กลุ่มงาน ส่งเสริม ควบคุมโรค โรคไม่ติดต่อ ทันตฯ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การพัฒนารูปแบบการสร้างเสริมทันตสุขภาพในคลินิกเด็กดีจากแบบจำลองความเสี่ยงในการเกิดโรคฟันผุ Development of a Dental Health Promotion Program in Well Baby.
Advertisements

ยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
1 คณะที่ 5 การตรวจราชการแบบบูรณา การ ร่วมกับสำนักนายกรัฐมนตรี
จุดเน้นการพัฒนางานสาธารณสุขที่สำคัญ ปีงบประมาณ 2559.
ทิศทางและนโยบายการจัดการศึกษา 2556 วิสัยทัศน์ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานเป็น องค์กรหลักขับเคลื่อน คุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน ของประเทศไทยให้ได้มาตรฐานสากล.
1. 2 สรุปผลการดำเนินงานของคณะทำงานพัฒนา คุณภาพ / วิชาการและงานวิจัย เขตสุขภาพที่ 11 ปีงบประมาณ
สรุปผลการติดตามผลการดำเนินงาน คปสอ
การประชุมซักซ้อมเตรียมการชี้แจงงบประมาณ ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
  การสนับสนุนการดำเนินงาน LTC ผ่าน "ศูนย์" ตามประกาศสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์การสนับสนุนและส่งเสริมศูนย์พัฒนาและฟื้นฟูคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุและคนพิการ.
สรุปผลการนิเทศ รอบที่ 1 คณะที่ 3 การบริหารทรัพยากรมนุษย์
(P7S10P1G2) การประชุมถ่ายทอดนโยบายและตัวชี้วัดด้านสาธารณสุข
การประชุมหัวหน้ากลุ่มบริหารยุทธศาสตร์
นักวิชาการเงินและบัญชี ชำนาญการ
บริบทอำเภอเมือง ในเขตเทศบาลนครเชียงใหม่ ประชากร 131,091คน
ผู้เยี่ยมเสริมพลังลงพื้นที่เยี่ยมเสริมพลัง รพ.สต.ติดดาว
ปฏิบัติการที่ 5 การออกรายงาน
สรุปผลการดำเนินงาน กลุ่มงานควบคุมโรคไม่ติดต่อ สุขภาพจิตและยาเสพติด
แผนงานป้องกันและลดการตายจากบาดเจ็บทางถนน ในทศวรรษแห่งความปลอดภัยทางถนน ปีงบประมาณ 2560 กระทรวงสาธารณสุข สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค วันที่ พ.ย.
การบริหารงานส่งเสริมสุขภาพ และป้องกันโรคตามกลุ่มวัย
Family Care Team : ทีมหมอครอบครัว
รพ.สต.ติดดาว (5 ดาว 5 ดี) สู่ประชาชนสุขภาพดี
การควบคุม และการจำหน่ายพัสดุ
ไคเซ็น KAIZEN.
ตำบลจัดการสุขภาพ.
ระบบดูแลระยะยาวด้านสาธารณสุขสำหรับ ผู้สูงอายุและบุคคลที่มีภาวะพึ่งพิง ในพื้นที่ตำบลดูแลสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาว (L0ng Term Care)
โครงสร้างอัตรากำลังของสำนักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย
ผลการดำเนินงานในภาพรวมของ โครงการ TO BE NUMBER ONE ประจำปี 2559
สรุปผลการติดตามผลการดำเนินงาน คปสอ
สรุปรายงานการตรวจนิเทศงานกระทรวงสาธารณสุข รอบที่ 1/ จังหวัดกาญจนบุรี
Change 59 Road Map “เปลี่ยน...เพื่อสิ่งที่ดีกว่า” แนวทางการปฏิบัติงาน
อำเภอสันกำแพง ดินแดนแห่ง
การดำเนินงานโครงการ TO BE NUMBER ONE
สรุปผลการนิเทศ คปสอ.โพธิ์ทอง รอบที่ 1 ปี 2561 วันที่ 4 มกราคม 2561
รูปธรรมการขับเคลื่อน “รพ.สต.ติดดาว” จ.นครราชสีมา
ปัญหาการเบิกจ่ายเงินงบประมาณ
การส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค การคุ้มครองผู้บริโภค
การป้องกันและควบคุมการติดเชื้อ (Infection Control : IC) รพ.สต.ติดดาว
กองส่งเสริมการพัฒนาเด็กและเยาวชน
งานส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุจังหวัดเชียงใหม่ ปีงบประมาณ 2561
กลุ่มงานควบคุมโรคไม่ติดต่อ สุขภาพจิต และยาเสพติด
การดำเนินงานส่งเสริมพัฒนาการเด็ก เขตสุขภาพที่ 5
สรุปผลการติดตามผลการดำเนินงาน คปสอ
ครอบครัว กับการคืนสู่สุขภาวะ
บริษัท สรรพสินค้าเซ็นทรัล จำกัด สาขา เซ็นทรัลเฟสติวัล หาดใหญ่
การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอ (DHS) จังหวัดเพชรบุรี ปี 2558
บริการ/ทีม: ศูนย์คอมพิวเตอร์ โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชเดชอุดม
การขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (ด้านสาธารณสุข)
Mr. Chaiwat Tawarungruang
ระบบการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว
สรุปผลการตรวจราชการฯ กรณีปกติ รอบที่ 2/2561
แนวทาง/ทิศทางการดำเนินงานด้านสุขภาพจิตและจิตเวชในวัยเด็กและวัยรุ่น
แนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 การพัฒนาศักยภาพตามกลุ่มวัย
NCD W E C A N D O Long term care (LTC) Watbot Health Team.
ยินดีต้อนรับ ทีมเยี่ยมเสริมพลัง พชอ. (AI)
ผลการดำเนินงาน ตามแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ.2560 –
บูรณาการตามกลุ่มวัย 5 กลุ่มวัย
กลุ่มงาน ส่งเสริม ควบคุมโรค โรคไม่ติดต่อ ทันตฯ
โครงการให้บริการที่ดีที่สุดประจำปีงบประมาณ พ.ศ ที่มีความโดดเด่น
การประชุมเชิงปฏิบัติการติดตามเยี่ยมเสริมพลัง เพื่อรับฟังการวิเคราะห์แนวทางวางแผนปฏิบัติงาน และนำเสนอผลการดำเนินงานพื้นที่ดำเนินงาน ระบบการดูแลระยะยาวด้านสาธารณสุขสำหรับผู้สูงอายุ
การปฏิบัติงานด้านสาธารณสุข ปี ๒๕๖๑ จังหวัดสกลนคร ครั้งที่ ๑
เขตสุขภาพที่ 10 สรุปผลการตรวจราชการ รอบที่ 1 ปี 61
ผลงานตามโครงการพระราชดำริ โครงการ TO BE NUMBER ONE 1
โปรแกรม District Health Data Center เพื่อการบริหารจัดการข้อมูล 43 แฟ้ม ระดับอำเภอ และ CUP ( DHDC ) 25 – 26 กรกฎาคม 2561 ห้องประชุม สำนักงานสาธาณสุขจังหวัดลำพูน.
การดูแลผู้สูงอายุระยะยาว
ยุทธศาสตร์ที่ 2 พัฒนาและจัดระบบบริการที่มีคุณภาพ ตามมาตรฐาน.
ศูนย์อนามัยที่ 11 นครศรีธรรมราช
การพัฒนา รพ.สต.ตำบลคุณภาพ (ศูนย์เรียนรู้ด้าน IT)
นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการพิเศษ
การประชุมเชิงปฏิบัติการ เตรียมความพร้อมรับการประกวดจังหวัดและชมรม TO BE NUMBER ONE จังหวัดศรีสะเกษ ปีงบประมาณ 2562.
สรุปผลการดำเนินงานการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาว (Long Term Care)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

กลุ่มงาน ส่งเสริม ควบคุมโรค โรคไม่ติดต่อ ทันตฯ การบูรณาการกลุ่มวัย กลุ่มงาน ส่งเสริม ควบคุมโรค โรคไม่ติดต่อ ทันตฯ

กลุ่มสตรีและเด็ก

ประเด็นปัญหาสุขภาพ ฟันผุในเด็ก ๐-๓ ปี

สถานะสุขภาพช่องปากเด็กอายุ 18-24 เดือน เกณฑ์ฟันผุ 3 ปี 57 %

ข้อเสนอแนะ ๑.บูรณาการกับกลุ่มงานเวชในกระบวนการดูแลงานคลินิกเด็กดีWCC ๒.การทำงานเชิงรุกFamily care Team

โรคติดต่อในเด็ก โรคปอดบวม โรคไข้หวัดใหญ่ โรคอุจารระร่วง มือเท้าปาก ประเด็นปัญหาสุขภาพ โรคติดต่อในเด็ก โรคปอดบวม โรคไข้หวัดใหญ่ โรคอุจารระร่วง มือเท้าปาก

ข้อมูลโรค มือ เท้า ปาก คชสารกลาง   โรคมือ เท้า ปาก อำเภอ อัตราป่วยมัธฐาน ๕ ปี ย้อนหลัง ปี ๒๕๕๗ ปี ๒๕๕๘ (มค-มีค.) จำนวน อัตราป่วย ๔.อยุธยา ๑๒ ๘.๕ ๑๗ ๑๒.๑ ๑๑ ๗.๘ ๕.บางบาล ๐ ๑ ๒.๙ ๒ ๕.๘ ๖.อุทัย ๔.๐๘ ๑๘ ๓๖.๗ ๕ ๑๐.๒

ข้อมูลโรคไข้หวัดใหญ่คชสารกลาง อำเภอ อัตราป่วยมัธยฐาน ๕ ปี ย้อนหลัง ปี ๒๕๕๗ ปี ๒๕๕๘ (มค-มีค)   จำนวน อัตราป่วย  อัตราป่วย ๔.อยุธยา ๑๕๐ ๑๐๗.๓๓ ๓๔๗ ๒๔๘.๒๙ ๓๙๔ 281.92 ๕.บางบาล ๑๕ ๔๓.๕๒ ๔๕ ๑๓๐.๕๖ ๖๕  188.59 ๖.อุทัย ๑๔ ๒๘.๖๐ ๕๓ ๑๐๘.๒๙ ๒๒  44.95

อัตราป่วยมัธฐาน ๕ ปี ย้อนหลัง โรคปอดบวมคชสารกลาง อำเภอ อัตราป่วยมัธฐาน ๕ ปี ย้อนหลัง ปี ๒๕๕๗ ปี ๒๕๕๘ (มค-มีค)   จำนวน อัตราป่วย ๔.อยุธยา ๔๐๗ ๒๙๑.๒๓ ๔๒๔ ๓๐๓.๓๙ ๒๐๒ ๑๔๔.๕๔ ๕.บางบาล ๔๖ ๑๓๓.๔๖ ๕๖ ๑๖๒.๔๘ ๔๒ ๑๒๑.๘๖ ๖.อุทัย ๘๐ ๑๖๓.๔๖ ๗๔ ๑๕๑.๒๐ ๓๐ ๖๑.๓๐

ข้อเสนอแนะ ศูนย์เด็กเล็กคุณภาพ ๑.มีการตกลงร่วมกันของผู้ปกครองว่าถ้ามีเด็กป่วยไม่ ต้องให้เด็กมา ๒.ควรมีการคัดกรองสุขภาพเด็กทุกเช้าเพื่อรีบคัดแยก เด็กป่วย ๓.แนะให้ให้ครูใช้ACL-gel หลังจากสัมผัสเด็ก ๔.ขอรับสนับสนุนงบประมาณขอวัสดุ/อุปกรณ์ ควบคุมโรค

กลุ่มวัยเรียน

เริ่มอ้วน และอ้วน เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง (ไม่เกินร้อยละ๑๐) ประเด็นปัญหาสุขภาพ เริ่มอ้วน และอ้วน เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง (ไม่เกินร้อยละ๑๐)

เด็กนักเรียน (อายุ 5-14 ปี) มีภาวะอ้วน โซนคชสารกลาง ร้อยละ ฐานข้อมูล Data center สสจ.อยุธยา เทอม 2/2556 (ต.ค. – พ.ย.) เทอม 1/2557 (พ.ค. – ก.ค.) เทอม 2/2557 (ต.ค. – ธค.)

ข้อเสนอแนะ ๑.ให้หน่วยงานสาธารณสุขประชุมครูแนะแนว/ครูอนามัย โรงเรียนเพื่อให้ครูไปชี้แจงผู้ปกครองในวันปฐมนิเทศ ๒.มีการจัดทำโครงการแก้ไขปัญหาเด็กมีภาวะเริ่มอ้วน/อ้วน และติดตามประเมินผลการดำเนินงาน ๓.ดำเนินการชั่งน้ำหนัก/วัดส่วนสูงและคีย์ข้อมูลตาม ระยะเวลาที่กำหนด ปีละ ๒ ครั้ง ภาคเรียนที่ ๑(พค.,-กค.) ภาคเรียนที่ ๒ (ตค.-ธค)

กลุ่มวัยรุ่น

ประเด็นปัญหาสุขภาพ อัตราการคลอดมีชีพของหญิงอายุ ๑๕-๑๙ ปี มีแนวโน้มสูงขึ้น (๕๐ต่อพันประชากร)

ที่มา:ข้อมูลจาก 43 แฟ้มของ สสจ.พระนครศรีอยุธยา

ข้อเสนอแนะ -ให้ดำเนินการอำเภออนามัยเจริญพันธุ์ให้ผ่านเกณฑ์ ๑ อำเภอ ปี ๒๕๕๘ -คชสารกลาง- บางบาล -ผ่านแล้ว-พระนคร,อุทัย ขอให้มีการดำเนินการอย่างต่อเนื่อง

อายุ ๑๕-๒๔ ปีรับการบำบัดร้อยละ๓๔.๒ ประเด็นปัญหาสุขภาพ ยาเสพติด อายุ ๑๕-๒๔ ปีรับการบำบัดร้อยละ๓๔.๒

ข้อเสนอแนะ -ป้องกันโดยใช้กิจกรรม TO BE NUMBER ONE ในโรงเรียน,ชุมชน - จัดตั้งศูนย์เพื่อนใจวัยรุ่น หรือ Friend Corner ในโรงเรียน

กลุ่มวัยทำงาน

ประเด็นปัญหาสุขภาพ โรคเรื้อรัง -อัตรารายใหม่สูงขึ้น -อัตราตายด้วยโรคหัวใจขาดเลือดสูงขึ้น -อัตราการควบคุมน้ำตาลในเลือดและความดันโลหิตได้ดียังต่ำ

เป้าหมายการดำเนินงาน ลดอัตราตาย ลดอัตราผู้ป่วยรายใหม่ เพิ่มอัตรา Good Control สนับสนุนการจัดการตนเอง การจัดการเชื่อมโยงชุมชน Treatment & Change Behavior การจัดการ Risk factor

ยาเสพติด ประเด็นปัญหาสุขภาพ ช่วงอายุผู้เข้ารับการบำบัดมากที่สุด ๒๕-๕๙ ปี ร้อยละ ๖๘.๘๒

ข้อเสนอแนะ ๑.การบำบัดรักษายาเสพติด -ติดตามระหว่างบำบัดและภายหลังการบำบัดในการวางแผนการดำเนินงาน(ดำเนินการภายในคปสอ. จนท.รพ. สสอ.รพสต.และอสม.) -การดำเนินเกณฑ์การประเมินและรับรองคุณภาพสถานพยาบาลยาเสพติด(HAยาเสพติด) ๒.การป้องกันยาเสพติด กิจกรรมTO BE NUMBER ONE ในชุมชน,สถานประกอบการ

กลุ่มวัยสูงอายุ

ประเด็นปัญหาสุขภาพ ๑.การบูรณาการคัดกรองผู้สูงอายุ(ร้อยละ ๖๐ ) และการแก้ไขปัญหาสุขภาพผู้สูงอา

ข้อเสนอแนะ ๑.เพิ่มเติมทักษะในการคัดกรองให้กับ อสม. ก่อนออกคัดกรอง ผู้สูงอายุ ๒. CUPการสนับสนุนอุปกรณ์/เอกสารในการเก็บข้อมูล๓.ส่งเสริมกิจกรมผู้สูงอายุระยะยาว(LTC) ให้ครอบคลุมเพิ่มขึ้น

อาหารปลอดภัย ตรวจโดยรถMOBILEที่สสจ.ส่งไปช่วย ตรวจอาหารใน รร. ตกมาตรฐาน ร้อยละ 6.17 บอแร็กซ์ รร.อยุธยานุสรณ์ coliform ในตู้น้ำดื่ม รร.วัดรัตนชัย น้ำมันทอดซ้ำที่คลองตะเคียน ฟอร์มาลีนในตลาดหัวรอ

ประสานอปท.เพื่อแก้ไขปัญหา ข้อเสนอแนะ ประสานอปท.เพื่อแก้ไขปัญหา

สถานการณ์สิ่งแวดล้อมและสุขภาพ ของจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ปัจจุบันสถานการณ์ปัญหามลพิษทางสิ่งแวดล้อม ส่งผลกระทบต่อสุขภาพอนามัยของประชาชนมีความรุนแรงเพิ่มมากขึ้น อันเนื่องมาจากมลพิษที่ปล่อยออกจากครัวเรือน ชุมชน โรงงาน และสถานประกอบการ จากการประเมินผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชน ในจังหวัดพระนครศรีอยุธยาที่สำคัญ พบว่า 1.ปัญหาขยะทั่วไป ขยะติดเชื้อ และของเสียอันตราย มีบ่อขยะจำนวน 23 บ่อ ปริมาณขยะ วันละ 1,230 ตัน/วัน วิธีการกำจัดขยะส่วนใหญ่ คือ กองบนพื้นในที่โล่งโดยไม่ถูกสุขลักษณะ 2. ปัญหามลพิษจากท่าขนถ่ายสินค้า

สถานการณ์บ่อขยะของจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ลำดับ สถานที่กำจัด ปริมาณขยะ วิธีกำจัด เจ้าของ 1. ต.บ้านป้อม อ.อยุธยา(ปัจจุบันไม่มีบ่อขยะแห่งนี้ แล้ว เปลี่ยนเป็นบ่อขยะที่ตำบลมหาพราหมณ์ อ.บางบาล เป็นระบบฝังกลบถูกหลักสุขาภิบาล) 140 ตัน/วัน กองบนพื้น (Open Dumping) เทศบาลนครฯ มีอปท.มาทิ้งรวม จำนวน 15 แห่ง ราชภัฎ 1 แห่ง 2. ต.สามกอ อ.เสนา 53 ตัน/วัน ท.เสนา มี อปท.มาทิ้งรวม 14 แห่ง โรงงานเบียร์ทิพย์ 1 แห่ง 3. บ้านโพธิ์เอน ต.โพธิ์เอน อ.ท่าเรือ 30 ตัน/วัน ท.ท่าเรือ มีอปท.มาทิ้งรวม 5 แห่ง บริษัท 3 แห่ง รพ.ท่าเรือ 1 แห่ง 4. ม.11 ต.ศาลาลอย อ.ท่าเรือ 10 ตัน/วัน ท.ท่าหลวง มีอปท.มาทิ้งรวม 5 แห่ง 5. ม. 3 ต.บางระกำ อ.นครหลวง 25 ตัน/วัน ท.นครหลวง มีอปท.มาทิ้งรวม 3 แห่ง 6. บ.หนองผีหลอก ม.1 ต.ภาชี อ.ภาชี 3 ตัน/วัน ท.ภาชี 7. ม.12 ต.อุทัย อ.อุทัย 15 ตัน/วัน ท.อุทัย 8. บ.เจ้าเสด็จ ม.2 ต.เจ้าเจ็ด อ.เสนา 4 ตัน/วัน ท.เจ้าเจ็ด 9. บ.ล่าง ม.1 ต.บางนมโค อ.เสนา 8 ตัน/วัน 10. ม.1 ต.ลาดบัวหลวง อ.ลาดบัวหลวง 1.2 ตัน/วัน ท.ลาดบัวหลวง 11. ม.4 ต.สามเมือง อ.ลาดบัวหลวง 5 ตัน/วัน ท.สามเมือง 12. บ.ช้างใหญ่ ม.2 ต.ช้างใหญ่ อ.บางไทร 6 ตัน/วัน ท.ราชคราม

สถานการณ์บ่อขยะของจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ลำดับ สถานที่กำจัด ปริมาณขยะ วิธีกำจัด เจ้าของ 13. ม.2 ต.พิตเพียน อ.มหาราช 3 ตัน/วัน กองบนพื้น ท.โรงช้าง 14. ม.3 ต.บางระกำ อ.นครหลวง 6 ตัน/วัน ท.บางปะหัน 15. บ.หนองตาบัว ม.5 ต.บ้านสร้าง อ.บางปะอิน 12 ตัน/วัน ท.บ้านสร้าง 16. ม.5 ต.ลำตาเสา อ.วังน้อย 40 ตัน/วัน ท.ลำตาเสา 17. บ.บางระกำ ม.3 ต.บางระกำ อ.นครหลวง 8 ตัน/วัน อบต.แม่ลา 18. 60/1 ม.5 ต.บางพลี อ.บางไทร 45 ตัน/วัน กองบนพื้นที่มีการควบคุม(Controlled Damp) เอกชน (อยู่ในพื้นที่ ท.บางไทร) รับขยะทั้งภาครัฐและเอกชน 19. ม.12 ต.อุทัย อ.อุทัย 70 ตัน/วัน (Open Dumping) เอกชน (อยู่ในพื้นที่ อบต.อุทัย)รับขยะจากท.อโยธยาและจังหวัดใกล้เคียง 20. ม.11 ต.เชียงรากน้อย อ.บางปะอิน 60ตัน/วัน เอกชน (อยู่ในพื้นที่ ท.เชียงรากน้อย) รับขยะจากท.ลำตาเสา อ.วัน้อย ,ท.เชียงรากน้อย และหน่วยงานอื่นภายในจังหวัดฯ

สถานการณ์บ่อขยะของจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ลำดับ สถานที่กำจัด ปริมาณขยะ วิธีกำจัด เจ้าของ 21. -ม.7,ม.10,12 ต.กุฎี อ.ผักไห่ 0.9 ตัน/วัน เตาเผาขยะขนาดเล็ก จำนวน 3 ที่ อบต.กุฎี อ.ผักไห่ 22. -วัดบ้านหีบ ต.บ้านหีบ อ.อุทัย - วัดนางชี ต.บ้านหีบ อ.อุทัย 3 ตัน/วัน/เตา เตาเผาขยะขนาดเล็ก จำนวน 2 ที่ อบต.บ้านหีบ อ.อุทัย 23. -ม.3,ม.4 ต.พระแก้ว อ.ภาชี 1.1 ตัน/วัน อบต.พระแก้ว อ.ภาชี

ข้อเสนอแนะ ๑.อำเภอจะต้องประสานงานกับอปทในการดำเนินการเฝ้าระวังและควบคุมเหตุราญตามพรบ สาธารณสุข ๒.วางแผนร่วมกับอปท ในการจัดซื้อวัสดุ อุปกรณ์ในการดำเนินการควบคุม