ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ผลการปฏิบัติงานและ งบประมาณ ของ สำนักงานสหกรณ์จังหวัด สิงห์บุรี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ ตั้งแต่ 1 ต. ค ก. ค. 53.
Advertisements

การพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน
ยุทธศาสตร์ การจัดสรร งบประมาณ ยุทธศาสตร์การพัฒนาคนและสังคมที่มีคุณภาพ
การอบรมทีมเฝ้าระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็ว(SRRT) เครือข่ายอำเภอเมืองนครปฐม วันที่ 27 มิถุนายน 2557 ณ ห้องประชุมอำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม ดรุณี โพธิ์ศรี
แนวทางการบริหารงบบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ปีงบประมาณ 2558
ความก้าวหน้าในการจัดทำแผนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และแผนปฏิบัติการกำหนดขั้นตอนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (ฉบับที่
ภาคีรวมใจคนไทยไร้พุง จ.ลพบุรี Lopburi’s Slimming Academy
ระบบประเมินผลผู้บริหาร
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
แผนการดำเนินงานปี 2558 กลุ่มโรคติดต่อระหว่างสัตว์และคน
เป็นเจ้าภาพหลัก 2 ประเด็น เพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ปี 2558
ได้รับการตรวจคัด กรองความเสี่ยง  เกณฑ์ ที่สปสช. กำหนด ประชากร 15 ปีขึ้นไป กลุ่ม Non UC ร้อยละ 50 กลุ่ม UC ร้อยละ 50  เกณฑ์ที่ดำเนินการ กลุ่มข้าราชการ.
การจัดทำแผนปฏิบัติการ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ พ.ศ กันยายน 2557.
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนนทบุรี
การประชุมหารือกรอบการ พัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service Plan) กรมการ แพทย์ นายแพทย์ณรงค์ อภิกุลวณิช รองอธิบดีกรมการแพทย์ วันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2558.
นโยบายด้านโรคติดต่อ ศ. คลินิกเกียรติคุณ นพ. ปิยะสกล สกลสัตยาทร รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข.
วันที่ 25 มกราคม 2559 เวลา – น. ณ โรงแรมพลูแมน ขอนแก่น นายแพทย์อัษฎางค์ รวยอาจิณ รองอธิบดี กรมควบคุมโรค.
Service plan สาขาโรคไม่ติดต่อ NCD คปสอ. ลำลูกกา จังหวัดปทุมธานี กิจกรรมที่ให้บริการ 1. คัดกรองค้นหากลุ่มเสี่ยง.
รูปแบบการดำเนินงานเพื่อลด โรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD) แพทย์หญิงจุรีพร คงประเสริฐ สำนักโรคไม่ติดต่อ 12 ม.ค
แนวทางการดำเนินงานและแลกเปลี่ยน สู่การปฏิบัติ ปีงบประมาณ 2559 กลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดย คุณณัฐธิวรรณ พันธุ์มุง วันอังคารที่ 20 ตุลาคม 2558 ณ ห้องประชุม.
สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.
โครงการ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ “ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี เนื่องในโอกาสฉลองพระชนมายุ
โดย นายแพทย์ณัฐพร วงษ์ศุทธิภากร รองอธิบดีกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข “เรียนรู้ สิ่งแวดล้อม สร้างสรรค์” นโยบายการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย.
แนวทาง การดำเนินงาน ป้องกันการจมน้ำ สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
ทิศทาง/นโยบายการดำเนินงาน NCDs & Injury
สรุปผลการดำเนินงานตามนโยบายการควบคุมโรคไม่ติดต่อ ด้านการเฝ้าระวังผู้ป่วยโรคเบาหวาน/โรคความดันโลหิตสูง ควบคุมระดับน้ำตาลและความดันได้ดี ปีงบประมาณ 2561.
แผนงานป้องกันและควบคุมโรคไม่ติดต่อ
สายส่งเสริมตามกลุ่มวัยและประเด็น
สาธารณสุขยุคใหม่ สร้างสังคมสุขภาพดี วิถีธรรม วิถีไทย
ประสบการณ์การ การใช้ระบบติดตามผลการดำเนินงานในกลุ่มผู้ใช้ยา/สารเสพติด
ยุทธศาสตร์ ที่ 2 Service Excellence (ยุทธศาสตร์ด้านบริการเป็นเลิศ)
ตัวชี้วัดที่ 1 : อัตราส่วนการตายมารดาไทย ค่าเป้าหมายไม่เกิน 20 ต่อการเกิดมีชีพแสนราย เปรียบเทียบอัตราส่วนการตายมารดารายเขต ปี 2560 กับ 2561ในช่วงเวลาเดียวกัน.
ข้อสั่งการ/ข้อเสนอแนะ
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ ข้อสั่งการ/ข้อเสนอแนะ
วันที่ ๒๔-๒๕ สิงหาคม ๒๕๕๙ ณ โรงแรมพูลแมน จังหวัดขอนแก่น
แนวทางการดำเนินงานเพื่อผู้สูงอายุ
โครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลท่าดินแดง
SERVICE PLAN สาขาโรคไม่ติดต่อ.
(ปัจจุบันไม่มียอดค้างชำระ)
NCDs การจัดทำแผนงาน ปี สิงหาคม 2560.
โครงการกำจัดปัญหาโรคพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี ถวายเป็นพระราชกุศลฯ
การบริหารงานประชาสัมพันธ์ของจังหวัด : การประชาสัมพันธ์และการจัดการสื่อ
เพื่อการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ทศวรรษ
EB9 หน่วยงานของท่านมีการดำเนินการเพื่อป้องกันผลประโยชน์ทับซ้อนในหน่วยงานอย่างไร (1) มีการวิเคราะห์ความเสี่ยงเกี่ยวกับการปฏิบัติงานที่อาจเกิดผลประโยชน์ทับซ้อน.
นโยบายการขับเคลื่อน การสร้างเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพของคนไทย ยุค 4.0
ศูนย์อนามัยที่ 5 ราชบุรี
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
วาระการประชุมคณะกรรมการกำกับดูแลองค์การที่ดี สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข ครั้งที่ ๑/๒๕๖๐ วันพฤหัสบดีที่ ๓ พฤศจิกายน ๒๕๕๙ เวลา ๐๙.๓๐ – ๑๒.๐๐ ณ.
การติดตามผลงาน OKRs ปีงบประมาณ 2562 (ไตรมาส 1)
ณ ห้องประชุมกำธร สุวรรณกิจ
พัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย (9 ตัว) กลุ่มเด็กปฐมวัย (๐-๕ ปี)/สตรี 1.อัตราส่วนการตายของมารดาไม่เกิน15ต่อการเกิดมีชีพแสนคน 2.ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย.
การประเมินศักยภาพชุมชน ด้วย... ค่ากลางที่คาดหวัง
จุดเน้นการดำเนินงานป้องกัน ควบคุมโรค และภัยสุขภาพ ประจำปีงบประมาณ
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
การป้องกันควบคุมโรค NCDs
กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข โรงแรมเดอะรอยัลเจมส์ กอล์ฟ รีสอร์ท
การดำเนินงานเขตเศรษฐกิจพิเศษและแรงงานต่างด้าว
การป้องกันควบคุมโรค NCDs
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
สำนักงานปศุสัตว์จังหวัดฉะเชิงเทรา
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
กรมมีผลการปฏิบัติงานที่ดี เกษตรกรได้รับประโยชน์
“ทิศทางการขับเคลื่อน คุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน” ของสำนักงานคณะกรรมการ
นพ.อภิศักดิ์ วิทยานุกูลลักษณ์ รพ.ธัญญารักษ์เชียงใหม่ กรมการแพทย์
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
คุณต้องรู้ว่าคุณกำลังมีปัญหาอะไร?
การสำรวจพฤติกรรมเสี่ยงโรคไม่ติดต่อและการบาดเจ็บ พ.ศ. 2561
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD) ดร.นพ.ภานุวัฒน์ ปานเกตุ ผู้อำนวยการสำนักโรคไม่ติดต่อ

อัตราตายต่อประชากรแสนคนด้วยโรคไม่ติดต่อที่สำคัญ ปี พ.ศ. 2545-2556 อัตราตายต่อประชากรแสนคนด้วยโรคไม่ติดต่อที่สำคัญ ปี พ.ศ. 2545-2556 ที่มา : สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข

อัตราตาย IHD ต่อประชากรแสนคน (ทุกกลุ่มอายุ) ปีงบประมาณ 2555-2558จำแนกรายเขตสุขภาพ ที่มา : สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข

อัตราผู้ป่วยรายใหม่ด้วยโรคหลอดเลือดหัวใจ (I20 อัตราผู้ป่วยรายใหม่ด้วยโรคหลอดเลือดหัวใจ (I20.0,I21- I24) ปี 2556-2557 จำแนกรายเขตสุขภาพ และภาพรวมของประเทศ (ไม่รวม กทม.) หมายเหตุ : ข้อมูลรอบ 9 เดือน ของปีงบประมาณ 2556 (ตุลาคม 55 - มิถุนายน 56 ) และ ข้อมูลรอบ 9 เดือน ของปีงบประมาณ 57 (ตุลาคม 56 - มิถุนายน 57 ) ที่มา : สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข

อัตราตายต่อประชากรแสนคนด้วยโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD) ปี 2555-2557 เปรียบเทียบระดับประเทศกับ 15 จังหวัดนำร่อง ที่มา : สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข

อัตราตายต่อประชากรแสนคนด้วยโรคหลอดเลือดหัวใจ(IHD) ปี 2556-2558 เปรียบเทียบระดับประเทศกับ 15 จังหวัดนำร่อง ที่มา : สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข

อัตราตายต่อประชากรแสนคนด้วยโรคหลอดเลือดสมอง(Stroke) ปี 2555-2557 เปรียบเทียบระดับประเทศกับ 15 จังหวัดนำร่อง ที่มา : สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข

ร้อยละของการเกิดภาวะแทรกซ้อนของหัวใจและหลอดเลือดหัวใจทั้งหมด ในผู้ป่วยความดันโลหิตสูง จำแนกรายเขต ปี 2555 - 2557 ที่มา : MedResNet ปี 2555-2557 ที่มา : MedResNet ปี 2556-2558

ร้อยละของการเกิดภาวะแทรกซ้อนของหัวใจและหลอดเลือดหัวใจทั้งหมด ในผู้ป่วยเบาหวาน จำแนกรายเขต ปี 2555 - 2557 ที่มา : MedResNet ปี 2555-2557

แนวทางการปฏิบัติการป้องกันควบคุมโรคหัวใจ และหลอดเลือด แนวทางการปฏิบัติการป้องกันควบคุมโรคหัวใจ และหลอดเลือด การตรวจคัดกรองปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดในระยะเวลาสิบปีข้างหน้า(Thai CV Risk Score) แนวทางปฏิบัติเพื่อการลดโอกาสเสี่ยง แนวทางการจัดเก็บข้อมูลและการประเมินผล

รูปแบบการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD) จังหวัดที่มีอัตราตายด้วยโรคหัวใจขาดเลือด (IHD) 15 จังหวัดแรกใน ปีพ.ศ. 2556 เขต 1 เขต 3 เขต 4 เขต 5 เขต 6 เขต 11 ราชบุรี จันทบุรี แพร่ น่าน นครสวรรค์ กำแพงเพชร อุทัยธานี อ่างทอง สระบุรี อยุธยา นครนาย ลพบุรี สิงห์บุรี พังงา ชุมพร การดำเนินการในชุมชน/องค์กร/สถานประกอบการ การดำเนินการในสถานบริการ การสื่อสาร/รณรงค์ เพื่อสร้างกระแสการป้องกันโรค CVD/คัดกรอง ค้นหากลุ่มเสี่ยง การสื่อสารเตือนภัยอาการเตือนของโรคหัวใจขาดเลือดและโรคหลอดเลือดสมอง การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพดี ประเมิน CVD Risk ในผู้ป่วย DM HT จัดบริการตามความเสี่ยง : :ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมอย่างเข้มข้น :ให้การดูแลรักษาด้วยยาตามข้อบ่งชี้ 1. สนับสนุนคู่มือและโปสเตอร์การประเมิน CVD risk ในผู้ป่วย DM/HT 2. สนับสนุนโปรแกรม/อบรมการใช้โปรแกรมคัดกรอง CVD risk 3. สนับสนุนคู่มือให้เกิดการจัดการตนเองของกลุ่มเสี่ยงต่อ CVD สำหรับ อสม. 4. แบบรายงานผลการดำเนินงาน สิ่งสนับสนุจากส่วนกลาง ผู้ป่วย DM HT ได้รับการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อ CVD ร้อยละ 60 กลุ่มเสี่ยงสูง (Score > 30% ได้รับบริการเข้มข้น ร้อยละ 50 กลุ่มเสี่ยงสูง -ควบคุมปัจจัยเสี่ยงได้ -ลดโอกาสเสี่ยงลง

หลักการ/ความสำคัญ วัตถุประสงค์ ประชากรวัยทำงานต้องใช้ชีวิตและเวลาส่วนใหญ่อยู่ในสถานที่ทำงาน โดยเฉลี่ยวันละ  8 - 9 ชั่วโมง เปรียบเสมือนบ้านหลังที่ 2 ดังนั้นหากสามารถดำเนินการสร้างความตระหนัก ค่านิยมและวัฒนธรรม ที่ดีด้านสุขภาพ เช่นการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ(พฤติกรรมการกิน การออกกำลังกาย ปรับค่านิยมการดื่มสุรา สูบบุหรี่) เชื่อว่าจะทำให้สามารถป้องกันควบคุมโรคและปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรควิถีชีวิตได้ ถ้าบุคลากรในองค์กรมีสุขภาพดีย่อมส่งผลต่อคุณภาพงานและองค์กร ผู้บริหารและหรือผู้นำมีส่วนสำคัญอย่างมากในการสนับสนุนให้เกิดสุขภาพดีในองค์กร ทั้งในด้านการเข้าถึงข้อมูลทางสุขภาพ และการให้ความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้อง การจัดการสุขภาพด้วยตนเองของบุคลากร ด้านสิ่งแวดล้อมที่เอื้อหนุนต่อการมีสุขภาพดี เป็นต้น ผู้นำ/ผู้มีบทบาทเกี่ยวข้องในองค์กรสามารถขับเคลื่อนงานเพื่อ ลดเสี่ยงลดโรคหัวใจและหลอดเลือด 2. บุคลากรในองค์กร มีพฤติกรรมสุขภาพที่ดี ลดโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด วัตถุประสงค์

ขอบคุณครับ NCD