จุดมุ่งหมายทางการศึกษา และ จุดประสงค์การเรียนรู้

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
จุดมุ่งหมายทางการศึกษา และ จุดประสงค์การเรียนรู้
Advertisements

การจัดทำแผนปฏิทินการจัดการความรู้ และแผนในการติดตามประเมินผลการจัดการความรู้ E:\ประกันคุณภาพ\ppt\ดูงาน\12-PPT_เสนอ_ครุศาสตร์_จุฬา_19_11_50.ppt.
การเขียนโครงร่างวิจัย
โดย นางสาวนิภาพร เถาคำแก้ว วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก (อี.เทค.)
บทที่ 3 หลักฐานการสอบบัญชีและการตรวจสอบ
วัตถุประสงค์การจัด นิทรรศการ พุทธพิสัย ความรู้ ความจำ ความเข้าใจ วิเคราะห์ สังเคราะห์และประเมินคุณค่า เจตพิสัย ความรู้สึก ความสนใจ อารมณ์ ทัศนคติ ค่านิยม.
การออกแบบหน่วยการเรียนรู้แบบย้อนกลับ (Backward Design)
คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI)
วิชา หลักการตลาด บทที่ 3
พฤติกรรมการสอนคณิตศาสตร์ (Teaching Behavior in Mathematics)
ผู้วิจัย : นางธนิตา ขาวทอง วิทยาลัยอาชีวศึกษาบริหารธุรกิจวิทยา สงขลา
Chapter I พฤติกรรมผู้บริโภค.
วิธีการและเทคนิค การตรวจสอบ และการรายงาน ผลการตรวจสอบ ( Auditing )
บทที่2 การวางแผนการผลิตและกำลังการผลิต
กระบวนการถ่ายทอดความรู้
หลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติเกี่ยวกับ การประกันคุณภาพภายในการอาชีวศึกษา พ. ศ
การพัฒนาการจัดการเรียนรู้แบบ รายบุคคลทางการคำนวณและ การใช้สูตรฟังชั่นอย่างง่ายโดย โปรแกรม Microsoft Excel ในวิชาคอมพิวเตอร์และสารสนเทศ เพื่องานอาชีพ ผู้วิจัย.
KPI 8 : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาบุคลากร น้ำหนัก :ร้อยละ 5 KPI ๑๐ : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาปรับปรุง วัฒนธรรมองค์การ น้ำหนัก : ร้อยละ 3 กองการเจ้าหน้าที่
“ การประเมินผลการ ปฏิบัติงาน ของพนักงานส่วน ท้องถิ่น ” ในระบบจำแนก ตำแหน่งเป็นประเภท ตามลักษณะงาน จัดทำโดย ฝ่ายส่งเสริมและ พัฒนาบุคลากร กองการเจ้าหน้าที่
ที่มา : ศ. ดร. ชาญ ณรงค์ พรรุ่งโรจน์. 6 จุดเริ่มต้น ของการประกัน คุณภาพ การประกันคุณภาพ เริ่มต้นที่ความ พยายามของ ผู้บริหาร ครู และ ผู้เข้ารับการอบรม.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการใช้โปรแกรมนำเสนอข้อมูล เรื่องการเชื่อมโยง ภาพนิ่ง ด้วยโปรแกรม Powerpoint2007 โดยใช้ สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI ของนักเรียนระดับชั้น.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
ความคืบหน้า การจัดทำฐานข้อมูลด้าน ความมั่นคง ระเบียบวาระ ที่ ๓. ๑.
แนวทาง การวัดและประเมินผล “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้” สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ.
บทที่ 3 นักวิเคราะห์ระบบและการ วิเคราะห์ระบบ. 1. นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis) 1.1 ความหมายของนักวิเคราะห์ระบบ นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis:
1. ด้าน หลักสูตร. จุดเน้นกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ คุณภาพผู้เรียน “ คุณภาพผู้เรียน ที่ระบุในจุดเน้นมีอยู่ แล้วในหลักสูตร.
ปรานอม ประทีปทวี 25/09/591 หน้าที่ของครูผู้นิเทศ สพม.5.
ง21101 การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม. 1 เจตคติต่อการประกอบอาชีพ
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
การเสริมไวตามิน อี ในสูตรอาหารสุกร
เรื่อง ความพึงพอใจต่อการให้บริการห้องสมุด
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
งาน Road Map ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตรปี 2560
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
การประเมินผลการปฏิบัติงาน
การประเมินวิทยฐานะ (ว 21/2560)
“ปฏิบัติการสู่ชำนาญการ”
ขั้นตอนการออกแบบ ผังงาน (Flow Chart)
ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๐ ผู้สอน : คุณครูภาคภูมิ คล้ายทอง
เปิดบ้าน ชื่อโรงเรียน วันที่.
นโยบายการขับเคลื่อน การสร้างเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพของคนไทย ยุค 4.0
แนวคิดเกี่ยวกับระบบสารสนเทศ
ผังมโนทัศน์สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
องค์กรตรวจสอบการทำงานภาครัฐ (สตง. / ปปช. / ปปท. )
การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพบุคลากรทางการศึกษาด้านการสอบด้วยคอมพิวเตอร์ (Computer-based Assessment) การรู้เรื่องการอ่าน ด้านคณิตศาสตร์และด้านวิทยาศาสตร์
นางสาวปัณยตา หมื่นศรี
การออกแบบ แผนการสอน (มคอ.3) แบบ COPYRIGHT BY CHITTAKHUP.
วัฏจักรหิน วัฏจักรหิน : วัดวาอาราม หินงามบ้านเรา
สัมมนาเชิงปฏิบัติการหลักสูตรการฝึกยกระดับฝีมือแรงงาน
การวัดและประเมินผลด้านพุทธิพิสัย (ตามลำดับขั้นการเรียนรู้ของ Benjamin Bloom) รศ. บรรพต พรประเสริฐ.
การวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัด
ความหมาย ความสำคัญ และจุดมุ่งหมายของการศึกษา
ประวัติวิทยากร ปริญญาเอก ศึกษาศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต ดร.วัชรศักดิ์ สงค์ปาน
แนวคิดทฤษฎี ที่เกี่ยวกับการประเมินภาคปฏิบัติ
การวัดพฤติกรรมทางด้านทักษะพิสัย
การวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัด
พฤติกรรมมนุษย์เพื่อการพัฒนาตน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การกำหนดประเด็นปัญหา
การวิเคราะห์ มาตรฐานและตัวชี้วัด เพื่อ กำหนดจุดประสงค์การเรียนรู้
รายงานผลการดำเนินงาน ด้านความรับผิดชอบต่อสังคม
การวัดและประเมินผลด้านพุทธิพิสัย (ตามลำดับขั้นการเรียนรู้ของ Benjamin Bloom) รศ. บรรพต พรประเสริฐ.
การสร้างแบบทดสอบ อาจารย์ ปรีชา เครือวรรณ อาจารย์ สมพงษ์ พันธุรัตน์
ความสำคัญ ของคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
การวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัด
ADDIE model หลักการออกแบบของ
หน่วยที่ 4 การสร้างเครื่องมือ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

จุดมุ่งหมายทางการศึกษา และ จุดประสงค์การเรียนรู้ (Educational Objectives & Learning Objectives)

พุทธิพิสัย (Cognitive domain) เป็นจุดมุ่งหมาย ที่ต้องการพัฒนาความสามารถทางสมอง หรือ สติปัญญาของผู้เรียน การประเมินค่า การสังเคราะห์ การวิเคราะห์ การนำไปใช้ ความเข้าใจ ความรู้-ความจำ

จิตพิสัย (Affective domain) เป็นจุดมุ่งหมาย ที่ต้องการพัฒนาความรู้สึกนึกคิด หรือ จิตใจของผู้เรียน การสร้างลักษณะคุณค่า การจัดระบบคุณค่า การให้คุณค่า การตอบสนอง การรับรู้

ทักษะพิสัย (Psychomotor domain) เป็นจุดมุ่งหมาย ที่ต้องการพัฒนาความในการปฏิบัติ โดยใช้กลไกต่างๆ ของร่างกาย กระทำได้อย่างธรรมชาติ กระทำอย่างต่อเนื่อง ความแม่นยำ การจัดทำ การเลียนแบบ

จุดมุ่งหมายเชิงพฤติกรรม พฤติกรรมคาดหวัง (expected behavior) สถานการณ์ (situation) เกณฑ์ (criteria)

การพิจารณากำหนดเกณฑ์ ระดับความสามารถของกลุ่มผู้เรียน ความยาก ง่าย ของเนื้อหา ความสำคัญของเนื้อหา หลักจิตวิทยา

จุดมุ่งหมายทางการศึกษา ด้านพุทธิพิสัย (Cognitive domain) จำแนกออกเป็น 1.00 ความรู้ความจำ 2.00 ความเข้าใจ 3.00 การนำไปใช้ 4.00 การวิเคราะห์ 5.00 การสังเคราะห์ 6.00 การประเมินผล ง่าย ยาก

คำที่แสดงการกระทำจำแนกตามระดับต่างๆ ของจุดมุ่งหมายทางการศึกษาด้านพุทธิพิสัย 1.00 ความรู้-ความจำ บอก บ่งชี้ บรรยาย แยกประเภท จัดลำดับ ระบุ ให้ตัวอย่าง ให้นิยาม ให้เครื่องหมาย 2.00 ความเข้าใจ แปล เปลี่ยนรูป ใช้ภาษาของตนเอง ยกตัวอย่าง ตีความ บอก จัดเรียงใหม่ ทำนาย กะประมาณ ขยาย คาดคะเน ลงสรุป 3.00 การนำไปใช้ บอก ใช้ คำนวณ เลือก สร้าง เสนอ แก้ปัญหา ผลิต แสดง ดัดแปลง สาธิต เตรียม

คำที่แสดงการกระทำจำแนกตามระดับต่างๆ ของจุดมุ่งหมายทางการศึกษาด้านพุทธิพิสัย 4.00 การวิเคราะห์ บอก บ่ง จำแนก สกัด ค้นหา แยกแยะ บอกความแตกต่าง-คล้ายคลึง ลงสรุป จัดประเภท ประมาณราคา จัดจำพวก ตั้งคำถาม ทดสอบ 5.00 การสังเคราะห์ บอก เขียน สร้าง แก้ไข รวบรวม ประกอบ ขยาย ริเริ่ม ผลิต วางโครงการ เสนอ ออกแบบ ปรับปรุง พัฒนา อนุมาน พิสูจน์ ค้นหา 6.00 การประเมินผล ตัดสิน ประเมิน โต้แย้ง ใช้เกณฑ์วิพากษ์วิจารณ์ ชี้ขาด พิจารณา เปรียบเทียบ ให้คะแนน ใช้เกณฑ์เปรียบเทียบ บ่งเหตผล บ่งความสอดคล้อง

ตัวอย่างจุดมุ่งหมายเชิงพฤติกรรม เมื่อกำหนดคำให้ 20 คำ สามารถแยกได้ว่า คำใดเป็น คำเป็น-คำตาย ได้อย่างถูกต้อง สามารถแบ่งครึ่งมุมที่กำหนดให้โดยไม่ต้องใช้วงเวียน เมื่อตั้งคำถามว่าทำไมน้ำทะเลจึงเค็ม นักเรียนสามารถตั้ง สมมติฐานที่แสดงถึงสาเหตุได้อย่างน้อย 2 สมมติฐาน แก้ไขประโยคที่ใช้ article ผิดที่กำหนดให้ได้ถูกต้องทั้ง 10 ประโยค

ตัวอย่างการวิเคราะห์เนื้อหา วิชาหลักภาษาไทย 1. ความรู้เกี่ยวกับภาษาไทย 2. ประวัติอักษรไทย 3. ลักษณะสำคัญของภาษาไทย 4. คำและความหมายของคำ 5. หน้าที่ของคำเมื่อเข้าประโยค 6. แบบแผนของคำประพันธ์ประเภทกาพย์

ตัวอย่างจุดมุ่งหมายเชิงพฤติกรรม เรื่อง ลักษณะสำคัญของภาษาไทย 1. บอกลักษณะสำคัญของภาษาได้ 2. ระบุได้ว่าคำใดเป็นคำโดดหรือคำประสม 3. ยกตัวอย่างคำที่ทำหน้าที่ได้หลายอย่าง อย่างน้อย 4 คำ 4. บอกตำแหน่งของคำขยายในภาษาไทยได้ 5. บอกตำแหน่งของลักษณะนามในภาษาไทยได้ 6. บอกลักษณะแตกต่างระหว่างภาษาไทยกับ ภาษาบาลีหรือภาษาสันสกฤต และภาษาอังกฤษ ได้

ตัวอย่างจุดมุ่งหมายเชิงพฤติกรรม เรื่อง คำและความหมายของคำ 1. สามารถจำแนกระบบเสียงในภาษาไทยได้ 2. จำแนกรูป เสียง ของพยัญชนะ สระ วรรณยุกต์ ได้ 3. จำแนกคำที่ใช้สระลดรูปและเปลี่ยนรูปได้ 4. จำแนกเสียงของคำที่ไม่ปรากฏรูปวรรณยุกต์ และ ปรากฏรูปวรรณยุกต์ได้ 5. วิเคราะห์องค์ประกอบของคำในภาษาไทยได้ 6. บอกได้ว่าคำที่กำหนดให้ เป็นคำประสมแบบใด

ตัวอย่างจุดมุ่งหมายเชิงพฤติกรรม เรื่อง คำและความหมายของคำ 7. บอกข้อแตกต่างระหว่างคำประสมสามส่วน สี่ส่วน สี่ส่วนพิเศษ และห้าส่วนได้ 8. บอกสาเหตุที่คำไทยมีหลายพยางค์ได้ 9. วิเคราะห์คำที่มีความหมายโดยตรงและ ความหมายโดยนัยได้ 10. อธิบายได้ว่าเสียงวรรณยุกต์มีอิทธิพลต่อ ความหมายของคำ

ตัวอย่างจุดมุ่งหมายเชิงพฤติกรรม เรื่อง คำและความหมายของคำ 11. สามารถยกตัวอย่างคำที่มีความหมายเปรียบเทียบได้ อย่างน้อย 10 สำนวน 12. จำแนกคำไทย บาลี สันสกฤต ได้ 13. บอกความหมายของคำตามตำแหน่งที่วางไว้ ในประโยคได้