หลักสูตรอาเซียน (ASEAN Curriculum Sourcebook) กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โดย... ผู้เข้าร่วมประชุมปฏิบัติการพัฒนาแนวทางการนำ ASEAN Curriculum Sourcebook สู่การปฏิบัติ วันที่ 29 กรกฎาคม – 1 สิงหาคม 2556 ณ โรงแรมคุ้มคำ จังหวัดเชียงใหม่
ข้อเรียกร้องสู่การปฏิบัติ การพัฒนาร่วมกันของ ASEAN การศึกษาเป็นกุญแจสำคัญสำหรับ พลเมือง เพื่อสร้างทักษะจำเป็น ดังนี้ สร้างความรู้และทักษะของศตวรรษที่ 21 มุ่งเสริมสร้างการตระหนักเกี่ยวกับอาเซียนและสร้างอัตลักษณ์ที่ร่วมกัน สร้างสังคมที่เอื้ออาทรและแบ่งปัน สร้างความเป็นเพื่อนบ้านที่ดีต่อกัน เคารพหลักเสรีภาพและความเท่าเทียมทางเพศ ส่งเสริมการเคารพในความแตกต่างทางวัฒนธรรม ภาษา และศาสนา
คู่มือหลักสูตรอาเซียน :แบบแผนเพื่อการตระหนักถึงวิสัยทัศน์ 1 เพื่อเป็นคลังข้อมูลที่ครู ทั้งอาเซียนนำไปใช้เพื่อให้ผู้เรียนได้สำรวจตนเองในหลายด้านและเข้าใจตนเองในฐานะที่เป็นสมาชิกชุมชนประเทศและภูมิภาคของตนเอง 2 เข้าใจถึงความซับซ้อนและความเชื่อมโยงของอาเซียน สามารถแลกเปลี่ยนทัศนคติที่แตกต่างกันและสามารถทำงานร่วมกัน
จุดมุ่งหมาย 1. การทำให้เกิดความสัมพันธ์ที่แน่นแฟ้ นของกลุ่มนานาประเทศ ทัศนคติ นวัตกรรม ความร่วมมือที่เกิดขึ้น 2. ความสำนึกร่วมกันของประชาชนที่ กำลังปรับตัวให้เข้ากับสังคมและ เศรษฐกิจโลก
สาระสำคัญ 1.ความรู้เกี่ยวกับอาเซียน 2.การเห็นคุณค่าของอัตลักษณ์ และความหลากหลาย 3. การเชื่อมโยงโลกและท้องถิ่น 4. การส่งเสริมความเสมอภาคและความยุติธรรม 5.การทำงานร่วมกันเพื่ออนาคตที่ยั่งยืนและมั่นคง
ระดับการเรียนรู้และรายวิชา สาระสำคัญของแต่ละหัวข้อ ได้แบ่งเนื้อหาออกเป็น 3 ระดับ ได้แก่ ระดับประถมศึกษาปลาย ชั้นปีที่ 3-5 ประถมศึกษาปลาย ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ชั้นปีที่ 6-9 มัธยมศึกษาตอนต้น ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ชั้นปีที่ 10-12 มัธยมศึกษาตอนปลาย เนื้อหาในแต่ละระดับของระดับการศึกษาทั้งสามข้างต้นแบ่ง ออกเป็น 7 สาขาวิชากว้าง ๆ ได้แก่ สังคมศึกษาและประวัติศาสตร์ วิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ หน้าที่พลเมืองและจริยศึกษา ภาษาและวรรณกรรม ศิลปะ สุขศึกษาและพลศึกษา เทคโนโลยีการศึกษา
แนวทางเพื่อการเรียนรู้เกี่ยวกับอาเซียน สถานที่(Place):ลักษณะทางกายภาพ ลักษณะภูมิประเทศ ระบบนิเวศ ภูมิอากาศ ผลกระทบจากพลังธรรมชาติต่างๆ แนวคิด (Ideas) : ศาสนา ระบบความเชื่อ ปรัชญา ค่านิยม รูปแบบการปกครอง แง่คิดเกี่ยวกับโลก เทคโนโลยี การยอมรับและการปรับตัว สื่อ(Materials): สิ่งที่เป็นรูปธรรมเช่น เครื่องอุปโภค บริโภค สิ่งประดิษฐ์ งานหัตถกรรม งานศิลป์ และงานประดิษฐ์ศิลปะโบราณ ประชาชน(People):รายบุคคล กลุ่มชาติพันธุ์ มรดกทางวัฒนธรรม รัฐบาลและพลเมือง สุขภาพ ความปลอดภัย บทบาททางเพศและบทบาทระหว่างชั้นอายุภายในครอบครัวและสังคม
คำถามประจำหน่วยการเรียนรู้ คือ คำถามที่ใช้เพื่อตีกรอบเนื้อหาและชี้แนะ เพื่อให้เกิดประสบการณ์เรียนรู้ ประชาชน(People) สถานที่(Place) แนวคิด (Ideas) สื่อ(Materials)
แผนจัดการเรียนรู้ นำสาระสาระสำคัญของอาเซียนไปบูรณาการในการจัดกำแผน การจัดการเรียนรู้กับหลักสูตรแกนกลาง และหลักสูตรสถานศึกษา การประเมินผลการเรียนรู้ ออกแบบให้สนับสนุนแนวคิดสาระสำคัญแต่ละหัวข้อ และเชื่อมโยงการดำเนินชีวิตของนักเรียน รวมถึง ประชาชน สถานที่ วัตถุและแนวคิดของประเทศสมาชิกอาเซียน
สมาชิกลุ่ม หลักสูตรอาเซียน : กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ผู้เข้าร่วมประชุมปฏิบัติการพัฒนาแนวทางการนำ ASEAN Curriculum Sourcebook สู่การปฏิบัติ วันที่ 29 กรกฎาคม – 1 สิงหาคม 2556 ณ โรงแรมคุ้มคำ จังหวัดเชียงใหม่ 1. นายสิริพงศ์ สายแขม ร.ร. ราชประชานุเคราะห์ ๒๗ ฯ ประธานกลุ่ม 2. นางศิริวรรณ ผุดผ่อง ร.ร. ราชประชานุเคราะห์ ๔๖ ฯ สมาชิกกลุ่ม 3. นางจุไรพร พันธ์ทรัพย์ ร.ร. ราชประชานุเคราะห์ ๔๖ ฯ สมาชิกกลุ่ม 4. นางพัชรี มะลิรัคน์ ร.ร. ศึกษาสงเคราะห์บางกรวย สมาชิกกลุ่ม 5. นางสุพัตรา ชัยราช ร.ร. ราชประชานุเคราะห์ ๒๐ ฯ สมาชิกกลุ่ม 6. นางสาวจันทร์จิรา นารถกลับ ร.ร. ราชประชานุเคราะห์ ๒๐ ฯ สมาชิกกลุ่ม 7. นางอัมพร ปัญญาคำ ร.ร. ศึกษาสงเคราะห์แม่ฮ่องสอน สมาชิกกลุ่ม 8. นายอภิวัฒน์ แถวพันธ์ ร.ร. ราชประชานุเคราะห์ ๒๙ ฯ สมาชิกกลุ่ม 9. นายจีรพล อุดคำมี ร.ร. ราชประชานุเคราะห์ ๒๕ ฯ สมาชิกกลุ่ม 10. นายสุรพิน ขาวขันธ์ ร.ร. ราชประชานุเคราะห์ ๒๗ ฯ สมาชิกกลุ่ม 11. นางสาวโนรียะพ์ สาแม ร.ร. ราชประชานุเคราะห์ ๒๗ ฯ สมาชิกกลุ่ม 12. นางสาวอามีเน๊าะ ระสิหินิ ร.ร. ราชประชานุเคราะห์ ๓๙ ฯ สมาชิกกลุ่ม 13. นางประภาภรณ์ ชมภูวงศ์ ร.ร. ราชประชานุเคราะห์ ๒๒ ฯ เลขานุการกลุ่ม