้มแข็งในด้าน Supply Chain Management โดยพัฒนาความเชื่อมโยงระหว่างอุตสาหกรรมทั้งโซ่อุปทาน 4. อุตสาหกรรมผู้ให้บริการโลจิสติกส์ไทย จุดเด่น คือ มีคุณภาพของการบริการสูง เนื่องด้วยความหลากหลายของระดับการให้บริการภายในประเทศ ดังนั้น ผู้บริโภคจึงมีความสนใจในด้านคุณภาพการให้บริการเป็นสาคัญ และมีแนวโน้มที่จะจ้างพนักงานในลักษณะ Outsource มากขึ้น และต้องการพนักงานทุกระดับที่มีทักษะหรือมีความเป็นมืออาชีพมากขึ้น 5. อุตสาหกรรมการเกษตร พบว่า ประเทศไทยไม่จาเป็นปรับห่วงโซ่อุปทานทั้งระบบ แต่ควรเน้นด้านการปรับตัวด้วยการเพิ่มความสามารถในการแข่งขันในด้านที่มีศักยภาพอยู่แล้ว เช่น การปรับตัวโดยการนาเทคโนโลยีและเครื่องจักรกลที่ทันสมัยเข้ามาใช้ในการเพิ่มผลผลิต ที่มา: ผลงานวิจัยของสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) และสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.)

ความเป็นผู้นำในการส่งออกของไทยในปัจจุบัน สินค้า อาเซียน เอเชีย โลก ข้าว 1 2 มันสำปะหลัง ยางพารา น้ำตาลทราย อาหารทะเลแช่แข็ง กระป๋อง และแปรรูป ไก่สดแช่เย็น แช่แข็ง และแปรรูป 3 ผักผลไม้สดแช่แข็ง กระป๋อง และแปรรูป 15 ยานยนต์และส่วนประกอบ 12 อัญมณีและเครื่องประดับ 6 เครื่องอิเล็กทรอนิกส์และส่วนประกอบ 8 เครื่องใช้ไฟฟ้าและส่วนประกอบ 13 เม็ดพลาสติก 11 ที่มา: Global Trade Atlas 2014

ธุรกิจที่เติบโตจากการเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน และตลาดอาเซียนที่น่าลงทุน รู้เขา

ผลกระทบเชิงบวก เชิงลบจาก AEC ต่อธุรกิจโดยรวม ที่มา: การวิเคราะห์โดย SCB EIC

แนวทางการปรับตัวและ เตรียมความพร้อม

การเตรียมความพร้อมเกษตรกรในภาพรวมสินค้าเกษตร มีการนำเข้าวัตถุดิบจากประเทศเพื่อนบ้าน ลงทุน ผลิตวัตถุดิบและแปรรูปในประเทศเพื่อนบ้านมากขึ้น การปรับตัว/เตรียมความพร้อมของเกษตรกรไทย : พัฒนาตนเองให้เก่งขึ้น ปรับใช้เทคโนโลยีอย่างเหมาะสม ยกระดับความสามารถเกษตรกรไทย ผลิตได้มากขึ้นในพื้นที่เท่าเดิม ต้นทุนผลิตต่อหน่วยลดลง ลดปัญหาแรงงาน รัฐสนับสนุนการลงทุนโครงสร้างพื้นฐาน เช่น ชลประทน การปรับปรุงดิน การลงทุนเครื่องทุนแรง ศูนย์ข้อมูลชุมชนและการกระจายเทคโนโลยี สนับสนุนการสร้างนวัตกรรมเกษตร และการรวมกลุ่มชุมชน แรงงานในภาคเกษตรอาจลดลง แต่ประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น รายได้ต่อหัวสูงขึ้นคุณภาพชีวิตดีขึ้น รายได้ต่อหัวในภาคเกษตรสูง แรงงานอยู่ในภาคบริการและการผลิตมากขึ้น รายได้ต่อหัวเฉลี่ยคนไทยสูงขึ้น ประเทศหลุดพ้นจากการเป็น middle income

การปรับตัวของ SMEs ต่อ AEC ที่มา: การวิเคราะห์โดย SCB EIC

1.การลงทุนด้านโครงสร้างพื้นฐาน สร้างความเป็นเมืองในจังหวัดภูธร เทรนด์ของความเชื่อมโยง (Connectivivy megatrend) 6 ประการ ที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงภาคเอกชนไทย 1.การลงทุนด้านโครงสร้างพื้นฐาน สร้างความเป็นเมืองในจังหวัดภูธร 2.Supply Chain ที่ก้าวสู่ระดับภูมิภาค ประเทศพัฒนาแล้ว จ้างหน่วยงานนอกประเทศในการผลิต 3.ใช้ Internet สื่อออนไลน์เพิ่มขึ้น เกิดการแข่งขันรูปแบบใหม่ e-commerce 4.การค้าระหว่างประเทศมีสูงขึ้นจาก Single market 5.การเคลื่อนย้ายแรงงานฝีมือเสรี 6.การเคลื่อนย้ายเงินทุนเสรีมากขึ้น มีผลต้นทุนการเงิน ใน ASEAN ลดลง

Thank You