งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

Climate I อาจารย์สอง สุดหล่อ.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "Climate I อาจารย์สอง สุดหล่อ."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 Climate I อาจารย์สอง สุดหล่อ

2 ปัจจัยที่กำหนด/ควบคุมภูมิอากาศ
ตำแหน่งที่ตั้งและขนาด ระยะใกล้-ไกลจากทะเล กระแสน้ำในมหาสมุทร ระบบลม/ทิศทางลมประจำ / แนวพายุ ลักษณะภูมิประเทศ / ระดับพื้นที่/การวางตัวของแนวเทือกเขา

3 ปัจจัยที่กำหนด/ควบคุมภูมิอากาศ
ตำแหน่งที่ตั้งและขนาด ที่ตั้งตามละติจูด ( Latitude ) การส่องแสง/รับแสงจากดวงอาทิตย์ ( Sun’s ray ) การเอียงของแกนโลก ( Inclination of the earth )

4 ปัจจัยที่กำหนด/ควบคุมภูมิอากาศ ตำแหน่งที่ตั้งและขนาด
ที่ตั้งตามละติจูด การรับแสงจากดวงอาทิตย์ การเอียงของแกนโลก เขตร้อน เขตละติจูดใกล้ 0 องศา (ใกล้เส้นศูนย์สูตร : Equator ) ( เขตละติจูดต่ำ ) เขตละติจูด องศา หรือประมาณ องศา ( เขตละติจูดกลาง ) เขตละติจูด 66.5 องศาขึ้นไป หรือประมาณ 60 องศาขึ้นไป ( เขตละติจูดสูง )

5 ปัจจัยที่กำหนด/ควบคุมภูมิอากาศ
ตำแหน่งที่ตั้ง เขตละติจูดใกล้ 0 องศา (ใกล้เส้นศูนย์สูตร : Equator) เขตละติจูด องศา หรือประมาณ องศา เขตละติจูด 66.5 องศาขึ้นไป หรือประมาณ 60 องศาขึ้นไป ( เขตละติจูดกลาง ) ( เขตละติจูดสูง ) ( เขตละติจูดต่ำ ) ( เขตร้อน/เขตทรอปปิก ) Tropical zone ( เขตอบอุ่น ) Temperate zone ( เขตหนาว ) Frigid zone

6 ปัจจัยที่กำหนด/ควบคุมภูมิอากาศ
ตำแหน่งที่ตั้งและขนาด

7 ปัจจัยที่กำหนด / ควบคุมภูมิอากาศ
ตำแหน่งที่ตั้ง

8 ปัจจัยที่กำหนด/ควบคุมภูมิอากาศ
ตำแหน่งที่ตั้งและขนาด

9 ปัจจัยที่กำหนด/ควบคุมภูมิอากาศ
ตำแหน่งที่ตั้งและขนาด

10 ปัจจัยที่กำหนด/ควบคุมภูมิอากาศ
ตำแหน่งที่ตั้งและขนาด

11 ปัจจัยที่กำหนด/ควบคุมภูมิอากาศ
ตำแหน่งที่ตั้งและขนาด

12 ปัจจัยที่กำหนด/ควบคุมภูมิอากาศ
ตำแหน่งที่ตั้งและขนาด

13 ทำให้ซีกโลกเหนือและซีกโลกใต้มีฤดูกาลที่ตรงกันข้ามกัน
ปัจจัยที่กำหนด/ควบคุมภูมิอากาศ ตำแหน่งที่ตั้งและขนาด การเอียงของแกนโลก ทำให้เกิดฤดูกาล ทำให้ซีกโลกเหนือและซีกโลกใต้มีฤดูกาลที่ตรงกันข้ามกัน

14 ปัจจัยที่กำหนด/ควบคุมภูมิอากาศ ตำแหน่งที่ตั้งและขนาด
การเอียงของแกนโลก

15 ระบบลม/ทิศทางลมประจำ/แนวพายุ
ปัจจัยที่กำหนด/ควบคุมภูมิอากาศ ระบบลม/ทิศทางลมประจำ/แนวพายุ ลมมรสุ่ม / ลมประจำ / ลมพายุ หากลมประจำพัดผ่านทะเล หากลมประจำพัดผ่านเขตที่มีอากาศหนาวเย็น เข้าสู่ บก(ผืนแผ่นดิน) นำความชื้น + ฝน นำความหนาวเย็น/มวลอากาศเย็น

16 พายุ/ดีเปรสชั่น มีส่วนในการนำความชื้น /ฝนเข้าสู่แผ่นดิน
ปัจจัยที่กำหนด/ควบคุมภูมิอากาศ ระบบลม/ทิศทางลมประจำ/แนวพายุ พายุ/ดีเปรสชั่น มีส่วนในการนำความชื้น /ฝนเข้าสู่แผ่นดิน

17 ระบบลม/ทิศทางลมประจำ/แนวพายุ
ปัจจัยที่กำหนด/ควบคุมภูมิอากาศ ระบบลม/ทิศทางลมประจำ/แนวพายุ ลมมรสุม ( Monsoon winds) เป็นลมประจำที่มีอิทธิพลต่อภูมิอากาศของทวีปเอเชีย

18 ด้านปลายลม ( Leeward side ) หรือ เขตเงาฝน ( Rain shadow )
KÖPPEN CLIMATE SYSTEM ด้านปลายลม ( Leeward side ) หรือ เขตเงาฝน ( Rain shadow ) บริเวณด้านต้นลม ( Windward side )

19 KÖPPEN CLIMATE SYSTEM

20 เขาเงาฝน ( Rain shadow)
KÖPPEN CLIMATE SYSTEM เขาเงาฝน ( Rain shadow) แนวเทือกเขาสูง บริเวณด้านต้นลม ( Windward side )

21 KÖPPEN CLIMATE SYSTEM

22 KÖPPEN CLIMATE SYSTEM

23 ปัจจัยที่กำหนด/ควบคุมภูมิอากาศ
ความใกล้ไกลทะเล/ระยะห่างจากทะเล/ขนาดของทวีป ลมมรสุมฤดูร้อน ลมมรสุมฤดูหนาว

24 ระบบลม/ทิศทางลมประจำ/แนวพายุ
ปัจจัยที่กำหนด/ควบคุมภูมิอากาศ ระบบลม/ทิศทางลมประจำ/แนวพายุ ลมมรสุม (Monsoon) ลมมรสุมฤดูหนาว ลมมรสุมฤดูร้อน

25 ระบบลม/ทิศทางลมประจำ/แนวพายุ
ปัจจัยที่กำหนด/ควบคุมภูมิอากาศ ระบบลม/ทิศทางลมประจำ/แนวพายุ ลมมรสุม (Monsoon) มาจากคำในภาษาอาหรับว่า Mausim แปลว่า ฤดู ดังนั้นลมมรสุมจึงหมายถึง ลมที่พัดเปลี่ยนทิศทางกลับการเปลี่ยนฤดูคือ ฤดูร้อนจะพัดในทิศทางหนึ่ง และจะพัดเปลี่ยนทิศทางในทางตรงกันข้ามในฤดูหนาว ครั้งแรกใช้เรียกลมนี้ในบริเวณทะเลอาหรับซึ่งพัดอยู่ในทิศทางตะวันออกเฉียงเหนือเป็นระยะเวลา 6 เดือน และพัดอยู่ในทิศทางตะวันตกเฉียงใต้เป็นระยะเวลา 6 เดือน แต่อยู่ในส่วนอื่นๆ ของโลก ลมมรสุมที่เห็นชัดเจนที่สุดคือ ลมมรสุมที่เกิดขึ้นในเอเชียตะวันออก และเอเชียใต้ 

26 ระบบลม/ทิศทางลมประจำ/แนวพายุ
ปัจจัยที่กำหนด/ควบคุมภูมิอากาศ ระบบลม/ทิศทางลมประจำ/แนวพายุ ลักษณะการเกิดลมมรสุม เป็นทำนองเดียวกับการเกิดลมบกลมทะเล ในฤดูหนาวอากาศภายในภาคพื้นทวีปเย็นกว่าอากาศในมหาสมุทรที่อยู่ใกล้เคียง ทำให้ภาคพื้นทวีปบริเวณไซบีเรียเป็นเขตความกดอากาศสูง ส่วนบริเวณมหาสมุทรอินเดียเป็นเขตความกดอากาศต่ำ อากาศเหนือมหาสมุทรอินเดียซึ่งมีอุณหภูมสูงกว่าบริเวณไซบีเรียจะลอยตัวสูงขึ้น และอากาศบริเวณไซบีเรียจะไหลเข้าไปแทนที่ในทิศทางตามเข็มนาฬิกา อากาศที่ไหลออกจากบริเวณความกดอากาศสูงไซบีเรียเป็นอากาศที่ไหลจมลง และทิศทางลมจะเบนไปทางขวา กลายเป็นลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือผ่านเข้าไปยังเอเชียตะวันออกและเอเชียใต้ โดยทั่วไปมีลักษณะอากาศดี และเป็นฤดูที่มีอากาศแห้ง ดังนั้นลมมรสุมฤดูหนาวลักษณะท้องฟ้าแจ่มใส เป็นลมที่พัดจากฝั่งออกสู่ทะเล

27 ระบบลม/ทิศทางลมประจำ/แนวพายุ
ปัจจัยที่กำหนด/ควบคุมภูมิอากาศ ระบบลม/ทิศทางลมประจำ/แนวพายุ ในฤดูร้อนลมจะพัดเปลี่ยนในทิศทางตรงกันข้าม อากาศภาคพื้นทวีปอุ่นกว่าพื้นน้ำ ซึ่งทำให้ภาคพื้นทวีปเป็นเขตความกดอากาศต่ำ พื้นน้ำเป็นเขตความกดอากาศสูง เกิดลมพัดจากพื้นน้ำที่เป็นเขตความกดอากาศสูงเข้าสู่พื้นดินที่เป็นเขตความกดอากาศต่ำ ในทิศทวนเข็มนาฬิกากลายเป็นมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ ลมที่พัดจากพื้นน้ำเข้ามา นำเอาความชื้นมาด้วยเป็นลมที่พัดจากทะเลเข้าหาฝั่ง มรสุมที่มีกำลังแรงจัดที่สุด เกิดขึ้นในบริเวณเอเชียตะวันออก และเอเชียใต้ เอเชียตะวันออกได้แก่ ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน ไต้หวัน ญี่ปุ่น และสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนเกาหลี ลมมรสุมที่เกิดในเอเชียตะวันออกจะแตกต่างจากเอเชียใต้คือ ในเอเชียตะวันออก ลมมรสุมฤดูหนาวมีกำลังแรงกว่า

28 ระบบลม/ทิศทางลมประจำ/แนวพายุ
ปัจจัยที่กำหนด/ควบคุมภูมิอากาศ ระบบลม/ทิศทางลมประจำ/แนวพายุ และมีทิศทางที่คงที่กว่ามรสุมฤดูร้อน ความเร็วลมตามชายฝั่งในเดือนมกราคม จะมีมากกว่าเดือนกรกฎาคมหลายเท่า ส่วนลมมรสุมในเอเชียใต้ รวมทั้งประเทศอินเดีย ปากีสถาน และประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ลมมรสุมฤดูหนาวไม่สามารถแผ่เข้าไปถึงดินแดนเหล่านี้ได้ เพราะมีเทือกเขาหิมาลัยขวางกั้นอยู่ ดังนั้นเอเชียใต้จึงได้รับมรสุมโดยตรงเฉพาะในช่วงฤดูร้อนเท่านั้น และลมจะมีกำลังแรงในฤดูร้อน แม้แต่ในมหาสมุทร คือฤดูร้อนลมมีความเร็วเฉลี่ย 20 กิโลเมตรต่อชั่งโมง ส่วนฤดูหนาวลมมีกำลังอ่อน มีความเร็วน้อยกว่า 10 กิโลเมตรต่อชั่วโมง บริเวณที่มีฝตกหนักเนื่องจากได้รับอิทธิพลจากลมมรสุมฤดูร้อนคือ เมืองเชอร์ราปันจิ ทางภาคตะวันออกของประเทศอินเดีย มีปริมาณฝนตกในแต่ละปีประมาณ 10,800 มิลลิเมตร ส่วนใหญ่จะมีฝนตกในช่วงเดือนเมษายนถึงตุลาคม ฝนที่ตกมีประโยชน์ทางด้านการเกษตร ทำให้พืชผลเจริญเติบโต เนื่องจากบริเวณที่มีฝนอากาศแห้ง แต่ฝนที่ตกลงมามีข้อเสีย เนื่องจากช่วงเวลาที่ฝนตกจะมีความไม่แน่นอนรวมทั้งความแรงของฝน สำหรับประเทศไทยได้รับอิทธิพลจากลมมรสุมทั้งสองฤlดู คือ ในช่วงฤดูฝนประมาณต้นเดือนพฤษภาคมจนถึงเดือนต้นเดือนตุลาคม ได้รับลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ และต่อมาเป็นช่วงฤดูหนาว ประมาณปลายเดือนตุลาคมจนถึงปลายเดือนกุมภาพันธ์ ลมจะเปลี่ยนทิศเป็นลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ

29 ระบบลม/ทิศทางลมประจำ/แนวพายุ
ปัจจัยที่กำหนด/ควบคุมภูมิอากาศ ระบบลม/ทิศทางลมประจำ/แนวพายุ   นอกจากลมมรสุมที่เกิดขึ้นทวีปเอเชียแล้ว ยังมีลมมรสุมที่เกิดขึ้นบริเวณส่วนอื่นของโลก เช่น ทางภาคเหนือของประเทศออสเตรเลีย เมื่อลมมรสุมพัดข้ามศูนย์สูตรจะเปลี่ยนทิศทางเป็นลมมรสุมตะวันตกเฉียเหนือพัดเข้าสู่ทางภาคเหนือของประเทศออสเตรเลีย ซึ่งมีแนวเขตลมค้าเบียดตัวเข้าหากันพาดผ่านอยู่ เป็นแนวแบ่งเขตระหว่างลมค้าตะวันออกเฉียเหนือของซีกโลกเหนือกับลมค้าตะวันออกเฉียงใต้ของซีกโลกใต้ รวมทั้งมีลมมรสุมเกิดขึ้นในอ่าวกินีของแอฟริกาตะวันตก บางส่วนของทวีปอเมริการเหนือ และบางส่วนของทวีปอเมริการใต้

30 การหมุนเวียนทั่วไปของบรรยากาศ
ปัจจัยที่กำหนด/ควบคุมภูมิอากาศ ระบบลม/ทิศทางลมประจำ/แนวพายุ การหมุนเวียนทั่วไปของบรรยากาศ สาเหตุที่ทำให้เกิดการหมุนเวียนทั่วไปนั้น เกิดจากพื้นผิวโลกได้รับความร้อนไม่เท่ากัน เมื่อโลกได้พลังงานความร้อนจากดวงอาทิตย์ จะต้องส่งพลังงานกลับเข้าสู่อวกาศในปริมาณเท่ากับที่โลกได้รับ อย่างไรก็ตามพลังงานความร้อนที่โลกได้รับในแต่ละละติจูดมีปริมาณไม่เท่ากัน เขตร้อนได้รับความร้อนเกินดุล ส่วนเขตชั้วโลกได้รับความร้อนขาดดุล ดังนั้นเพื่อให้เกิดความสมดุลจึงต้องมีการถ่ายเทความร้อนจากบริเวณศูนย์สูตรไปยังขั้วโลก และถ่ายเทความเย็นจากขั้วโลกมายังศูนย์สูตร

31 การหมุนเวียนทั่วไปของบรรยากาศ
ปัจจัยที่กำหนด/ควบคุมภูมิอากาศ ระบบลม/ทิศทางลมประจำ/แนวพายุ การหมุนเวียนทั่วไปของบรรยากาศ

32 การหมุนเวียนทั่วไปของบรรยากาศ
ปัจจัยที่กำหนด/ควบคุมภูมิอากาศ การหมุนเวียนทั่วไปของบรรยากาศ

33 การหมุนเวียนทั่วไปของบรรยากาศ
ปัจจัยที่กำหนด/ควบคุมภูมิอากาศ การหมุนเวียนทั่วไปของบรรยากาศ

34 การหมุนเวียนทั่วไปของบรรยากาศ
ปัจจัยที่กำหนด/ควบคุมภูมิอากาศ การหมุนเวียนทั่วไปของบรรยากาศ

35 การหมุนเวียนทั่วไปของบรรยากาศ
ปัจจัยที่กำหนด/ควบคุมภูมิอากาศ การหมุนเวียนทั่วไปของบรรยากาศ

36 การหมุนเวียนทั่วไปของบรรยากาศ
ปัจจัยที่กำหนด/ควบคุมภูมิอากาศ การหมุนเวียนทั่วไปของบรรยากาศ

37 การหมุนเวียนทั่วไปของบรรยากาศ
ปัจจัยที่กำหนด/ควบคุมภูมิอากาศ การหมุนเวียนทั่วไปของบรรยากาศ

38 ความสูงต่ำของพื้นที่ (Altitude)
ปัจจัยที่กำหนด/ควบคุมภูมิอากาศ ความสูงต่ำของพื้นที่ (Altitude) อุณหภูมิ โดยทั่วไปอุณหภูมิจะลดลงทุก ๆ 1 องศาเซลเซียส เมื่อความสูงสูงขึ้นไปทุก ๆ 180 เมตร โดยเฉลี่ย

39 การหมุนเวียนทั่วไปของบรรยากาศ
ปัจจัยที่กำหนด/ควบคุมภูมิอากาศ ความสูงต่ำของพื้นที่ (Altitude) การหมุนเวียนทั่วไปของบรรยากาศ โดยทั่วไปอุณหภูมิจะลดลงทุก ๆ 1 องศาเซลเซียสเมื่อความสูงสูงขึ้นไปทุก ๆ 180 เมตร โดยเฉลี่ย จนมีหิมะปกคลุมในระดับที่อุณหภูมิต่ำมาก ๆ

40 ความสูงต่ำของพื้นที่ (Altitude)
ปัจจัยที่กำหนด/ควบคุมภูมิอากาศ ความสูงต่ำของพื้นที่ (Altitude) สีขาว : เขตเทือกเขาสูงที่มีระดับความสูงมากกว่า 5000 เมตรจากระดับน้ำทะเล

41 ปัจจัยที่กำหนด/ควบคุมภูมิอากาศ
ความใกล้ไกลทะเล/ระยะห่างจากทะเล/ขนาดของทวีป บริเวณที่ใกล้ทะเลจะได้รับอิทธิจากทะเลเช่นความชื้นและอากาศจะไม่รุ่นแรงเหมือนบริเวณที่อยู่ห่างจากทะเลโดยเฉพาะตอนในทวีป(จะมีอากาศที่รุ่นแรงระหว่างฤดู กล่าวคือ ในฤดูร้อนจะร้อนจัด ในฤดูหนาวจะหนาวจัด และยังมีพิสัย(ช่วงต่าง)ของอุณหภูมิระหว่างกลางวันและกลางคืนมากด้วย

42 บริเวณที่ไกลทะเล (แถบตอนในทวีป)
ปัจจัยที่กำหนด/ควบคุมภูมิอากาศ ความใกล้ไกลทะเล/ระยะห่างจากทะเล/ขนาดของทวีป บริเวณที่ใกล้ทะเล บริเวณที่ไกลทะเล (แถบตอนในทวีป) จะได้รับอิทธิจากทะเล เช่น ได้รับความชื้นมาก อากาศจะไม่รุ่นแรงอากาศ ในฤดูร้อนจะไม่ร้อนจัด ในฤดูหนาวไม่หนาวจัด พิสัย(ช่วงต่าง)ของอุณหภูมิระหว่างกลางวันและกลางคืนไม่มากด้วย จะได้รับอิทธิจากทะเล เช่น ได้รับความชื้นน้อย อากาศรุ่นแรงอากาศ ในฤดูร้อนร้อนจัด ในฤดูหนาวหนาวจัด พิสัย(ช่วงต่าง)ของอุณหภูมิระหว่างกลางวันและกลางคืนมากด้วย

43 ขนาดความกว้างใหญ่ของทวีปเอเชีย(เป็นทวีปที่ใหญ่ที่สุดในโลก)
ปัจจัยที่กำหนด/ควบคุมภูมิอากาศ ความใกล้ไกลทะเล/ระยะห่างจากทะเล/ขนาดของทวีป ขนาดความกว้างใหญ่ของทวีปเอเชีย(เป็นทวีปที่ใหญ่ที่สุดในโลก) ทำให้เกิดความแตกต่างระหว่างพื้นน้ำและผืนแผ่นดิน ทำให้เกิดย่อมความกดอากาศขึ้นในช่วงรอบปี จนเป็นที่มาของการเกิดลมมรสุมในทวีปเอเชีย

44 ปัจจัยที่กำหนด/ควบคุมภูมิอากาศ
ความใกล้ไกลทะเล/ระยะห่างจากทะเล/ขนาดของทวีป ความแตกต่างระหว่างผืนน้ำและผืนดินทำให้เกิดย่อมความกดอากาศที่ ต่างกันในช่วงปีจนเป็นที่มาของการเกิดลมมรสุ่ม

45 ปัจจัยที่กำหนด/ควบคุมภูมิอากาศ
กระแสน้ำในสมหาสมุทร (Ocean Currents)

46 ปัจจัยที่กำหนด/ควบคุมภูมิอากาศ
กระแสน้ำในสมหาสมุทร (Ocean Currents)

47 ปัจจัยที่กำหนด/ควบคุมภูมิอากาศ
กระแสน้ำในมหาสมุทร (Ocean Currents)

48 ปัจจัยที่กำหนด/ควบคุมภูมิอากาศ
กระแสน้ำในมหาสมุทร (Ocean Currents) บริเวณที่ กระแสน้ำอุ่นไหลผ่าน บริเวณที่ กระแสน้ำเย็นไหลผ่าน นำความชื้น + ไม่หนาวจัดในฤดูหนาว นำความหนาวเย็นมาให้ + แห้งแล้ง


ดาวน์โหลด ppt Climate I อาจารย์สอง สุดหล่อ.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google