มุ่งเน้น การประเมินระดับการดำเนินงาน “หน่วยงานคุณธรรม”

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การติดตามและ ประเมินผลโครงการ
Advertisements

การชี้แจงรายละเอียดและเกณฑ์การประเมินผล ตัวชี้วัดของหน่วยงาน ตามคำรับรองฯ ปีงบประมาณ พ.ศ.2557.
นโยบายการดำเนินงาน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ศ. นพ. รัชตะ รัชตะนาวิน และ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข นพ. สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์
การจัดทำแผนปฏิทินการจัดการความรู้ และแผนในการติดตามประเมินผลการจัดการความรู้ E:\ประกันคุณภาพ\ppt\ดูงาน\12-PPT_เสนอ_ครุศาสตร์_จุฬา_19_11_50.ppt.
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
ระบบประเมินผลผู้บริหาร
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
ผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ กรมอนามัย ปีงบประมาณ พ
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
ชี้แจงเกณฑ์การประเมินผล ตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิภาพ 1.
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
การจัดทำแผนปฏิบัติการ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ พ.ศ กันยายน 2557.
สำนักความรับผิดทางแพ่ง
KPI 8 : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาบุคลากร น้ำหนัก :ร้อยละ 5 KPI ๑๐ : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาปรับปรุง วัฒนธรรมองค์การ น้ำหนัก : ร้อยละ 3 กองการเจ้าหน้าที่
นางวราพันธ์ ลังกาวงศ์ ผู้อำนวยการกลุ่มนโยบายและแผน.
การประกัน คุณภาพการศึกษา.. พิชญ์มณฑน์ ลีกำเนิด ไทย.
แผนแม่บทระบบสถิติประเทศไทย ฝ่ายวิชาการและวางแผนสำนักงานสถิติจังหวัดระยอง 1.
ตัวชี้วัดที่ 3.2 ร้อยละ ความสำเร็จของ การดำเนินโครงการ ให้บริการที่ดีที่สุด (Best Service) น้ำหนั ก : LineStaff Line & Staff 777.
ข้อที่เกณฑ์การประเมินการดำเนินงาน ข้อ 1 พัฒนาแผนกลยุทธ์จากผลการวิเคราะห์ SWOT โดยเชื่อมโยงกับวิสัยทัศน์ของคณะและ สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของคณะ สถาบัน.
๕ เรื่องเด่นในร่างรัฐธรรมนูญ
สร้างความเข้มแข็งของเศรษฐกิจฐานราก จากต้นทาง กลางทาง จนถึงปลายทาง
ชมรมจริยธรรมศูนย์ฯ๗.
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ(PMQA)
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
ประเด็นที่เปลี่ยนแปลงจากปี 2560
สำนักงาน ก.ก. และสำนักงานตรวจสอบภายใน สำนักปลัดกรุงเทพมหานคร
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
มาตรฐานระบบการบริหารงานคุณภาพ
100 ตำบลต้นแบบในการบูรณาการ ด้านส่งเสริมสุขภาพ 5 กลุ่มวัย และอนามัยสิ่งแวดล้อม โดย กรมอนามัย.
เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ
แนวทางการปฏิบัติงานตามข้อสั่งการ ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ขั้นตอนการจัดทำงบประมาณ
แพทย์หญิงวันทนีย์ วัฒนะ ผู้อำนวยการสำนักอนามัย
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การติดตามผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๐
EB9 (3) มีการประชุมหรือสัมมนาหรือแลกเปลี่ยนความรู้ภายในหน่วยงาน เพื่อให้ความรู้เรื่องการป้องกันผลประโยชน์ทับซ้อนแก่เจ้าหน้าที่ หรือไม่
ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ
การจัดลำดับความสำคัญของโครงการด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
ความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการประหยัดพลังงาน
ระบบบริหารจัดการงานวิจัยของหน่วยงาน Department Research Management System DRMS โดยทีมพัฒนาระบบ DRMS สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.)
(ปัจจุบันไม่มียอดค้างชำระ)
การดำเนินงานคุณธรรม และความโปร่งใส
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
แนวทางปฏิบัติ กรมป่าไม้
กรมตรวจบัญชีสหกรณ์.
EB9 หน่วยงานของท่านมีการดำเนินการเพื่อป้องกันผลประโยชน์ทับซ้อนในหน่วยงานอย่างไร (1) มีการวิเคราะห์ความเสี่ยงเกี่ยวกับการปฏิบัติงานที่อาจเกิดผลประโยชน์ทับซ้อน.
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
วาระการประชุมคณะกรรมการกำกับดูแลองค์การที่ดี สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข ครั้งที่ ๑/๒๕๖๐ วันพฤหัสบดีที่ ๓ พฤศจิกายน ๒๕๕๙ เวลา ๐๙.๓๐ – ๑๒.๐๐ ณ.
ณ ห้องประชุมกำธร สุวรรณกิจ
ข้อสังเกตโดยรวมของผลงานที่ได้คะแนน ระดับดีมาก - ดี
ปี 2560 ปฏิทินการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส
ตัวชี้วัดที่ 2.3 ระดับคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงานในสังกัดกรมอนามัย (Integrity and Transparency Assessment: ITA) เฉพาะหลักฐานเชิงประจักษ์
ความคืบหน้าการจ้างลูกจ้างชั่วคราว เป็นพนักงานกระทรวงสาธารณสุข (พกส.)
แผนงาน การพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ
โดย นายแพทย์ประดิษฐ์ วินิจจะกูล รองอธิบดีกรมอนามัย
ข้อมูลการป้องกัน การถ่ายทอดเชื้อเอชไอวีจากแม่สู่ลูก (PMTCT)
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอ่างทอง
แนวปฏิบัติ การจัดสวัสดิการภายในส่วนราชการ
ปัจจัยที่ทำให้การดำเนินงานสำเร็จบรรลุเป้าหมาย
กลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร
การดำเนินงานต่อไป.
การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 15
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา Self – Assessment Report
คู่มือการใช้เครื่องชี้วัดสำหรับ การประเมินผลการปฏิบัติตามมาตรฐาน ทางคุณธรรมและจริยธรรม ส่วนมาตรฐานการบริหารงานบุคคล สำนักงาน ก.ถ. สป.
การจัดการภาครัฐ และภาคเอกชน Public and private management
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ตัวชี้วัดที่ 8 ระดับคุณธรรมและความโปร่งใส ในการดำเนินงานของหน่วยงานสังกัดกรมอนามัย

มุ่งเน้น การประเมินระดับการดำเนินงาน “หน่วยงานคุณธรรม” การประเมินระดับคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงานสังกัดกรมอนามัย มุ่งเน้น การประเมินระดับการดำเนินงาน “หน่วยงานคุณธรรม” ของทุกหน่วยงานในสังกัดกรมอนามัย “หน่วยงานคุณธรรม” มาจากนโยบายของกระทรวงสาธารณสุข ที่ต้องการให้หน่วยงานในสังกัด มีการบริหารและบริการภายใต้ระบบธรรมาภิบาล สอดคล้องกับนโยบายของรัฐบาลเกี่ยวกับการสร้างมาตรฐานด้านคุณธรรม จริยธรรม และธรรมาภิบาลให้แก่เจ้าหน้าที่ของรัฐและประชาชนทั่วไป โดยใช้ค่านิยมหลัก 12 ประการ และการส่งเสริมการบริหารแผ่นดินที่มีธรรมาภิบาล โดยมุ่งเน้นให้เจ้าหน้าที่ทุกระดับของหน่วยงานมีส่วนร่วมกำหนดหลักคุณธรรมในการทำงานบนพื้นฐานคุณภาพคู่คุณธรรม ด้วยความสุข สร้างวัฒนธรรมการทำงานที่โปร่งใส ซื่อสัตย์ ประชาชนได้รับประโยชน์สูงสุดในการดูแลสุขภาพ

ประกอบด้วย 5 ประเด็นหลัก ดังนี้ “หน่วยงานคุณธรรม” ของกรมอนามัย เป็นการดำเนินงานตามแนวคิด “หน่วยงานคุณธรรม” ของกระทรวงสาธารณสุข โดยใช้วัฒนธรรมองค์กรของกรมอนามัยมาเป็นคุณธรรมร่วมในการปฏิบัติงาน ประกอบด้วย 5 ประเด็นหลัก ดังนี้ 1. นโยบายของผู้นำหน่วยงาน 2. ประกาศคุณธรรมประจำหน่วยงานซึ่งมาจากวัฒนธรรมองค์กรของกรมอนามัย “HEALTH” จำนวน 3 ประการ ดังนี้ 2.1 คุณธรรมที่ทุกหน่วยงานของกรมอนามัยยึดถือปฏิบัติร่วมกัน 1 ประการ คือ E: Ethic (จริยธรรม) 2.2 คุณธรรมที่แต่ละหน่วยงานสามารถเลือกและยึดถือปฏิบัติร่วมกัน อีก 2 ประการ โดยให้เลือกจากวัฒนธรรมองค์กรของกรมอนามัยที่เหลือ อีก 5 ประการ ได้แก่ (1) H: Health (ต้นแบบสุขภาพ) (2) A: Achievement & Accountability (ความรับผิดชอบเพื่อผลสัมฤทธิ์) (3) L: Learning (การเรียนรู้ร่วมกัน) (4) T: Trustworthiness (การเคารพและเชื่อมั่น) และ (5) H: Harmony (ความเป็นอันหนึ่งอันเดียว) 3. จัดทำแผนและดำเนินการตามแผนเสริมสร้างพัฒนา “หน่วยงานคุณธรรม” 4. ติดตามและประเมินผลการดำเนินงาน 5. มีการพัฒนาต่อยอดการดำเนินงาน

เกณฑ์การให้คะแนน พิจารณาตามระดับความก้าวหน้าของการดำเนินงานองค์กรคุณธรรม ด้าน E: Ethic” และคุณธรรมที่หน่วยงานเลือกจากวัฒนธรรมองค์กรกรมอนามัยอีก 2 ประการ คะแนนตัวชี้วัด : 10 คะแนน ระดับ รายละเอียดการดำเนินงาน หลักฐานประกอบการประเมิน คะแนน 1 - มีการจัดประชุมชี้แจงนโยบาย และ การระดมความ คิดเห็นเพื่อหาคุณธรรมร่วม 3 ประการ ที่บุคลากรทุกคน ตกลงยึดเป็นข้อปฏิบัติในการนำไปพัฒนา “หน่วยงาน คุณธรรม” (ซึ่งประกอบด้วยคุณธรรมร่วมของกรมอนามัย 1 ประการคือ “E: Ethic” และที่หน่วยงานเลือกจาก วัฒนธรรมองค์กรกรมอนามัยอีก 2ประการ) 1. รายงานการประชุมชี้แจงนโยบาย 2. รายงานการประชุมระดมความคิดเห็นเพื่อหาคุณธรรมร่วม 3 ประการที่บุคลากรในหน่วยงานเลือกและยึดเป็นข้อปฏิบัติ 2 ดำเนินการระดับ 1 และมีการ - ประกาศคุณธรรมประจำหน่วยงาน - แต่งตั้งคณะกรรมการ/คณะทำงาน - จัดทำแผนเสริมสร้างพัฒนา “หน่วยงานคุณธรรม” 1. เอกสาร/ภาพถ่ายการประกาศคุณธรรมประจำหน่วยงาน 2. คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการ/คณะทำงาน 3. เอกสารแผนและแนวทางดำเนินการตามแผนเสริมสร้างพัฒนา “หน่วยงานคุณธรรม” 3

เกณฑ์การให้คะแนน (ต่อ) พิจารณาตามระดับความก้าวหน้าของการดำเนินงานองค์กรคุณธรรม ด้าน E: Ethic” และคุณธรรมที่หน่วยงานเลือกจากวัฒนธรรมองค์กรกรมอนามัยอีก 2 ประการ คะแนนตัวชี้วัด : 10 คะแนน ระดับ รายละเอียดการดำเนินงาน หลักฐานประกอบการประเมิน คะแนน 3 ดำเนินการระดับ 2 และมีการ - ดำเนินการตามแผนเสริมสร้างพัฒนา “หน่วยงานคุณธรรม” ครบถ้วน เอกสาร/หลักฐานการดำเนินงานตามแผนฯ เช่น โครงการที่ได้รับการอนุมัติ ภาพถ่ายกิจกรรม เอกสารรายงานผลต่อผู้บริหาร ครบถ้วน 6 4 ดำเนินการระดับ 3 และมี - ผลลัพธ์การดำเนินการเป็นไปตามแผนเสริมสร้างพัฒนา “หน่วยงานคุณธรรม” ครบถ้วน เอกสาร/หลักฐานแสดงผลลัพธ์ของการดำเนินงานตามที่ ระบในแผนเสริมสร้างพัฒนา “หน่วยงานคุณธรรม” ครบถ้วน 8 5 ดำเนินการระดับ 4 และมีการ - ติดตามประเมินผลการดำเนินงานตามแผนฯ และการปรับ แก้ไข พัฒนาการดำเนินงานให้มีผลสำเร็จ/มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น 1. เอกสาร/หลักฐานแสดงการติดตาม/รายงานผล รอบ 6 เดือน 9 เดือน และ 12 เดือน 2. เอกสาร/หลักฐานแสดงการประเมินผลและวิเคราะห์ผลการดำเนินงาน ปัจจัยความสำเร็จ ปัญหาอุปสรรค และข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนาการดำเนินงานต่อไป 10 เงื่อนไข : การดำเนินการในแต่ละระดับ จะพิจารณาคุณภาพ และความครบถ้วนของผลงาน เพื่อนำมาประกอบการพิจารณาปรับลดคะแนนตามความเหมาะสมด้วย

แหล่งข้อมูล /วิธีจัดเก็บข้อมูล : ทุกหน่วยงานต้องจัดส่งรายงาน และ/หรือ เอกสาร/หลักฐานอ้างอิงในระบบ DOC (แบบรายงานจะแจ้งให้ทราบภายหลัง) กำหนดการจัดส่งรายงาน รอบ 6, 9, 12 เดือน หมายถึง - รอบ 6 เดือน จัดส่งภายในวันที่ 30 มี.ค. 2559 - รอบ 9 เดือน จัดส่งภายในวันที่ 30 มิ.ย. 2559 - รอบ 12 เดือน จัดส่งภายในวันที่ 30 ก.ย. 2559