แผนงานบูรณาการพัฒนาการพัฒนาศักยภาพการผลิตภาคเกษตร

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
แนวทางการจัดทำบัญชีสมดุลผลไม้
Advertisements

แผนงาน ส่งเสริมประสิทธิภาพการผลิตและสร้างมูลค่าภาค การเกษตร ผลผลิตที่ 3 สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรได้รับการพัฒนาการ ดำเนินธุรกิจ กิจกรรมหลัก ส่งเสริมและพัฒนาธุรกิจของสหกรณ์และ.
ผลการปฏิบัติงานและ งบประมาณ ของ สำนักงานสหกรณ์จังหวัด สิงห์บุรี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ ตั้งแต่ 1 ต. ค ก. ค. 53.
สำนักงานสหกรณ์ จังหวัดกระบี่ รายงาน แผน / ผลการ ปฏิบัติงาน ประจำเดือนเมษายน 2555 กลุ่มส่งเสริมและ พัฒนาธุรกิจสหกรณ์
ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต ฝ่ายบริหารทั่วไป
กิจกรร ม 1 กิจกรร ม 3 กิจกรร ม 2 ส่งเสริมและพัฒนาธุรกิจของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร กิจกรรมแผนผลร้อยละ 1. สหกรณ์ / กลุ่มเกษตรกรได้รับการส่งเสริมและ พัฒนาธุรกิจ.
การปรับโครงสร้างการผลิตเป็นแปลงใหญ่
โครงการส่งเสริมการเกษตร ในรูปแบบแปลงใหญ่จังหวัดชัยภูมิ ปี 2558
Royal project and Government project พระบิดาแห่งชาวโคนมไทย.
สหกรณ์ ปี 2560 สหกรณ์ 4,629 สหกรณ์ (65%) ต้อง  สมาชิกไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 มีส่วนร่วม ในการดำเนินธุรกิจสหกรณ์  สหกรณ์มีเสถียรภาพทางการเงินในระดับ มั่นคงมาตรฐานขึ้นไป.
การมอบนโยบายแนวทาง การปฏิรูปที่ดินประจำปี 2559 โดย นายสรรเสริญ อัจจุตมานัส เลขาธิการ ส. ป. ก.
แนวทางการบริหารจัดการเขต พัฒนาเศรษฐกิจพิเศษโดย สหกรณ์ นายเชิดชัย พรหมแก้ว ผู้อำนวยการกองพัฒนาสหกรณ์ภาคการเกษตร และกลุ่มเกษตรกร กรมส่งเสริมสหกรณ์ วันที่
งบประมาณและความช่วยเหลือ
คณะกรรมการปรับปรุงยุทธศาสตร์ฯ
สร้างความเข้มแข็งของเศรษฐกิจฐานราก จากต้นทาง กลางทาง จนถึงปลายทาง
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
รายงานผลการปฏิบัติงาน เดือนมกราคม 2559
ตัวอย่าง กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
บทบาทของสหกรณ์การเกษตรต่อ 6 มาตรการภายใต้แผนขับเคลื่อนการดำเนินงานตามนโยบายรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ นางอัญชนา ตราโช ผู้อำนวยการสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่
ปัจจัยแห่งความสำเร็จ
Design by Agri - Map สำนักงานชลประทานที่ ๘.
ตัวชี้วัดการดำเนินงาน ปี 2560
(ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี พ.ศ –2579)
เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ
แนวทางการปฏิบัติงานตามข้อสั่งการ ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
งาน Road Map ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตรปี 2560
บทที่ 4 การสร้างเสริมประสิทธิภาพ งานส่งเสริมการเกษตรระดับอำเภอ
การประชุมคณะกรรมการอำนวยการ โครงการพัฒนาเมืองสมุนไพร ครั้งที่ 1/2559
ผู้ตรวจราชการกรมการพัฒนาชุมชน
วิธีการกรอกแบบเสนอโครงการในไฟล์ Power point นี้
แผนพัฒนาการเกษตรของสำนักงานเกษตรอำเภอบางปะหัน ปี 2560
ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ
ผลการปฏิบัติงานกรมตรวจบัญชีสหกรณ์
กลุ่มยุทธศาสตร์ฯ ตัวชี้วัด ของปศุสัตว์อำเภอ รอบที่ ๑/๒๕๖๑ และ รอบที่ ๒/๒๕๖๑ จำนวน ๑๐ ตัวชี้วัด ๑.๑ร้อยละความสำเร็จในการปรับปรุงฐานข้อมูลเกษตรกรผู้เลี้ยงสัตว์
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
4. 1 ผลการปฏิบัติงาน กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาธุรกิจสหกรณ์ งบประมาณ พ. ศ
ผลการปฏิบัติงาน กรมตรวจบัญชีสหกรณ์ ประจำปีงบประมาณ 2561
การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์กรมการพัฒนาชุมชน
ประชุมติดตามความก้าวหน้าการดำเนินการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๕ วันที่ ๔ เมษายน ๒๕๕๕ เวลา ๑๓.๐๐ น. ณ ห้องประชุม ๔/๑ ศาลากลางจังหวัด.
ณ ห้องประชุมกองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร
การสัมมนาแนวทางการดำเนินงาน
เพื่อการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ทศวรรษ
แผนขับเคลื่อนการดำเนินงานส่งเสริมการเกษตร ประจำปีงบประมาณ 2561
รศ. ทวีศักดิ์ สูทกวาทิน สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ
การส่งเสริมการเกษตรในรูปแบบแปลงใหญ่
นโยบายการพัฒนาด้านการเกษตรของไทย
การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตข้าวปลอดภัยและการบริหารจัดการเชิงคุณภาพ
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
การวิเคราะห์ข้อมูล การท่องเที่ยว เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด
ยุทธศาสตร์ส่งเสริมการเกษตร
แผนพัฒนาการเกษตรของสำนักงานเกษตร อำเภอพระนครศรีอยุธยา ปี 2560
หน่วยงานเจ้าภาพหลัก : กษ. (สศก. ) หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง:
โครงการ เพิ่มประสิทธิภาพการผลิต
การส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ ปี 2560
โครงการพัฒนาเกษตรอินทรีย์
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
กลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
ศูนย์อนามัยที่ 8 อุดรธานี
การขับเคลื่อน การจัดทำแผนการพัฒนากำลังคน รายจังหวัด
การบูรณาการและการบริหาร โครงการส่งเสริมการเกษตรในรูปแบบแปลงใหญ่
ระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่
ตอนที่ 4.3 กรณีศึกษา : การสร้างเสริมประสิทธิภาพ งานส่งเสริมการเกษตร สำนักงานอำเภอน้ำปาด จังหวัดอุตรดิตถ์ ตอนที่ กรณีศึกษา : การจัดการความรู้
รายงานผลการปฏิบัติงาน ประจำปีงบประมาณ 2560 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดลำพูน
กฎหมายระเบียบและนโยบายที่เกี่ยวข้อง
การประชุมผู้บริหารระดับสูง
การเปลี่ยนแปลง สู่การเกษตรยุคใหม่ที่ยั่งยืน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แผนงานบูรณาการพัฒนาการพัฒนาศักยภาพการผลิตภาคเกษตร หน่วยงานเจ้าภาพสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ................ลบ. หน่วย :ล้านบาท งบประมาณปี พ.ศ. 2562 ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ยุทธศาสตร์ด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน แผนฯ 12 ยุทธศาสตร์ที่ 3 การสร้างความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจและแข่งขันได้อย่างยั่งยืน 1 เป้าหมายแผนฯ 12 เป้าหมายที่ 1เศรษฐกิจรายสาขาเติบโตอย่างเข้มแข็ง และเป็นฐานในการสร้างความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศ เป้าหมายที่2 เกษตรกรมีรายได้เงินสดสุทธิทางการเกษตรเพิ่มขึ้นและพื้นที่การทำเกษตรกรรมยั่งยืนเพิ่มขึ้นต่อเนื่อง 61 62 63 64 -    65 66 67 68 69 70 71 72 73 74 75 76 77 78 79 ตัวชี้วัดเป้าหมายแผนฯ 12 1.1อัตราการขยายตัวของภาคเกษตรขยายตัวไม่ต่ำกว่าร้อยละ 3 ต่อปี 2.1 รายได้เงินสดสุทธิทางการเกษตร เพิ่มขึ้นเป็น 59,460 บาท/ครัวเรือนในปี 2564 2.2 พื้นที่การทำเกษตรกรรมยั่งยืน เพิ่มขึ้นเป็น 5 ล้านไร่ ในปี 2564 ยุทธศาสตร์จัดสรรงปม. ปี 62 2. ยุทธศาสตร์ด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขันของประเทศ 2.2 การพัฒนาภาคการผลิตและบริการเสริมสร้างฐานการผลิตเข้มแข็งและส่งเสริมเกษตรรายย่อยสู่เกษตรยั่งยืนเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ผลสัมฤทธิ์/Impact เกษตรกรของประเทศไทยมีรายได้สุทธิทางการเกษตรเพิ่มขึ้นและมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น เป้าหมาย แผนบูรณการ/Outcome (เจ้าภาพ) 1. เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการสินค้าเกษตรตลอดห่วงโซ่อุปทาน (จุดเน้น :ข้าว ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ มันสำปะหลัง ปาล์มน้ำมัน อ้อย สับปะรด ไม้ผล (ลำไย ทุเรียน เงาะ มังคุด) ยางพารา ปศุสัตว์ (โคนม โคเนื้อ) ประมง (กุ้ง ปลานิล) 2. เกษตรกรได้รับการพัฒนาศักยภาพให้เป็นเกษตรกรปราดเปรื่อง สามารถพึ่งพาตนเองได้ตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และสถาบันเกษตรกรมีความเข้มแข็ง ตัวชี้วัด เป้าหมายแผน บูรณาการ 1.1. เชิงปริมาณ : อัตราการขยายตัวของภาคการเกษตรเพิ่มขึ้นร้อยละ 3 เชิงคุณภาพ : ปริมาณการผลิตสินค้าเกษตรตามแผนการผลิตเปรียบเทียบกับปริมาณการผลิตจริงแตกต่างกัน ไม่เกินร้อยละ 10 2.1 เชิงปริมาณ : รายได้เงินสดสุทธิของครัวเรือนเกษตรไม่น้อยกว่า 61,000 บาทต่อครัวเรือนต่อปี เชิงคุณภาพ : จำนวนเกษตรกรที่ได้รับการยกระดับเป็นเกษตรกรปราดเปรื่อง (Smart Farmer) คิดเป็นร้อยละ 11 ของเกษตรกรในวัยแรงงาน (18-64 ปี) 1.1.1 การพัฒนาศักยภาพกระบวนการผลิตสินค้าเกษตรที่มีคุณภาพมาตรฐานตามความต้องการของตลาด(ต้นทาง) 1.1.2 การพัฒนาศักยภาพกระบวนการแปรรูปสินค้าเกษตร(กลางทาง) 1.1.3 การพัฒนาศักยภาพกระบวนการตลาดสินค้าเกษตร(ปลายทาง) 2.1.1 การพัฒนาศักยภาพเกษตรกร (ต้นทาง) 3.1.1 การพัฒนาเกษตรสมัยใหม่และระบบเกษตรกรรมยั่งยืน ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (ปลายทาง) แนวทาง 2.1.2 การพัฒนาศักยภาพสถาบันเกษตรกร (กลางทาง) ตัวชี้วัดแนวทาง 1.1.1.1 ผลผลิตต่อหน่วยสินค้าเกษตรเพิ่มขึ้น ร้อยละ 3 1.1.1.2 มูลค่าเพิ่มของสินค้าอุตสาหกรรมเกษตรเพิ่มขึ้นร้อยละ 3 1.1.1.3 เกษตรกรมีช่องทางจำหน่ายสินค้าเกษตรไม่น้อยกว่า .... แห่ง 2.1.1.1 จำนวนเกษตรกรยกระดับเป็น Smart Farmer เพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่า … ราย 2.1.1.2 จำนวนเกษตรกรที่ได้รับการอบรมผ่าน ศพก. ... ราย และจำนวน ศพก. ที่ได้รับการยกระดับเพิ่มขึ้น xxx แห่ง 2.1.2.1 จำนวนสหกรณ์การเกษตรที่ได้รับการยกระดับชั้นเพิ่มขึ้น … แห่ง 2.1.1.5 จำนวน สถาบันเกษตรกร มีการจัดตั้งในรูปแบบประชารัฐ … แห่ง ธนาคารสินค้าเกษตรไม่น้อย … แห่ง 3.1.1.1 พื้นที่การเกษตรแปลงใหญ่ได้รับการส่งเสริมและพัฒนาไม่น้อยกว่า … แปลง 3.1.1.2 พื้นที่การผลิตไม่เหมาะสมตาม Agri Map ได้รับการปรับเปลี่ยนไม่น้อยกว่า …. ไร่ 3.1.1.3 จำนวนพื้นที่เกษตรกรรมยั่งยืนไม่น้อยกว่า 700,000 ไร่ หน่วยงานที่รับผิดชอบ โครงการ/Project Based 1. ข้อมูลสารสนเทศและการบริหารจัดการ 1) โครงการพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการสินค้าเกษตร (สศก.) 2) โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการสินค้าเกษตรรายสินค้าครบวงจร (กรมการข้าว/กรมประมง/กรมปศุสัตว์/กรมส่งเสริมการเกษตร/กรมหม่อนไหม) 2. ส่งเสริมการใช้ปัจจัยการผลิตที่มีคุณภาพ/ประสิทธิภาพ 1) โครงการขยายศักยภาพการผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าว (กรมการข้าว) 2) โครงการผลิต ขยายและกระจายพันธุ์ดีแก่เกษตรกร (กรมการข้าว/กรมวิชาการเกษตร/กรมส่งเสริมสหกรณ์ ฯลฯ) 3) โครงการส่งเสริมการใช้เครื่องจักรกลทดแทนแรงงานเกษตร (กรมส่งเสริมการเกษตร/กรมส่งเสริมสหกรณ์) 3. พัฒนาคุณภาพมาตรฐานสินค้าเกษตร 1) โครงการพัฒนาสินค้าเกษตรสู่มาตรฐาน (ก.เกษตรฯ) 2) โครงการจัดระเบียบการประมงให้เป็นมาตรฐาน (กรมประมง) 4. การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต 1) โครงการส่งเสริมประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร (กรมการข้าว/กรมประมง/กรมปศุสัตว์/กรมส่งเสริมการเกษตร/กรมหม่อนไหม) 2) โครงการส่งเสริมการทำการเกษตรแบบแม่นยำ (ก.เกษตรฯ/ก.ศึกษาฯ) 5. การพัฒนาการผลิตเกษตรอินทรีย์ 1. การพัฒนากระบวน การและแปรรูปสินค้า 1) โครงการส่งเสริมการใช้นวัตกรรมแปรรูปสินค้าเกษตร (ก.เกษตรฯ/ก.อุตสาหกรรม/ก.วิทย์) 2) โครงการแปรรูปวัตถุดิบสมุนไพร (กรมวิชาการเกษตร) 2. การพัฒนาอุตสาหกรรมเกษตร 1) โครงการส่งเสริมการพัฒนาศักยภาพการผลิตภาคเกษตรด้วยวิทยาศาสตร์การแพทย์ (กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์) 3. ส่งเสริมการสร้างมูลค่าเพิ่ม 1) โครงการสร้างมูลค่าเพิ่มสินค้าเกษตรในวิสาหกิจชุมชน (กรมส่งเสริมการเกษตร) 2) โครงการส่งเสริมการสร้างมูลค่าเพิ่มสินค้าเกษตรสำคัญ (กรมการค้าภายใน) 3) โครงการสนับสนุนและพัฒนาสถานที่ผลิตผักและผลไม้สด (อย.) 4. การพัฒนากระบวนการแปรรูปเกษตรอินทรีย์ 1. พัฒนาตลาดเกษตรกร 1) ตลาดกลางสินค้าเกษตร (ก.พาณิชย์/ก.เกษตรฯ/ก.มหาดไทย) 2) ตลาดเกษตรกร (ก.พาณิชย์/ ก.มหาดไทย/ก.เกษตรฯ) 3) ตลาดเกษตรคุณภาพ (อตก.) 2. ขยายช่องทางการตลาดสินค้าเกษตร 1) โครงการสร้างโอกาสและขยายช่องทางการตลาดสินค้าเกษตร (ก.พาณิชย์) 2) โครงการส่งเสริมตลาดอินทรีย์ (ก.พาณิชย์/อตก.) 3) โครงการส่งเสริมระบบเกษตรพันธสัญญา (ก.เกษตรฯ) 3. สร้างความสามารถในการแข่งขันตลาดสินค้าเกษตร 1) โครงการสร้างความสามารถในการแข่งขันตลาดสินค้าเกษตรในต่างประเทศ (สป.เกษตรฯ) 2) โครงการส่งเสริมส่งเสริมสินค้าเกษตรสู่ตลาดโลก (ก.พาณิชย์/ ก.เกษตรฯ) 4. การตลาดเกษตรอินทรีย์ 1. โครงการพัฒนาเกษตรกรปราดเปรื่อง (ก.เกษตรฯ/ก.แรงงานฯ /ก.ศึกษาฯ) 2. โครงการพัฒนาศูนย์วิจัยเพื่อถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตร (ก.ศึกษา) 3. พัฒนากำลังแรงงานภาคเกษตร (ก.เกษตรฯ/ก.แรงงานฯ /ก.ศึกษาฯ) 1. โครงการศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร (ก.เกษตรฯ) 2. โครงการเพิ่มศักยภาพศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร (กรมส่งเสริมการเกษตร) 1. โครงการพัฒนาความเข้มแข็งสหกรณ์และกลุ่มสหกรณ์ (กรมส่งเสริมสหกรณ์) 2. โครงการพัฒนาศักยภาพการดำเนินธุรกิจของสหกรณ์ (กรมส่งเสริมสหกรณ์) 1. โครงการพัฒนาสถาบันเกษตรกรรูปแบบประชารัฐ (กรมส่งเสริมสหกรณ์) 2. โครงการธนาคารสินค้าเกษตร (ก.เกษตรฯ) 1. โครงการส่งเสริมระบบ เกษตรแปลงใหญ่ (ก.เกษตรฯ) 2. โครงการสนับสนุนประสิทธิภาพระบบส่งเสริมเกษตรแบบแปลงใหญ่รูปแบบประชารัฐ (ก.ศึกษา/ก.พาณิชย์) 1. โครงการพัฒนาข้อมูลสารสนเทศแผนที่เกษตรเพื่อการบริหารจัดการเชิงรุก (ก.เกษตรฯ /ก.วิทย์) 2. โครงการบริหารจัดการเขตเกษตรเศรษฐกิจสำหรับสินค้าเกษตรที่สำคัญ (ก.เกษตรฯ) 1. โครงการเกษตรทฤษฎีใหม่ (ก.เกษตรฯ/ก.ศึกษาฯ) 2. โครงการเกษตรผสมผสาน (ก.เกษตรฯ) 3. โครงการวนเกษตร (ก.เกษตรฯ/ ก.ทรัพยากรฯ) 4. โครงการพัฒนาฐานการผลิตการเกษตรให้เข้มแข็งและยั่งยืน (สศช. / สป.เกษตรฯ) สศก. (7 ก.ย.60)