Chapter 7 Nursing Care of the Child with Respiratory System

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โทร. ๐-๔๕๗๙-๕๐๖๑ “ สุขภาพดีวิถีไทย สมุนไพร ได้มาตรฐาน บริการประทับใจ”
Advertisements

การผลิตบ่อพัก ทำเอง ใช้เอง หจก. มภัสกาญ คอนสตรัคชั่น
โอกาสและความท้าทาย ของศูนย์เด็กเล็ก และโรงเรียนอนุบาลปลอดโรคในอนาคต
การพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน
ข้อมูลสถานการณ์ ระบาดวิทยา พฤศจิกายน 2557 กลุ่มงานควบคุมโรค.
สถานการณ์โรคไข้เลือดออก จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน กรกฎาคม 2555 ดร.นพ.ถวัลย์ พบลาภ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
เครื่องชี้วัดคุณภาพ วัตถุประสงค์: เพื่อให้ผู้เรียน
ให้ความรู้ผู้ป่วยโรคไซนัสอักเสบ
โรงพยาบาลอ่างทอง ชื่อผู้ติดต่อ นางรัตนา งิ้ววิจิตร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ กลุ่มงาน เวชกรรมสังคม โทรศัพท์ อีเมล์
การประเมินผู้ป่วยบาดเจ็บศีรษะ
กรณีศึกษาของเยาวชนที่กระทำความผิดคดีฆ่าผู้อื่นโดยเจตนา : สถานพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน จังหวัดสระบุรี ผู้วิจัย โยธิน จารุจุฑารัตน์ หลักสูตร ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต.
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนนทบุรี
ของเทศบาลตำบลหนองไผ่ อ.เมือง จ.อุดรธานี
โครเมี่ยม (Cr).
สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.
แผนการตรวจรับรอง สถานที่ทำงานน่าอยู่ น่า ทำงาน โดยศูนย์อนามัยที่ 8 อุดรธานี วันเวลาหน่วยงานทีมประเมิน 11 กค.59 เช้า - รพท. นภ. บ่าย สสอ. เมือง ศูนย์อนามัย.
ปรานอม ประทีปทวี 25/09/591 หน้าที่ของครูผู้นิเทศ สพม.5.
แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ระบบบัญชี สุขภาพ (1-8) กุมภาพันธ์ 2558 สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดบุรีรัมย์
บทที่ 3 องค์ประกอบของการสัมมนา
The Child with Respiratory dysfunction
ปัญหาสุขภาพผู้สูงอายุไทย 2547
Chapter 7 Nursing Care of the Child with Respiratory System
วาระการประชุม คปสจ. เดือน กันยายน 2560
การศึกษาอุบัติการณ์และปัจจัยเสี่ยงการเกิดพิษต่อตับ ในผู้ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ที่ได้รับยาต้านไวรัสเอชไอวี โรงพยาบาลวารินชำราบ.
Piyadanai Pachanapan, Power System Design, EE&CPE, NU
โครงการส่งเสริมป้องกันโรคในช่องปากผู้สูงอายุ
Presentation การจัดการข้อร้องเรียนในธุรกิจบริการ Customer Complaint Management for Service.
ตำรับยาเหลืองปิดสมุทร
ข้อกำหนด/มาตรฐาน ด้านสุขาภิบาลอาหาร
กรอบอัตรากำลังของบุคลากรทางการศึกษาอื่นตามมาตรา 38 ค. (2)
สรุปแนวทางการดำเนินงานตามกลุ่มวัย
งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรคและภัยสุขภาพ
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
“การดูแลหญิงหลังคลอด และ ครอบครัวที่ติดเชื้อ เอช ไอ วี”
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
โครงการกำจัดปัญหาโรคพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี ถวายเป็นพระราชกุศลฯ
ผลการดำเนินงาน การบริหารจัดการประเมิน และดูแลผู้ป่วยก่อนกลับเข้าทำงาน
ยาที่ใช้ในโรคไตเรื้อรัง (Pharmacotherapy in CKD) ประกอบการประชุมอบรมพัฒนาศักยภาพพยาบาล หน่วยปฐมภูมิ เขต 3 ภญ.จันทกานต์ อภิสิทธิ์ศักดิ์ กลุ่มงานเภสัชกรรม.
เพื่อการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ทศวรรษ
ศูนย์อนามัยที่ 5 ราชบุรี
บทที่ 4 การดูแลให้ได้รับการพักผ่อนและความปลอดภัย การจัดการสิ่งแวดล้อม การทำเตียง อ.กรวรรณ สุวรรณสาร.
รพ.สต.สายใยรัก อำเภอสัตหีบ
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
รพ.ค่ายสุรสีห์.
ความรู้เบื้องต้นระบบระบายอากาศ
Supawadee Lerdsamran, M. N. S
Delirium พญ. พอใจ มหาเทพ 22 มีนาคม 2561.
กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
โรคติดเชื้อไวรัสซิก้า
ชาลิณี ปิยะประสิทธิ์ สปสช.เขต 10 อุบลราชธานี 21 กันยายน 2560
The Child with Respiratory dysfunction
YRC LANNA LOCAL WISHDOM
และ อ.เฉลิมพระเกียรติ จ.สระบุรี ปี 2557
มาทำความรู้จักกับ เห็ดหนังช้าง.
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
บทที่ 3 โรงเรือนและอุปกรณ์โคเนื้อ
มะเร็งปากมดลูก โดย นางจุฑารัตน์ กองธรรม พยาบาลวิชาชีพ รพ.สต.บ้านโนนแต้
หัวใจหยุดเต้น หยุดหายใจ ปั๊มหัวใจ ทำอย่างไร ?
ขดลวดพยุงสายยาง.
การติดตาม (Monitoring)
สถานการณ์โรคไข้หวัดใหญ่ ข้อมูล ณ วันที่ 18 ตุลาคม 2559
โปลิโอสายพันธ์วัคซีนกลายพันธุ์ Circulated Vaccine Derived Poliovirus
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
งานวิสัญญี รพร.เดชอุดม
ทายสิอะไรเอ่ย ? กลม เขียวเปรี้ยว เฉลย ทายสิอะไรเอ่ย ? ขาว มันจืด เฉลย.
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Chapter 7 Nursing Care of the Child with Respiratory System Supawadee Lerdsamran MNS.(Pediatric Nursing) Ramathibodi school of nursing, Mahidol University. February 25,2016

หัวข้อการเรียนรู้ตาม test blueprint สภาการพยาบาล การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาระบบหายใจ การพยาบาลเด็กทีมีปัญหาระบบหายใจ ส่วนบน: Asthma Croup Bronchitis

หัวข้อการเรียนรู้ตาม test blueprint สภาการพยาบาล การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาระบบหายใจ ส่วนล่าง Pneumonia Bronchiolitis

หัวข้อการเรียนรู้ตาม test blueprint สภาการพยาบาล การดูแลเด็กที่มีปัญหาระบบทางเดินหายใจด้วย กายภาพบำบัดทรวงอก และออกซิเจน การให้คำแนะนำเกี่ยวกับการป้องกันและการดูแลเด็กที่มี ปัญหาระบบทางเดินหายใจที่บ้าน

การดูแลรักษาผู้ป่วยเด็กที่มีปัญหาทางระบบหายใจ ปัจจัยที่จะต้องนำมาพิจารณา ได้แก่ พยาธิสรีรวิทยาที่เกิดขึ้นในโรค หรือกลุ่มอาการ ต่าง ๆ ของระบบหายใจในเด็ก ความร่วมมือจากเด็ก และครอบครัว

การซักประวัติและการตรวจร่างกายอย่างละเอียด การสำลักสิ่งแปลกปลอม อาจมีผลต่อการทำงานของระบบหายใจ ประวัติเกี่ยวกับการใช้ยา

โรคหืดเป็นโรคที่มีการอักเสบเรื้อรังของผนังหลอดลม Asthma (หอบหืด) ทำให้หลอดลมของผู้ป่วยมีปฏิกิริยาตอบสนองต่อสารก่อภูมิแพ้และสิ่งแวดล้อมมากกว่าคนปกติ โรคหืดเป็นโรคที่มีการอักเสบเรื้อรังของผนังหลอดลม ไอ แน่นหน้าอก หายใจมีเสียงWheeze หรือหอบเหนื่อย

ผ่านทาง MDI with spacer 2-4 puff/ครั้ง ห่างกัน 20-30 นาที การรักษาประกอบด้วย การให้ยาขยายหลอดลม β2-agonist ในกรณีที่อาการหอบรุนแรง ผ่านทาง MDI with spacer 2-4 puff/ครั้ง ห่างกัน 20-30 นาที โดยผสมกับ NSS ให้ได้ปริมาตร 2.5 - 4 มล. โดยเปิด oxygen flow 6 – 8 ลิตร/นาที

การพยาบาล 1.ดูแลติดตามสัญญาณชีพ ตามความรุนแรง 2. วัด SO2 3.ดูแลให้ได้รับยาครบตามแผนการรักษาพร้อมทั้งสังเกตอาการ ข้างเคียงของการได้รับยา 4.ดูแลให้พักผ่อน 5.ดูแลให้รับประทานอาหารและน้ำดื่มเพียงพอในกรณีไม่มีข้อห้าม 6.ดูแลสิ่งแวดล้อมให้สะอาด ป้องกันการติดเชื้อ 7.สังเกตอาการและอาการแสดง

ตารางที่ 2 แสดงการใช้อาการและอาการแสดงในการประเมินความรุนแรงของภาวะอุดกั้นทางเดินหายใจส่วนต้น

ปอดบวม (Pneumonia) ปอดบวมเป็นโรคที่เกิดจากการอักเสบของเนื้อปอด พบในเด็กบ่อยกว่าผู้ใหญ่ เป็นโรคที่พบได้ประมาณร้อยละ 8-10 ของผู้ป่วยที่มีการ ติดเชื้อเฉียบพลันของระบบหายใจ เป็นสาเหตุการตายอันดับหนึ่งของโรคติดเชื้อในเด็กอายุ ต่ำกว่า 5 ปี

อาการและอาการแสดง ไข้ ไอ อัตราการหายใจเร็วกว่าปกติ อายุ 1-5 ปี อัตราการหายใจตั้งแต่ 60 ครั้งต่อนาทีขึ้นไป อายุ < 2 เดือน อัตราการหายใจตั้งแต่ 50 ครั้งต่อนาทีขึ้นไป อายุ 2 - 12 เดือน มีอาการหายใจลำบาก มี chest wall retraction ฟังเสียงปอดมักจะได้ยินเสียง fine หรือ medium crepitation อัตราการหายใจตั้งแต่ 40 ครั้งต่อนาทีขึ้นไป อายุ 1-5 ปี

การจำแนกกลุ่มผู้ป่วยโรคปอดบวม โรคปอดบวมไม่รุนแรง ให้การรักษาแบบผู้ป่วยนอก ผู้ป่วยโรคปอดบวมที่มีอัตราการหายใจเร็วตั้งแต่ 50 ครั้ง/นาทีขึ้นไป (เด็กอายุ 2 เดือน ถึง 1 ปี) และ 40 ครั้ง/นาทีขึ้นไป (เด็กอายุ 1 ปี ถึง 5 ปี) โรคปอดบวมรุนแรง รับไว้รักษาในโรงพยาบาล เด็กอายุ  2 เดือน อัตราการหายใจตั้งแต่ 60 ครั้ง/นาทีขึ้นไป ผู้ป่วยโรคปอดบวมที่มี chest wall retraction ที่บริเวณส่วนล่างของทรวงอก โรคปอดบวมรุนแรงมาก รีบรับไว้รักษาในโรงพยาบาลโดยด่วน อาการและอาการแสดงของ hypoxemia หอบ ชายโครงบุ๋ม เขียว หยุดหายใจ ซึม ไม่สามารถดื่มน้ำหรือนมได้ มีอาการแสดงของภาวะช็อก

การพยาบาลผู้ป่วยเด็กปอดบวม ประเมินการหายใจ วัดระดับออกซิเจนในเลือด ดูแลให้ออกซิเจนตามแผนการรักษา สังเกตอาการแสดงของเด็กเพื่อประเมินอาการและอาการแสดง ของออกซิเจนในเลือดไม่เพียงพอ ได้แก่ อาการเขียว หายใจเร็ว (อัตราการหายใจตั้งแต่ 70 ครั้งต่อนาทีขึ้นไป) หอบชายโครง บุ๋ม กระวนกระวาย หรือซึม

การพยาบาลผู้ป่วยเด็กปอดบวม ดูแลพ่นยาขยายหลอดลมตามแผนการรักษา สังเกตอาการและอาการแสดงของผลข้างเคียงยาขยายหลอดลมใน เด็กร่วมด้วยทุกครั้ง ทำกายภาพบำบัดทรวงอก (chest physical therapy) ได้แก่ การจัดท่าระบายเสมหะและเคาะปอดให้กับเด็กที่มีเสมหะคั่งค้างใน ในผู้ป่วยที่อาการหนักอาจให้เพียงการสั่นสะเทือนบริเวณทรวงอก (vibration) และช่วยดูดเสมหะก็จะช่วยระบายเสมหะที่คั่งค้างใน หลอดลมออกมาได้

การพยาบาลผู้ป่วยเด็กปอดบวม ดูแลเช็ดตัวหากมีไข้ และให้ยาลดไข้ตามแผนการรักษา กรณีติดเชื้อแบคทีเรียดูแลให้ยาปฏิชีวนะตามแผนการ รักษา ดูแลให้เด็กได้รับสารน้ำเพียงพอ แนะนำให้ผู้ป่วยดื่มน้ำ มาก ๆ ดูแลให้ได้รับสารน้ำทางหลอดเลือดดำตามแผนการรักษา

การพยาบาลผู้ป่วยเด็กปอดบวม ดูแลให้ได้รับสารอาหารเพียงพอ ยกเว้นในรายที่รุนแรง อาจงด อาหารทางปากในกรณีพิจารณาอาจต้องใส่ท่อช่วยหายใจ ดูแลตวงน้ำดื่มและตวงปัสสาวะ และลงบันทึกเพื่อประเมินการ ได้รับน้ำในร่างกายเพียงพอ กรณีในผู้ป่วยที่มีภาวะ การหายใจล้มเหลวหรือหยุดหายใจและ ใส่ท่อหลอดลมคอเครื่องช่วยหายใจ ให้ดูแลผู้ป่วยกลุ่มนี้ ในหอผู้ป่วยเด็กวิกฤต (Intensive care unit)

การให้คำแนะนำเกี่ยวกับการป้องกันและการดูแลเด็ก ที่มีปัญหาระบบหายใจที่บ้าน การเยี่ยมบ้าน/การติดตามผู้ป่วย ภายหลังจากจำหน่ายผู้ป่วยกลับบ้านแล้ว ทีมบุคลากรทาง การแพทย์ควรมีการติดตามประเมินผลหลังกลับบ้านโดย การเยี่ยมบ้านและการติดต่อทางโทรศัพท์ แพทย์ควรนัดผู้ป่วยกลับมาตรวจที่โรงพยาบาลตามความ จำเป็น