การปรับโครงสร้างและอัตรากำลัง ของกรมการข้าว

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ระยะเวลา 5 ปี (ระหว่างปี )
Advertisements

แนวทางการบริหารจัดการเวลาเรียน “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้”
1. ภาวะ ผู้นำ วิสัยทัศน์ เป้าหมาย พันธกิจ ยุทธศาส ตร์ 1) วิเคราะห์ สังเคราะห์ (SWOT) 2) กำหนดวิสัยทัศน์, พันธกิจ 3) นวัตกรรม BSC, KM 4) การมีส่วนร่วม.
ระบบการส่งเสริมการเกษตรแปลงใหญ่ ปี 2558 ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้เกิดความร่วมมือในการผลิตโดยเกษตรกร และ / หรือองค์กรเกษตรกรในพื้นที่และกิจกรรม.
ผลผลิตที่ 1 สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรได้รับการตรวจสอบบัญชี
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษา เขต คัดเลือกโรงเรียนนำร่องรุ่นที่ 1 จำนวน ร้อยละ 10 ของโรงเรียนในสังกัด (43 โรงเรียน ) จำนวน 4 โรงเรียน -
อาจารย์จงกลนี วิทยารุ่งเรืองศรี ผู้ทรงคุณวุฒิ สสส. ผู้จัดการโครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส สถาบันสร้างเสริมวิถีบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพ.
รายงานความก้าวหน้าครั้งที่ .... (รอบ ... เดือน)
ทิศทางการปฏิบัติงานกรมตรวจบัญชีสหกรณ์ ปีงบประมาณ 2561
ภารกิจ ศธภ./ศธจ..
ผลการดำเนินงาน ปีงบประมาณ 2560 และ แผนงานและงบประมาณ ปีงบประมาณ 2561
แผนพัฒนาการเกษตรของสำนักงานเกษตรอำเภอบางปะหัน ปี 2560
ชวนคิดชวนคุยลุยงาน สุขาภิบาลอาหารและน้ำ
หนองบัวลำภู นายทรงเดช ทิพย์โยธา -ว่าง- นายเฉลิมชัย เรืองนนท์
การดำเนินงาน คณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ
กรณีตัวอย่าง : ส้มโอแปลงใหญ่ประชารัฐ อำเภออัมพวา จังหวัดสมุทรสงคราม
ทิศทางโลจิสติกส์และการคมนาคมขนส่ง ในยุคประเทศไทย 4.0
พัฒนาระดับภาค ๖ ภาค การจัดทำแผน ปีงบประมาณ ๒๕๖๑
รวบรวมข้อมูลโดย กลุ่มแผนงานงบประมาณอุดมศึกษา สำนักนโยบายและแผนการอุดมศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา.
ทิศทางการดำเนินงาน ของกรมการข้าว ปี 2561
25/02/62 Equality Human dignity Human Rights Pitak kerdhom.
กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการปศุสัตว์ ตัวชี้วัดปศุสัตว์อำเภอ รอบที่ 1/61
สัมมนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ระดับจังหวัด จังหวัดสระบุรี ๑๗ พฤศจิกายน ๒๕๕๘
นโยบาย กรมส่งเสริมการเกษตร ประจำปี ๒๕๕๙
ยินดีต้อนรับ ผู้มาเยี่ยมเยียนทุกท่าน
ประชุมคณะอนุกรรมการพัฒนาการเกษตร และสหกรณ์ระดับจังหวัด ครั้งที่ 5/2561 วันอังคารที่ 11 กันยายน 2561 เวลา – น. ณ ห้องประชุมสุพรรณิการ์ ศาลากลางจังหวัดอุทัยธานี
ลูกรัก เก่ง ฉลาด ด้วย 3 ดี
แผนยุทธศาสตร์สุขภาพ 20 ปี จังหวัดสระแก้ว ( )
แนวทางการขับเคลื่อน Thailand 4.0 ของรัฐบาล.
สถาบันพัฒนาบุคลากรด้านการพัฒนาเมือง
แนวทางการดำเนินงานเสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพองค์กรเกษตรกร ปี 2559
แผนขับเคลื่อนการดำเนินงานส่งเสริมการเกษตร ประจำปีงบประมาณ 2561
การประชุม โครงการบูรณาการข้อมูลกลาง มหาวิทยาลัยขอนแก่น ครั้งที่ 19
การดำเนินงานส่งเสริมพัฒนาการเด็ก เขตสุขภาพที่ 5
ลำพูน นายพงษ์ธาดา แก้วกมล หัวหน้ากลุ่มงานวิชาการโยธาธิการ
สงขลา นายไมตรี สรรพสิน นางฐาปณี รสสุคนธ์ นายพิชัย อุทัยเชฏฐ์
สำนักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ที่ 3
แนวทางการจัดทำ งบประมาณ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563
สถาบันพัฒนาบุคลากรด้านการพัฒนาเมือง
ลงพื้นที่ตรวจราชการจังหวัดสุโขทัย รอบที่ ๒/๒๕๖๑
กรอบแนวทางในการจัดทำงบประมาณ แผนยุทธศาสตร์แบบบูรณาการ
ภาพรวมการขับเคลื่อนงานในฐานะ Chief of Operation และ Operation Team
กรอบการบริหารยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพ ปี 2560
กระบวนการวางแผนพัฒนาจังหวัดและการจัดทำคำของบประมาณ
แผนการผลิตรายบุคคล Individual Farm Production Plan (IFPP)
บรรยายการปรับแผนพัฒนาฝีมือแรงงานในมิติ
Thailand 4.0 บทที่ 3 ซอฟต์แวร์ (Software).
อุบลราชธานี นายนิวัตร ชูสมุทร นายชัยศักดิ์ ปิยะประสิทธิ์
สำนักงานสหกรณ์จังหวัดนครนายก
CEO, CCO MIS MIS MIS ณ 2 พค 60 จังหวัดพิจิตร สังคมสุขภาพดี CIPO CIPO
สมุทรสงคราม -ว่าง- นายธีระชาติ ไทรทอง นางภาวดี ภูมรินทร์
การขับเคลื่อนงานส่งเสริมการเกษตร ใน 8 จังหวัดภาคเหนือตอนบน ปี 2561
การติดตามเร่งรัดการเบิกจ่ายงบประมาณ
ความสัมพันธ์ระหว่างรูปเรขาคณิต
เจริญเติบโตเต็มศักยภาพและมีทักษะสุขภาพ
มาตรการเพิ่มประสิทธิภาพ การใช้จ่ายงบประมาณ ปี 2558
แผนการขับเคลื่อน Smart Agricultural Curve ปี 2561 (ระบบส่งน้ำและกระจายน้ำ) กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กรมชลประทาน วันพุธที่ 6 กันยายน 2560.
ผลการดำเนินงานที่สำคัญปี 2560 ตามนโยบายยกกระดาษ A4
กองวิจัยและพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำจืด
การส่งเสริมการจ้างยุวแรงงานและพัฒนาทักษะผู้ต้องขังที่จะพ้นโทษในรูปแบบกลไกประชารัฐ นโยบายเร่งด่วน (Agenda Based) : ส่งเสริมการจ้างยุวแรงงาน เป้าหมาย 10,230.
อธิบายข้อแตกต่างระหว่าง ศูนย์ฯที่ใช้ไฟล์เก่า กับศูนย์ฯที่เริ่มต้นใช้ไฟล์ใหม่ 1 กุมภาพันธ์ 2562.
แผนพัฒนาการเกษตรตำบลแสลงพันปีงบประมาณ ๒๕๖๐ พื้นที่เพาะปลูกพืช เศรษฐกิจ
การพัฒนาสหกรณ์ภาคการเกษตรเป็นองค์กรหลัก ระดับอำเภอ ปี
กลุ่มจัดตั้งและส่งเสริมสหกรณ์
แผนพัฒนาการเกษตรตำบลคำพราน ปีงบประมาณ 2560 พื้นที่เพาะปลูกพืช เศรษฐกิจ
แปลงใหญ่ทั่วไป (ข้าว) ตำบลสองห้อง อำเภอบ้านแพรก จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
แปลงใหญ่ทั่วไป ข้าว ตำบลหันสัง อ.บางปะหัน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
ราชธานีเก่า อู่ข้าวอู่น้ำ เลิศล้ำกานต์กวี คนดีศรีอยุธยา
แนวทางการพัฒนาบุคลากร กรมส่งเสริมการเกษตร
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การปรับโครงสร้างและอัตรากำลัง ของกรมการข้าว โดย...นายกฤษณพงศ์ ศรีพงษ์พันธุ์กุล รองอธิบดีกรมการข้าว การสัมมนาผลการดำเนินงาน ปี 2560 และทิศทางการดำเนินงานของกรมการข้าว ปี 2561 ระหว่างวันที่ 6 – 8 กันยายน 2560 ณ โรงแรมเฟลิกซ์ ริเวอรืแคว รีสอร์ท จังหวัดกาญจนบุรี

พระราโชวาทในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร พระราชทานเนื่องในวันข้าราชการพลเรือนประจำปี พ.ศ. 2560

การปฏิรูปประเทศไทย สู่ Thailand 4.0

จาก ดร. สุวิทย์ เมษินทรีย์ 22 มิ. ย จาก ดร.สุวิทย์ เมษินทรีย์ 22 มิ.ย. 60 (กรอบความคิดเชิงบูรณาการของผู้นำภาครัฐกับการขับเคลื่อนภารกิจ ป.ย.ป. ในยุคประเทศไทย 4.0)

จาก ดร. สุวิทย์ เมษินทรีย์ 22 มิ. ย จาก ดร.สุวิทย์ เมษินทรีย์ 22 มิ.ย. 60 (กรอบความคิดเชิงบูรณาการของผู้นำภาครัฐกับการขับเคลื่อนภารกิจ ป.ย.ป. ในยุคประเทศไทย 4.0)

จาก ดร. สุวิทย์ เมษินทรีย์ 22 มิ. ย จาก ดร.สุวิทย์ เมษินทรีย์ 22 มิ.ย. 60 (กรอบความคิดเชิงบูรณาการของผู้นำภาครัฐกับการขับเคลื่อนภารกิจ ป.ย.ป. ในยุคประเทศไทย 4.0)

จาก ดร. สุวิทย์ เมษินทรีย์ 22 มิ. ย จาก ดร.สุวิทย์ เมษินทรีย์ 22 มิ.ย. 60 (กรอบความคิดเชิงบูรณาการของผู้นำภาครัฐกับการขับเคลื่อนภารกิจ ป.ย.ป. ในยุคประเทศไทย 4.0)

จาก ดร. สุวิทย์ เมษินทรีย์ 22 มิ. ย จาก ดร.สุวิทย์ เมษินทรีย์ 22 มิ.ย. 60 (กรอบความคิดเชิงบูรณาการของผู้นำภาครัฐกับการขับเคลื่อนภารกิจ ป.ย.ป. ในยุคประเทศไทย 4.0)

จาก ดร. สุวิทย์ เมษินทรีย์ 22 มิ. ย จาก ดร.สุวิทย์ เมษินทรีย์ 22 มิ.ย. 60 (กรอบความคิดเชิงบูรณาการของผู้นำภาครัฐกับการขับเคลื่อนภารกิจ ป.ย.ป. ในยุคประเทศไทย 4.0)

ในการสร้างเกียรติภูมิและศักดิ์ศรีในความเป็นชาติให้เกิดขึ้น 4 ประเด็นคำถาม ในการสร้างเกียรติภูมิและศักดิ์ศรีในความเป็นชาติให้เกิดขึ้น ที่คนไทยทุกคนต้องตอบ จาก ดร.สุวิทย์ เมษินทรีย์ 22 มิ.ย. 60 (กรอบความคิดเชิงบูรณาการของผู้นำภาครัฐกับการขับเคลื่อนภารกิจ ป.ย.ป. ในยุคประเทศไทย 4.0)

ภาพรวมยุทธศาสตร์กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

สถานะกรมการข้าว : คน เงิน งาน

ที่มา : กลุ่มบริหารงานบุคคล สำนักบริหารกลาง จำนวน (อัตรา) 2549 2550 2551 2552 2553 2554 2555 2556 2557 2558 2559 2560 979 952 938 933 923 951 1,330 1,232 1,194 1,156 1,117 1,081 1,042 990 946 897 848 745 937 1,054 1,167 1,148 1,159 1,175 1,144 1,116 1,087 1,055 3,246 3,163 3,200 3,261 3,203 3,178 3,150 3,069 3,041 2,964 2,886 2,751 ปี ข้าราชการ ลูกจ้างประจำ พนักงานราชการ รวม ที่มา : กลุ่มบริหารงานบุคคล สำนักบริหารกลาง

จำนวน (อัตรา) ปี ปี

จำนวนข้าราชการกรมการข้าว (สายงาน) ข้อมูล ปี 2560

จำนวนข้าราชการในสายงานบริหาร (3 ตำแหน่ง) นักบริหาร 3 ผู้อำนวยการ 3 ผู้อำนวยการเฉพาะด้าน (วิชาการเกษตร) 4 จำนวนข้าราชการในสายงานหลัก (6 ตำแหน่ง) นักวิชาการเกษตร 458 เจ้าพนักงานการเกษตร 62 นักวิชาการส่งเสริมการเกษตร 75 นักวิทยาศาสตร์ 1 นักวิชาการโรคพืช 4 นักกีฏวิทยา 3 ข้อมูล ปี 2560

จำนวนข้าราชการในสายงานสนับสนุน (18 ตำแหน่ง) เจ้าพนักงานธุรการ 100 นักจัดการงานทั่วไป 34 นายช่างเครื่องกล 34 เจ้าพนักงานการเงินและบัญชี 32 นักวิชาการเงินและบัญชี 27 นายช่างไฟฟ้า 21 นักวิเคราะห์นโยบายและแผน 10 นักทรัพยากรบุคคล 6 นิติกร 4 นักวิชาการเผยแพร่ 4 นักวิชาการคอมพิวเตอร์ 3 นักวิเทศสัมพันธ์ 2 นักวิชาการตรวจสอบภายใน 2 นักวิชาการพัสดุ 2 เศรษฐกร 1 วิศวกรการเกษตร 1 นายช่างภาพ 1 เจ้าพนักงานพัสดุ 1 ข้อมูล ปี 2560

จำนวนข้าราชการกรมการข้าว (ระบบแท่ง) ข้อมูล ปี 2560

จำนวนข้าราชการในแท่งอำนวยการ (2 ประเภท) อำนวยการต้น 1 อำนวยการสูง 6 จำนวนข้าราชการในแท่งบริหาร (2 ประเภท) บริหารต้น 2 บริหารสูง 1 ข้อมูล ปี 2560

จำนวนข้าราชการในแท่งทั่วไป (4 ประเภท) ปฏิบัติงาน 62 ชำนาญงาน 181 อาวุโส 8 ทักษะพิเศษ - จำนวนข้าราชการในแท่งวิชาการ (5 ประเภท) ปฏิบัติการ 210 ชำนาญการ 238 ชำนาญการพิเศษ 181 เชี่ยวชาญ 8 ทรงคุณวุฒิ - ข้อมูล ปี 2560

งบประมาณ ปี 2560-61 27 งบประมาณ (ล้านบาท) กลุ่มงบประมาณ ปี 2560 3,333 1,087 งบประมาณ (ล้านบาท) กลุ่มงบประมาณ ปี 2560 ปี 2561 +เพิ่ม -ลด (ล้านบาท) +เพิ่ม - ลด (ร้อยละ) 1. ภารกิจพื้นฐาน (Function) 1,156.3280 1,120.4859 -35.8421 -3.10 1.1 แผนงานบุคลากรภาครัฐ 787.8794 773.3813 -14.4981 -1.84 1.2 แผนงานพื้นฐานด้านการสร้างความสามารถ ในการแข่งขันของประเทศ 368.4486 347.1046 -21.3440 -5.79 2. ภารกิจยุทธศาสตร์ (Agenda) 57.0838 45.7858 -11.2980 -19.79 2.1 แผนงานยุทธศาสตร์ส่งเสริมการดำเนินงาน ตามแนวทางหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 3. ภารกิจบูรณาการ (Integration) 1,032.7672 2,446.3916 +1,413.6244 +136.88 3.1 แผนงานบูรณาการศักยภาพ การผลิตภาคเกษตร 776.5491 2,197.2163 +1,420.6672 +182.95 3.2 แผนงานบูรณาการขับเคลื่อนการแก้ไขปัญหา จังหวัดชายแดนใต้ 21.6605 22.6925 +1.0320 +4.76 3.3 แผนบูรณาการส่งเสริมการวิจัยและนวัตกรรม 234.5576 226.4828 -8.0748 -3.44 รวมทั้งสิ้น 2,246.1790 3,612.6633 +1,366.4843 +60.84 27

แผนงานโครงการ ปี 2561 (3,612.6633 ล้านบาท) ภารกิจพื้นฐาน 1,120.4859 ล้านบาท ภารกิจยุทธศาสตร์ 45.7858 ล้านบาท แผนงานบุคลากรภาครัฐ773.3813 ล้านบาท แผนบูรณาการขับเคลื่อนการแก้ไขปัญหาจังหวัดชายแดนใต้ 22.6925 ล้านบาท แผนบูรณาการส่งเสริมการวิจัย และนวัตกรรม 226.4828 ล้านบาท โครงการส่งเสริมอาชีพด้านการเกษตรในจังหวัดชายแดนใต้ โครงการวิจัยและพัฒนาข้าว โครงการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยี การผลิตข้าว โครงการส่งเสริมการวิจัยและนวัตกรรม โดยการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ โครงการเพิ่มสมรรถนะเครื่องมือวิทยาศาสตร์วิจัยข้าว โครงการธนาคารเชื้อพันธุ์ข้าว โครงการทดสอบพันธุ์และปัจจัยการผลิตข้าว โครงการผลิตเมล็ดพันธุ์คัดและพันธุ์หลัก โครงการเฝ้าระวังเพื่อเตือนภัยและป้องกันศัตรูข้าว โครงการเพิ่มขีดความสามารถให้แก่ชาวนา โครงการสร้างความเข้มแข็งให้แก่ชาวนาและองค์กรชาวนา โครงการพัฒนาระบบสารสนเทศด้านข้าว โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ และพัฒนาพื้นที่เฉพาะ โครงการพัฒนาพื้นที่โครงการหลวง อนุรักษ์เชื้อพันธุ์ข้าว 25,000 ตัวอย่างเชื้อพันธุ์ ได้เมล็ดพันธุ์คัด/หลัก 3,300 ตัน รายงานสถานการณ์ศัตรูข้าวเพื่อเตือนภัย 52 ครั้ง ชาวนามีขีดความสามารถเพิ่มขึ้น 200,000 ราย และมีเครือข่ายศูนย์ข้าวชุมชน 3,300 แห่ง เกษตรกรเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตข้าว 46,000 ราย 25,420 ไร่ เกษตรกรพัฒนาการผลิตข้าว 5,760 ราย 23,050 ไร่ 1)พันธุ์ข้าว 4 พันธุ์ 2)ได้ชีวภัณฑ์ ควบคุมโรคข้าว 1 รูปแบบ 3)ชุดเทคโนโลยีการ เพิ่มผลผลิตข้าว นาขั้นบันได 1 ชุด 4) ชุดเทคโนโลยี การป้องกันโรค และแมลง 2 ชุด ปริมาณการผลิตข้าวเข้าสู่สมดุลกับอุปสงค์ ต้นทุนการผลิตข้าว ลดลง 1,000 บาทต่อตัน แปลงข้าวได้มาตรฐาน 16,000 แปลง ได้เมล็ดพันธุ์ขยาย/จำหน่าย 82,000 ตัน ได้นวัตกรรมแปรรูปข้าว 5 ผลิตภัณฑ์ ได้ผลผลิตข้าวอินทรีย์ระยะปรับเปลี่ยน 118,000 ตัน ศพก. (ข้าว) ได้รับการพัฒนา 450 แห่ง ได้ Smart Farmer จำนวน 11,250 ราย ชาวนาผลิตข้าวได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงขึ้น ผลผลิตมีคุณภาพได้มาตรฐานมากขึ้น ชาวนามีความเข้มแข็ง มีรายได้เพิ่มขึ้น พึ่งพาตนเองได้ มีชีวิตความเป็นอยู่ดีขึ้น ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ภารกิจบูรณาการ 2,446.3916 ล้านบาท แผนงานพื้นฐานสร้างความสามารถในการแข่งขัน347.1046 ล้านบาท แผนงานยุทธศาสตร์ส่งเสริมการดำเนินงานตามแนวทางหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 45.7858 ล้านบาท แผนงานบูรณาการศักยภาพ การผลิตภาคเกษตร2,197.2163 ล้านบาท โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการผลิตและการตลาดข้าวครบวงจร โครงการระบบส่งเสริมเกษตรแบบแปลงใหญ่ โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตและกระจายเมล็ดพันธุ์ข้าวและการจัดการข้าว โครงการส่งเสริมและพัฒนาการผลิตข้าวตลาดเฉพาะ โครงการขยายศักยภาพการผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าว โครงการพัฒนาคุณภาพสินค้าเกษตรสู่มาตรฐาน โครงการนวัตกรรมการแปรรูปข้าวเพื่อเพิ่มมูลค่า โครงการศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร โครงการพัฒนาเกษตรกรปราดเปรื่อง โครงการเกษตรทฤษฏีใหม่ โครงการเกษตรอินทรีย์ แผนงานโครงการ ปี 2561 (3,612.6633 ล้านบาท)

กองส่งเสริมและเผยแพร่ สำนักงานเลขานุการกรม ประวัติ กรมการข้าว พ.ศ. 2496 ได้สถาปนา กรมการข้าว ขึ้นเมื่อวันที่ 16 กันยายน 2496 มีหน้าที่รับผิดชอบด้านค้นคว้า ปรับปรุงพันธุ์ข้าว แบ่งเป็น 4 แผนก 10 สถานีทดลอง ต่อมาได้ขยายออกไปตามภาคต่างๆ จนถึง พ.ศ. 2514 จึงมีสถานีทดลองข้าวเพิ่มขึ้นรวมเป็น 21 สถานี กรมการข้าว (พ.ศ.2496) กองวิทยาการ กองส่งเสริมและเผยแพร่ กองวิศวกรรม กองบำรุงพันธุ์ สำนักงานเลขานุการกรม

โครงสร้างกรมการข้าว 1 (2549-2557) พ.ศ. 2515 กรมการข้าวกับกรมกสิกรรมรวบรวมเป็น “กรมวิชาการเกษตร” กองบำรุงพันธุ์ ได้เปลี่ยนชื่อเป็น “กองการข้าว”สังกัดกรมวิชาการเกษตร และ งานด้านส่งเสริมการผลิตข้าวได้โอนไปอยู่ที่ “กรมส่งเสริมการเกษตร” ภายใต้กองส่งเสริมพืชไร่นาและสำนักส่งเสริมและจัดการสินค้าเกษตร ได้จัดตั้ง “กรมการข้าว” ขึ้นอีกครั้ง เมื่อวันที่ 16 มี.ค.2549 โดยมีการโอนข้าราชการเดิมของกรมวิชาการเกษตร กรมส่งเสริมการเกษตร และสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรบางส่วน พ.ศ. 2549 กรมการข้าว (พ.ศ.2549) สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ข้าว สำนักวิจัยและพัฒนาข้าว สำนักพัฒนาผลิตภัณฑ์ข้าว สำนักเมล็ดพันธุ์ข้าว สำนักส่งเสริมการผลิตข้าว สำนักบริหารกลาง ที่มา : กฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการ... ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 123 ตอนที่ 26ก วันที่ 15 มีนาคม 2549

กองประสานงานโครงการพระราชดำริ โครงสร้างกรมการข้าว 2 (2557- ปัจจุบัน) อธิบดีกรมการข้าว รองอธิบดีกรมการข้าว รองอธิบดีกรมการข้าว สำนักบริหารกลาง กลุ่มตรวจสอบภายใน สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ข้าว กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร สำนักส่งเสริมการผลิตข้าว กองวิจัยและพัฒนาข้าว ศูนย์วิจัยข้าว 27 ศูนย์ กองพัฒนาผลิตภัณฑ์ข้าว กองตรวจสอบรับรองมาตรฐานข้าวและผลิตภัณฑ์ กองเมล็ดพันธุ์ข้าว ศูนย์เมล็ดพันธุ์ข้าว 23 ศูนย์ สถาบันวิทยาศาสตร์ข้าวแห่งชาติ กองประสานงานโครงการพระราชดำริ ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร

โครงสร้างกรมการข้าว 3 (ที่เสนอใหม่) อธิบดีกรมการข้าว รองอธิบดีกรมการข้าว รองอธิบดีกรมการข้าว สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ข้าว สำนักงานข้าวเขต (10 เขต) สำนักบริหารกลาง กลุ่มตรวจสอบภายใน กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร สำนักส่งเสริมการผลิตข้าว ศูนย์เมล็ดพันธุ์ข้าว 23ศูนย์ ศูนย์วิจัยข้าว 28 ศูนย์ กองวิจัยและพัฒนาข้าว กองพัฒนาผลิตภัณฑ์ข้าว กองเมล็ดพันธุ์ข้าว กองตรวจสอบรับรองมาตรฐานข้าวและผลิตภัณฑ์ กองประสานงานโครงการพระราชดำริ สถาบันวิทยาศาสตร์ข้าวแห่งชาติ ศูนย์สารสนเทศและการสื่อสาร

ร่างแนวคิด... โครงสร้างสำนักงานข้าว กลุ่มส่งเสริมการผลิต และเพิ่มมูลค่าข้าว ฝ่ายบริหารทั่วไป กลุ่มวิจัยพัฒนา การผลิตข้าว กลุ่มพัฒนาการผลิตและกระจายเมล็ดพันธุ์ข้าว กลุ่มโรงงานและ จักรกลการผลิต กลุ่มมาตรฐาน การผลิตข้าว สำนักงานข้าว ที่ 1 - 10 ผู้อำนวยการสำนักงานข้าว ที่ 1 - 10 ขรก.(3) / ลจป.(3) / พรก.(2)) ขรก.(20) / ลจป.(15) / พรก.(12)) ขรก.(4) / ลจป.(2) / พรก.(2)) ขรก.(3) / ลจป.(1) / พรก.(2)) หลักเกณฑ์การจัดสรรข้าราชการ 1.ข้าราชการในจังหวัดที่เป็นที่ตั้งสำนักงานข้าว ปฏิบัติหน้าที่ในสำนักงานข้าว 2.ขอย้ายข้าราชการของศูนย์ในแต่ละเขตความรับผิดชอบมาปฏิบัติงานที่สำนักงานข้าว 3.บุคลากรของศูนย์วิจัยข้าวและศูนย์เมล็ดพันธุ์ข้าวปฏิบัติงาน ณ สถานที่เดิม

1. จังหวัดเชียงราย พื้นที่ปลูกข้าวในเขต 3,321,609 ไร่ ที่ตั้งสำนักงานเขต ศวข./ศมข. 1. จังหวัดเชียงราย พื้นที่ปลูกข้าวในเขต 3,321,609 ไร่ เชียงราย เชียงใหม่ แม่ฮ่องสอน ลำพูน ลำปาง พะเยา แพร่ และน่าน (8 จังหวัด) ศมข.เชียงใหม่ /ศมข.ลำปาง /ศมข.พะเยา /ศมข.แพร่ ศวข.เชียงราย /ศวข.เชียงใหม่ /ศวข.สะเมิง /ศวข.แพร่ /ศวข.แม่ฮ่องสอน 2. จังหวัดนครสวรรค์ พื้นที่ปลูกข้าวในเขต 9,125,694 ไร่ นครสวรรค์ พิษณุโลก ตาก สุโขทัย กำแพงเพชร พิจิตร เพชรบูรณ์ อุทัยธานี และอุตรดิตถ์ (9 จังหวัด) ศมข.นครสวรรค์ /ศมข.พิษณุโลก /ศมข.สุโขทัย /ศมข.กำแพงเพชร ศวข.พิษณุโลก 3. จังหวัดสกลนคร พื้นที่ปลูกข้าวในเขต 7,595,525 ไร่ สกลนคร อุดรธานี เลย หนองคาย บึงกาฬ หนองบัวลำภู มุกดาหาร นครพนม (8 จังหวัด) ศมข.สกลนคร /ศมข.อุดรธานี ศวข.สกลนคร /ศวข.อุดรธานี /ศวข.หนองคาย 4. จังหวัดร้อยเอ็ด พื้นที่ปลูกข้าวในเขต 8,287,169 ไร่ ร้อยเอ็ด กาฬสินธุ์ มหาสารคาม ขอนแก่น (4 จังหวัด) ศมข.ร้อยเอ็ด /ศมข.ขอนแก่น /ศมข.กาฬสินธุ์ ศวข.ร้อยเอ็ด /ศวข.ขอนแก่น /ศวข.ชุมแพ

ที่ตั้งสำนักงานเขต ศวข./ศมข. 5. จังหวัดอุบลราชธานี พื้นที่ปลูกข้าวในเขต 9,125,317 ไร่ อุบลราชธานี ยโสธร ศรีสะเกษ อำนาจเจริญ (4 จังหวัด) ศมข.อุบลราชธานี ศวข.อุบลราชธานี 6. จังหวัดนครราชสีมา พื้นที่ปลูกข้าวในเขต 10,517,978 ไร่ นครราชสีมา บุรีรัมย์ ชัยภูมิ สุรินทร์ (4 จังหวัด) ศมข.นครราชสีมา /ศมข.สุรินทร์ ศวข.นครราชสีมา /ศวข.สุรินทร์ 7. จังหวัดปทุมธานี พื้นที่ปลูกข้าวในเขต 3,493,056 ไร่ ปทุมธานี กรุงเทพมหานคร นนทบุรี พระนครศรีอยุธยา อ่างทอง สิงห์บุรี สระบุรี ชัยนาท ลพบุรี (9 จังหวัด) ศมข.ลพบุรี /ศมข.ชัยนาท ศวข.ปทุมธานี /ศวข. พระนครศรีอยุธยา /ศวข.ลพบุรี /ศวข.ชัยนาท /ศวข.คลองหลวง 8. จังหวัดปราจีนบุรี พื้นที่ปลูกข้าวในเขต 3,493,056 ไร่ ปราจีนบุรี ฉะเชิงเทรา นครนายก สระแก้ว ชลบุรี ระยอง จันทบุรี ตราด สมุทรปราการ (9 จังหวัด) ศมข.ชลบุรี ศวข.ปราจีนบุรี /ศวข.ฉะเชิงเทรา /

ที่ตั้งสำนักงานเขต ศวข./ศมข. 9. จังหวัดราชบุรี พื้นที่ปลูกข้าวในเขต 1,642,051 ไร่ ราชบุรี กาญจนบุรี สุพรรณบุรี นครปฐม สมุทรสาคร สมุทรสงคราม เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์ (8 จังหวัด) ศมข.ราชบุรี ศวข.ราชบุรี /ศวข.สุพรรณบุรี 10.จังหวัดนครศรีธรรมราช พื้นที่ปลูกข้าวในเขต 1,231,907 ไร่ นครศรีธรรมราช กระบี่ ระนอง พังงา สุราษฏร์ธานี ตรัง พัทลุง ภูเก็ต ปัตตานี สตูล สงขลา ยะลา นราธิวาส ชุมพร (14 จังหวัด) ศมข.สุราษฎร์ธานี /ศมข.พัทลุง /ศมข.ปัตตานี ศวข.กระบี่ /ศวข.พัทลุง /ศวข.นครศรีธรรมราช /ศวข.ปัตตานี

แนวทางการปรับปรุงแก้ไข การปฏิบัติงานภายใต้กำกับดูแล

งานที่ได้รับมอบหมายให้กำกับดูแล งานตามภารกิจกรมการข้าว งานระบบวิจัย งานผลิตและกระจายเมล็ดพันธุ์ งานต่างประเทศ งานปรับโครงสร้างกรมการข้าว งานตามนโยบายกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ คุณภาพมาตรฐานสินค้าเกษตร ธนาคารสินค้าเกษตร เกษตรทฤษฎีใหม่ Smart Officer

งานที่ได้รับมอบหมายให้กำกับดูแล (ต่อ) งานอื่นๆ ผู้บริหารสูงสุดด้านการเงิน การคลัง ของกรมการข้าว (Chief Financial Officer : CFO) ผู้บริหารสูงสุดที่รับผิดชอบกำกับดูแลภารกิจด้านกำลังคน ของกรมการข้าว (Chief Human Resource Officer : CHRO) ผู้บริหารสูงสุดด้านการเสริมสร้างบทบาทหญิงชาย ของกรมการข้าว (Chief Gender Equality Officer : CGEO) โฆษกกรมการข้าว

งานที่ได้รับมอบหมายให้กำกับดูแล (ต่อ) งานอื่นๆ (ต่อ) คณะกรรมการบริหารเงินทุนหมุนเวียนเพื่อผลิตและขยายพันธุ์พืช ประธานอนุกรรมการบริหารเงินทุนหมุนเวียนเพื่อผลิตและขยายพันธุ์พืช รองประธานกรรมการ คณะกรรมการกำกับ ควบคุม ดูแล การดำเนินงานโครงการภายใต้แผนการผลิตและการตลาดข้าว ครบวงจร ประธานคณะทำงานการผลิตและกระจายเมล็ดพันธุ์ข้าว (คณะที่ 3) ตามคำสั่งคณะกรรมการขับเคลื่อนการดำเนินงานตามแผนการผลิตและการตลาดข้าวครบวงจร(ด้านการผลิต) ที่ 2/2560 ลว. 7 ก.พ.2560

งานที่ได้รับมอบหมายให้กำกับดูแล (ต่อ) งานอื่นๆ (ต่อ) รองประธานกรรมการบริหารเงินรายได้จาการดำเนินงานวิจัยและส่งเสริมด้านข้าว รองประธานกรรมการด้านความหลากหลายทางชีวภาพของกรมการข้าว ประธานคณะทำงานพิจารณาแนวทางการควบคุม กำกับ ดูแล การรวบรวมและขายเมล็ดพันธุ์ควบคุมข้าวเปลือก ตามพ.ร.บ.พันธุ์พืช พ.ศ.2518 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ประธานกรรมการตรวจการจ้างก่อสร้างศูนย์เมล็ดพันธุ์ข้าว 5 แห่ง รองประธานคณะอำนวยการดำเนินการจัดตั้งศูนย์เมล็ดพันธุ์ข้าว ตามโครงการขยายศักยภาพการผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าว

งานที่ได้รับมอบหมายให้กำกับดูแล (ต่อ) งานอื่นๆ (ต่อ) ประธานคณะทำงานจัดหางบประมาณและจัดซื้อจัดจ้าง ในการจัดตั้งศูนย์เมล็ดพันธุ์ข้าวตามโครงการขยายศักยภาพการผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าว ประธานคณะทำงานด้านอัตรากำลัง ในการจัดตั้งศูนย์เมล็ดพันธุ์ข้าวตามโครงการขยายศักยภาพการผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าว รองประธานกรรมการคณะอำนวยการจัดภูมิสถาปัตย์แปลงนาข้าวประกอบพระเมรุมาศ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพล อดุลยเดช ประธานคณะทำงานจัดภูมิทัศน์สถาปัตยกรรมแปลงนาข้าวฯ ประธานคณะทำงานปฏิบัติการประหยัดน้ำกรมการข้าว รองประธานกรรมการวางแผน ติดตามป้องกันและแก้ไขปัญหาภัยพิบัติด้านข้าว กรมการข้าว คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตกรมการข้าว

วช. อธข. งานระบบวิจัย (ร่าง) อนุมัติโครงการ ศูนย์บริหารงานวิจัย สวก , สวทช. , ความร่วมมือใน/ต่างประเทศ , นโยบาย/สั่งการ , ฯลฯ อธข. คณะกรรมการบริหารรายได้ คณะกรรมการบริหารงานวิจัยกรมการข้าว คณะอนุกรรมการงานวิจัยกรมการข้าว ผู้ทรงคุณวุฒิสาขาวิชา คณะทำงานวิจัยเฉพาะด้าน ศูนย์บริหารงานวิจัย กรมการข้าว ความร่วมมืองานวิจัย ใน/ต่างประเทศ งานวิจัยเร่งด่วน นโยบาย/สั่งการ นักวิชาการ คณะกรรมการวิจัย กอง/สำนัก นักวิจัย

งานผลิตและกระจายเมล็ดพันธุ์ข้าว พรบ.พันธุ์พืชฯ กรข. ผู้ผลิต/จำหน่าย ผู้ใช้/ชาวนา ศมข/กข สมาคม สกต. สหกรณ์ ธ.เมล็ดพันธุ์ข้าว ปลูกใช้เอง นาแปลงใหญ่ โครงการพิเศษ ฯลฯ งานส่งเสริม เก็บเมล็ดไว้ใช้เอง งานคุณภาพ ข้าวไวแสง ข้าวไม่ไวแสง ศูนย์บริการจัดการเมล็ดพันธุ์ข้าว พื้นที่ ปริมาณ เวลา พันธุ์ ซื้อเมล็ดพันธุ์ งานธุรกิจเมล็ดพันธุ์ ข้าวไวแสง ข้าวไม่ไวแสง งานโรงงาน งานข้อมูลและให้บริการเบ็ดเสร็จ เป้าหมาย เพิ่มการใช้เมล็ดพันธุ์ดี 10% ของพื้นที่ปลูก เป้าหมาย เพิ่มจาก 400,000 ตัน เป็น 500,000 ตัน เพิ่ม 25%

คณะทำงาน ด้านงบประมาณ โครงการ/ แผนงาน/กิจกรรม งานงบประมาณ การของบประมาณ รองอธิบดี CFO การดำเนินงาน คำขอ ชี้แจง จัดสรร คณะทำงาน ด้านงบประมาณ กรมการข้าว แผนงาน ดำเนินงาน เบิกจ่าย ติดตาม เร่งรัด งบประมาณดำเนินการ สนย. สบก. กอง/สำนัก ผลการเบิกจ่าย โครงการ/ แผนงาน/กิจกรรม เป้าหมาย เป้าหมาย เพิ่มงบ Function เบิกจ่ายตาม KPI บูรณาการ/Workshop

เข้าใจ เข้าถึง พัฒนา

หลักการทำงาน การพัฒนาตนเอง 1.มีพลัง สติปัญญา ในการทำงาน 2. มีความเพียร วิริยะ อุตสาหะ และมุ่งมั่น ในผลสัมฤทธิ์ 3.มีความซื้อสัตย์ มีคุณธรรม มีวินัย มีความรับผิดชอบ 4.มีความเอื้อเฟื้อ และรักสามัคคี

หลักธรรมาภิบาล (6 ประการ) นิติธรรม หลัก ความคุ้มค่า หลักคุณธรรม หลักธรรมาภิบาล (6 ประการ) หลัก ความรับผิดชอบ หลัก ความโปร่งใส หลัก ความมี ส่วนร่วม

"เมื่อจะทำงาน อย่าหยิบยก เอาความขาดแคลนเป็น ข้ออ้าง จงทำงานท่ามกลางความ ขาดแคลน ให้บรรลุผล จงทำด้วยความ ตั้งใจ และซื่อสัตย์" พระบรมราโชวาทในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลที่ 9 ทรงพระราชทานเมื่อวันที่ 4 พฤศจิกายน 2518

ขอบคุณครับ