ปัจจัยที่ส่งผลทำให้เกิดฝนตกบริเวณประเทศไทย ในช่วงระหว่างวันที่ 22 -27 พ.ค. 58 จัดทำโดย สถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้ำและการเกษตร (องค์การมหาชน) กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 21 พฤษภาคม 2558
อิทธิพลที่ส่งผลให้เกิดฝนตกในขณะนี้ อิทธิพลปัจจุบัน เมื่อสัปดาห์ที่ผ่านมาอุณหภูมิผิวน้ำทะเล บริเวณอันดามันเย็นลง แต่บริเวณ อ่าวไทยอุณหภูมิกลับอุ่นขึ้น มรสุมตะวันตกเฉียงใต้กำลังค่อนข้างแรงพัดปกคุลมทะเลอันดามัน ประเทศ ไทย และอ่าวไทย ตั้งแต่วันที่ 19 พ.ค. 2558 และมีแนวโน้มยังคงกำลังแรงไป จนถึง วันที่ 27 พ.ค. 2558 ดัชนีมรสุมด้านมหาสมุทรอินเดีย (Indian Monsoon Index ) สูงกว่าปกติ
ปริมาณสะสม 24 ชั่วโมง วันที่ 19 พ.ค. 58
Sea Surface Temperature
คาดการณ์ปริมาณฝนจากแบบจำลองสภาพอากาศ WRF (ความละเอียด 3x3 กม.) ช่วงวันที่ 21-23 พ.ค. 58 21 พ.ค. 58 22 พ.ค. 58 23 พ.ค. 58
คาดการณ์ปริมาณฝนจากแบบจำลองสภาพอากาศ WRF (ความละเอียด 9x9 กม.) ช่วงวันที่ 24-27 พ.ค. 58 24 พ.ค. 58 25 พ.ค. 58 H 7 26 พ.ค. 58 27 พ.ค. 58 รายละเอียดเพิ่มเติม www.thaiwater.net 6 6
คาดการณ์ความเร็วลม ระดับความสูง 1.5 กม. ระหว่างวันที่ 22-27 พ.ค. 58 22 พ.ค. 58 23 พ.ค. 58 24 พ.ค. 58 25 พ.ค. 58 26 พ.ค. 58 27 พ.ค. 58
คาดการณ์ความสูงและทิศทางคลื่นทะเลบริเวณอ่าวไทยและอันดามัน 21 พ.ค. 2558 22 พ.ค. 2558 7.00 น. 19.00 น. 7.00 น. 19.00 น. 23 พ.ค. 2558 24 พ.ค. 2558 7.00 น. 19.00 น. 7.00 น. 19.00 น. ที่มา: สสนก. 8
ปัจจัยระดับท้องถิ่น: ดัชนีมรสุมปี 2558 ปัจจุบันลมมรสุมด้านมหาสมุทรอินเดีย มีดัชนีสูงกว่าค่าเฉลี่ย ปัจจุบันลมมรสุมด้านมหาสมุทรแปซิฟิก มีดัชนีใกล้เคียงค่าเฉลี่ย http://apdrc.soest.hawaii.edu/projects/monsoon/realtime-monidx.html ที่มา: มหาวิทยาลัย Hawaii เดือนพฤษภาคม 2558 ดัชนีมรสุมด้านมหาสมุทรอินเดียสูงกว่าค่าเฉลี่ยเล็กน้อย มรสุมตะวันตกเฉียงใต้จะมีกำลังค่อนข้างแรง ส่งผลให้ในระยะ 2-4 สัปดาห์ข้างหน้าจะมีฝนตกหนาแน่นบริเวณด้านรับลมมรสุม โดยเฉพาะบริเวณด้านตะวันตกของประเทศ
แผนที่ลมชั้น 850 hPa ระดับความสูง 1.5 กม. ( วันที่ 21 พ.ค. 58)
แผนที่ลมชั้น 250 hPa ระดับความสูง 11 กม. (วันที่ 21 พ.ค. 58)