ประชากร.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Law on Natural Resource Management
Advertisements

Workplace Name Student Name(s) Duration (ช่วงเวลาฝึกงาน)
CONTROL VALVE LEAKAGE TEST INSPECTION
MAMMOTH GAME eXPLORATION.
5. การเปลี่ยนแปลงของประชากรวัชพืช (shifts in weed population)
ประชากร (Population) Gajaseni, 2001.
แบบของการเพิ่มประชากร
Flow-Volume Curve Analysis
The Genetic Basis of Evolution
BIO-ECOLOGY 2.
Aj-Kulachatr Chatrakul Na Ayudhaya Ch-3 1 Chapter III : Store Location Type of Retailing Location Downtown Area Neighborhood Shopping Districts String.
เลนส์.
i-Square Training Center
INTRASPECIFIC COMPETITION : การเเก่งเเย่งภายในชนิดเดียวกัน
Basic Knowledge By Kawinthorn Saicharoen
การวัดทางระบาดวิทยา น.ส.วิภาวี ธรรมจำรัส.
6.7 การเสนอข้อมูล ความชื้นในดิน 1. P W =( วิธีการโดยทั่วไป ) 2. H = P W x BD x H( ใช้ทางด้าน Watershed Mgt) P V = P W x BD( หา P V โดยตรงยุ่งยากลำบาก.
1. เลนส์นูน เป็นเลนส์ที่ผิวโค้งตรง กลางหนากว่าบริเวณขอบ 2
สถานการณ์โรคมะเร็ง จังหวัดเชียงใหม่ ปี
Microsoft® Office SharePoint® Server 2007 การฝึกอบรม
ภาพรวมพลังงาน.
ประวัติเมืองน่าน โดย นาย กันตพล วาทกุลชร
ความรู้เกี่ยวกับกฎหมายป้องกันและปราบรามการทุจริต
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
การประเมินคุณภาพการให้รหัสโรค
บทที่ 2 ความรู้เกี่ยวกับอุปสงค์และอุปทาน
สิ่งแวดล้อมและ ผลกระทบจากกิจกรรมของมนุษย์
การถ่ายเทพลังงาน โดย ดร.อรวรรณ ริ้วทอง :
สถิติและการวัดทางระบาดวิทยาที่ควรรู้
แนวทางและประสบการณ์ การฟื้นฟูพื้นที่ที่ผ่านการทำเหมืองแร่
บทที่ 3 ตัวแปรและสมมติฐาน.
การออกกำลังกายและนันทนาการ อ. ฉฬาพิมพ์ ชัยสุทธินันท์
ทัศนธาตุในงานทัศนศิลป์ และสิ่งแวดล้อม เหมือนและต่างกันอย่างไร
บทที่ 5 ความยากจนและการกระจายรายได้
การประชุมคณะกรรมการขับเคลื่อน การบูรณาการฐานข้อมูลกลางภาครัฐ
ประชากร (population).
ทิศทางการบริหารงานกองทุนสิ่งแวดล้อม ภายใต้นโยบาย Thailand 4.0
การแบ่งส่วนการตลาด (Market Segmentation)
การวิเคราะห์ข้อมูล การท่องเที่ยว เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด
การตรวจราชการแบบบูรณาการ ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
งานสำนักงาน นางสมพร แผ่วจะโปะ โดย
Science For Elementary School Teachers I.
ความหลากหลายทางชีวภาพ
งานก่อสร้างฯ / ซ่อมแซมฯ อาคาร สิ่งปลูกสร้าง และสาธารณูปโภค
งานเงินสมทบ การตรวจสอบ และงานกฎหมาย
การสัมมนา สถานการณ์ แนวทางและ แผนปฏิบัติการ ปีงบประมาณ 2557
บทที่1 ความรู้เบื้องต้นทางศิลปะ
ข้อกำหนดการศึกษา (TERM OF REFERENCE)
การปรับยุทธศาสตร์ (Reprofiling) มหาวิทยาลัยกลุ่มใหม่
กระทรวงศึกษาธิการ.
วิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ วิชญ์ชัย ธรรมประดิษฐ์
แผนการจัดตั้งคลินิกหมอครอบครัวจังหวัดสตูล ปี
เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด
GEOGRAPHY OF ASIA TAWEESAK KUNYOCHAI อาจารย์สอง Satit UP
แนวคิด การจัดทำยุทธศาสตร์เศรษฐกิจภาค โดย ว่าที่ ร.อ.จิตร์ ศิรธรานนท์
จาก Recommendation สู่การพัฒนาคุณภาพ
หน่วยที่ 5 เหล็กหล่อและโลหะนอกกลุ่มเหล็ก
กลไกการเกิดสปีชีสใหม่
นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ สำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ กรมอนามัย
การขับเคลื่อนงานส่งเสริมการเกษตร ใน 8 จังหวัดภาคเหนือตอนบน ปี 2561
ประชากร นำเสนอโดย ผศ.ดร.สมาน แก้วไวยุทธ.
การเลือกใช้สถิติเพื่อการวิจัย
แผนการขับเคลื่อน Smart Agricultural Curve ปี 2561 (ระบบส่งน้ำและกระจายน้ำ) กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กรมชลประทาน วันพุธที่ 6 กันยายน 2560.
ผลการดำเนินงานที่สำคัญปี 2560 ตามนโยบายยกกระดาษ A4
Inventory Control Models
อาการของมะเร็งเต้านม ที่กลับเป็นซ้ำ และ หรือ แพร่กระจาย
จงลุกขึ้น ... ฉายแสง ภารกิจที่ท้าทาย ผู้วินิจฉัย 6: 12.
สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควมคุมโรค
มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม Man and Environment ภาคต้น ปีการศึกษา 2561
World window.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ประชากร

ประชากร (Population) กลุ่มของสิ่งมีชีวิตที่เป็นชนิด (species) เดียวกัน อาศัยอยู่ในแหล่งที่อยู่ (Habitat) อาศัยเดียวกัน ณ ช่วงเวลาเดียวกัน ใจความหลักคือ ต้องประกอบด้วย 1. สิ่งมีชีวิตชนิดเดียวกัน 2. สถานที่หรือแหล่งที่อยู่ 3. ระยะเวลา เช่น “ประชากรช้างป่าในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง จังหวัดอุทัยธานี ใน พ.ศ. 2548” ประชากร = สิ่งมีชีวิตชนิดเดียวกัน + สถานที่ + เวลา

ประชากร (Population) ความหนาแน่นของประชากร (Population density) เป็นคุณสมบัติที่เกี่ยวกับขนาดของประชากร หากไม่สมดุลกับสิ่งแวดล้อมจะก่อให้เกิดปัญหาต่างๆ ตามมาเป็นลูกโซ่ สามารถวัดความหนาแน่นประชากรได้ ดังนี้ ความหนาแน่นของประชากร (บนบก) = จำนวนสมาชิกของประชากร/พื้นที่ของแหล่งที่อยู่ ความหนาแน่นของประชากร (ในน้ำ) = จำนวนสมาชิกของประชากร/ปริมาตรของแหล่งที่อยู่

ประชากร (Population) การเปลี่ยนแปลงขนาดของประชากร การเปลี่ยนแปลงจำนวนของประชากรในพื้นที่ใดพื้นที่หนึ่งในช่วงเวลาที่ระบุไว้ สิ่งที่มีผลต่อขนาดของประชากรมี 4 ปัจจัย ดังนี้ การเกิด (Natality)หมายถึง ความสามารถที่จะถ่ายทอดพันธุกรรมให้มีจำนวนมากขึ้น การตาย (Mortality) หมายถึง การตายของประชากรในประชากรกลุ่มหนึ่งๆ การอพยพเข้า (Immigration) หมายถึง การเคลื่อนย้ายเข้ามาอยู่ในกลุ่ม การอพยพออก (Emigration) หมายถึง การเคลื่อนย้ายออกไปจากกลุ่ม

ประชากร (Population) การอพยพ (Migration) การออกไปจากกลุ่มของสัตว์บางชนิดอย่างชั่วคราวตามฤดูกาล และจะกลับเข้ามา เมื่อสิ่งแวดล้อมในถิ่นที่อยู่อาศัยของมันกลับคืนเข้าสู่ภาวะตามปกติ โดยมีสาเหตุของการอพยพ ดังนี้ 1. เพื่อหลีกเลี่ยงจากสภาพอากาศและฤดูกาลที่ไม่เหมาะสม 2. เพื่อหาแหล่งอาหารและแหล่งน้ำที่อุดมสมบูรณ์ 3. เพื่อหาแหล่งสืบพันธุ์ ในการขยายเผ่าพันธุ์

ประชากร (Population) อัตราการเปลี่ยนแปลงของประชากร อัตราการเพิ่มของประชากร = อัตราการเกิดมาก+อัตราการอพยพเข้ามาก อัตราการลดของประชากร = อัตราการตายมาก+อัตราการอพยพออกมาก

ประชากร (Population) ความหนาแน่นของประชากร (Population density)

ประชากร (Population) รูปแบบการเติบโตของประชากร การเจริญเติบโตของประชากร หรืออัตราการเพิ่มของประชากรเป็นไปได้ 2 ลักษณะ คือ 1. การเติบโตของประชากรแบบเอ็กโพเนนเชียล (Exponential Growth) 2. การเติบโตของประชากรแบบลอจิสติก (Logistic Growth)

ประชากร (Population) รูปแบบการเติบโตของประชากร 1. การเติบโตของประชากรแบบเอ็กโพเนนเชียล (Exponential Growth) 2. การเติบโตของประชากรแบบลอจิสติก (Logistic Growth)

ประชากร (Population) 1. การเติบโตของประชากรแบบเอ็กโพเนนเชียล (Exponential Growth) เป็นการเติบโตของประชากรที่มีความสามารถในการสืบพันธุ์สูง และไม่ถูกจำกัดด้วยปัจจัย ลักษณะของกราฟเป็นรูปตัวเจ (J Shape) ประชากรเพิ่มขึ้นอย่างไม่มีที่สิ้นสุด ซึ่งเป็นภาวะเหตุการณ์ทางอุดมคติ และไม่เป็นจริง เพราะในธรรมชาติจะมีตัวต้านทานในสิ่งแวดล้อม (Environmental Resistance)

ประชากร (Population) 2. การเติบโตของประชากรแบบลอจิสติก (Logistic Growth) เป็นการเติบโตของประชากรตามสภาพเป็นจริงในธรรมชาติ ที่ถูกจำกัดด้วยปัจจัยต่างๆในระบบนิเวศ ทำให้มีลักษณะเป็นรูปตัว S ในการเพิ่มประชากรแบบลอจิสติกนี้ ตัวต้านทานในสิ่งแวดล้อมจะมีผลต่อประชากรมากขึ้นในระยะท้ายๆ จึงทำให้มีขีดจำกัดที่ทำให้สภาพแวดล้อมนั้นสามารถเลี้ยงดูประชากรได้ ระดับที่สภาพแวดล้อมสามารถเลี้ยงดูประชากรได้มากที่สุดเรียกว่า แคริอิงคาพาซิติ (Carrying Capacity)

ประชากร (Population) สิ่งมีชีวิตที่เป็น K-selected species และ r-selected species สิ่งมีชีวิตมีการปรับตัว ให้เหมาะสมต่อการดำรงชีวิต รวมถึงการปรับตัวเพื่อให้มีวิธีการเพิ่มขนาดประชากรที่เหมาะสมด้วย สิ่งมีชีวิตบางชนิดมีประชากรหนาแน่นตลอดเวลาเป็นเหตุให้มีอัตราการแข่งขันสูง สิ่งมีชีวิตพวกนี้มักจะปรับตัวให้มีความสามารถในการอยู่รอดและสืบพันธุ์ได้ในสภาพแวดล้อมที่มีปัจจัยต่างๆจำกัด (K-selected species ) ส่วนในประชากรที่มีความหนาแน่นของประชากรต่ำ มักจะมีการปรับตัวให้มีความสามารถในการเพิ่มจำนวนของประชากรได้อย่างรวดเร็ว (r-selected species )

ลักษณะที่เปรียบเทียบ ประชากร (Population) ลักษณะที่เปรียบเทียบ K-selected species r-selected species สภาพแวดล้อมที่อยู่อาศัย มีความแปรผันต่ำ มีความแปรผันสูง การเจริญเติบโตจนเป็นตัวเต็มวัย ใช้เวลานาน ใช้เวลาสั้น อายุขัย ยาว สั้น อัตราการตาย ปกติจะต่ำ มักจะสูง จำนวนลูกที่ออกในแต่ละครั้ง น้อย มาก จำนวนครั้งที่ออกลูกตลอดชีวิต มักจะมีลูกหลายครั้ง ปกติเพียง 1 ครั้ง เวลาที่เริ่มมีลูกครั้งแรก เริ่มมีลูกครั้งแรกช้า เริ่มมีลูกครั้งแรกเร็ว ขนาดของลูกหรือไข่ ใหญ่ เล็ก การเลี้ยงดูจากพ่อแม่ มีการเลี้ยงดูมาก ไม่มี ตัวอย่างสิ่งมีชีวิต สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม, สัตว์ปีก แมลง

ประชากร (Population) แบบแผนการมีชีวิตอยู่รอดของประชากร แบบแผนการมีชีวิตอยู่รอดของประชากร หมายถึง จำนวนประชากรในช่วงอายุต่างๆ ใช้สำหรับพยากรณ์จำนวนประชากรในอนาคต

ประชากร (Population) กราฟรูปแบบที่ 1 กราฟเส้นโค้งนูน (Type I: Convex survivorship curve) พบว่าสิ่งมีชีวิตมีอัตราการรอดชีวิตสูงในวัยอายุน้อย และค่อนข้างคงที่ตลอดชีวิต เมื่ออายุมากขึ้นอัตราการรอดชีวิตจะน้อย มีอัตราการตายพร้อมกันจำนวนมาก เช่น คน ช้าง ม้า สุนัข ดังนั้นประชากรในวัยอายุน้อยจึงมีขนาดใหญ่กว่าประชากรวัยสูงอายุ

ประชากร (Population) กราฟรูปแบบที่ 2 กราฟเส้นตรง (Type II: Constant survivorship curve) พบว่าสิ่งมีชีวิตมีอัตราการรอดชีวิตค่อนข้างสม่ำเสมอตลอดช่วงชีวิต เช่น ไฮดรา นกนางนวล เต่า เป็นต้น

ประชากร (Population) กราฟรูปแบบที่ 3 กราฟเส้นโค้งเว้า (Type III: Concave survivorship curve) พบว่าสิ่งมีชีวิตมีอัตราการรอดชีวิตต่ำในวัยอายุน้อย และค่อยๆ คงที่เมื่ออายุมากขึ้น เช่น หอยนางรม สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังในทะเล ปลากระดูกแข็ง สิ่งมีชีวิตกลุ่มนี้เมื่อมีอายุมากขึ้น อัตราการตายจะลดลงและมีชีวิตรอดได้มากขึ้น