เสียงในภาษา วิชาภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ ครูกิ่งกาญจน์ สมจิตต์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน

Advertisements

บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ความรู้เรื่องเสียงในภาษา

ทบทวนบทเรียน ENGLISH CLASS 6.
วิชาภาษาไทย เรื่อง สนุกกับพยัญชนะไทย
บทที่ 5 การดำรงชีวิตของพืช
แม่กม แม่เกย แม่เกอว แม่กน แม่กก แม่กด แม่กบ แม่ ก กา
อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
ประโยคในภาษาไทย การเขียนประกอบด้วยประโยคต่าง ๆ หลายรูปแบบ หากเข้าใจโครงสร้างของประโยค จะทำให้สื่อความหมายได้ชัดเจน ไม่สับสน ไม่คลุมเครือ และไม่ขาดตกบกพร่อง.
ผู้จัดทำ ด. ช. พีรวิทย์ ขาสัก เลขที่ ด. ช. ปรเมษ พยัคฆันตร์ เลขที่ 18 ชั้น.. ม.1/10 โรงเรียน จักรคำคณาทร จังหวัด ลำพูน ครับบบ...
ทีมคลินิกเบาหวาน/ความดัน
แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับทีม
กระบวนการของการอธิบาย
ซอฟต์แวร์และการเลือกใช้
เสียงวรรณยุกต์ ลักษณะของเสียงดนตรีหรือเสียงวรรณยุกต์
พุทธศาสนสุภาษิต.
ปลัดกระทรวงสาธารณสุข
1.
ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ ๑ ใช้เพื่อคลิ๊กไปสู่ หน้าถัดไป ใช้เพื่อคลิ๊กกลับ หน้าเดิม ใช้เพื่อคลิ๊กกลับสู่ หน้าหลัก ใช้คลิ๊กเมื่อต้องการ ออกจากระบบ.
การแต่งกายประดับ เครื่องราชอิสริยาภรณ์ไทย
โดย.....นายมานะ ครุธาโรจน์ ผู้อำนวยการโรงเรียนอนุบาลมณีราษฎร์คณาลัย ตามโครงการเสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรมและธรรมาภิบาล ในสถานศึกษา “ป้องกันการทุจริต”
Adaptive Software Development. วงจรชีวิตของการพัฒนาซอฟแวร์ หรือ Software Development Life Cycle (SDLC) เป็นโครง ร่างหรือแนวทางวิธีการ เพื่อใช้ทำความเข้าใจและเพื่อ.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
ก. ไก่ ฝึกอ่านตาม หน้า ถัดไป ผู้จัดทำ sahapreecha.
๕ เรื่องเด่นในร่างรัฐธรรมนูญ
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
กระบวนการ สังเคราะห์ด้วยแสง
ดิน สมบัติ ของดิน ลักษณะ ของดิน ประโยชน์ ของดิน ฐานความช่วยเหลือด้านความคิดรวบยอด สถานการณ์ปัญหาที่ 2.
แผนที่และเครื่องมือทางภูมิศาสตร์
(Thailand Vowels Transcribing)
Vernier เวอร์เนียร์ คือเครื่องมือที่ใช้วัดระยะ (distance) หรือ ความยาว (length) ให้ได้ค่าอย่างละเอียด เวอร์เนียร์ต่างจากไม้บรรทัดทั่วๆไป เพราะมี 2 สเกล.
กลุ่มคำและประโยค ภาษาไทย ม. ๓
Seminar 1-3.
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
การศึกษาประเภทเสียงและความหมายของคำในกลุ่มภาษาต่างประเทศ
หลักการแต่ง คำประพันธ์ประเภท โคลง. หลักการแต่ง คำประพันธ์ประเภท โคลง.
พฤติกรรม (Behavior) สิ่งเร้า ภายนอก ภายใน
กลุ่มเกษตรกร.
โต้วาทีอุดมศึกษา ญัตติ “มนุษย์แสนดีเลิศประเสริฐศรี”
ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
การสร้างโมเดลจำลองความสัมพันธ์ ระหว่างข้อมูล E-R Model
วิธีการกำหนดค่า Microsoft SharePoint ของคุณ เว็บไซต์ออนไลน์
วาระที่ ผลการประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การเตรียมความพร้อมบุคลากร สำนักแผนงานและโครงการพิเศษเพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงาน ของหน่วยงานในพื้นที่
โดย นายอนุชา ศรีเริงหล้า นักอุตุนิยมวิทยาปฏิบัติการ
ตัวชี้วัดที่ 5 : ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการประหยัดน้ำ
สร้างภูมิคุ้มกัน (แสงหิ่งห้อย)
วัฏจักรหิน วัฏจักรหิน : วัดวาอาราม หินงามบ้านเรา
กิตติกรรมประกาศ งานวิจัยนี้สำเร็จได้ด้วยความอนุเคราะห์ของบุคคลหลายท่านซึ่งไม่สามารถกล่าวไว้ในที่นี้ได้ทั้งหมดทุกท่าน ซึ่งท่านแรก ผู้จัดทำต้องขอขอบคุณ.
ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง
กฎกระทรวงสถานีบริการก๊าซปิโตรเลียมเหลว พ.ศ.....
บทที่ 9 การเรียงลำดับข้อมูล (Sorting)
การสร้างคำ ภาษาไทย ภาษาบาลีสันสกฤต การซ้อนคำ วิธีกฤต การซ้ำคำ
ลักษณะภาษาบาลีสันสกฤตเทียบกับภาษาไทย
มะเร็งปากมดลูก โดย นางจุฑารัตน์ กองธรรม พยาบาลวิชาชีพ รพ.สต.บ้านโนนแต้
อวัยวะที่ใช้ในการออกเสียง
บทที่ 6 เงินลงทุนในตราสารหนี้และตราสารทุน
แนวข้อสอบกลางภาคเรียนที่ ๑ / ๒๕๖๑
ค่ารูรับแสง - F/Stop ค่ารูรับแสงที่มีค่าตัวเลขต่ำใกล้เคียง 1 มากเท่าไหร่ ค่าของรูรับแสงนั้นก็ยิ่งมีความกว้างมาก เพราะเราเปรียบเทียบค่าความสว่างที่ 1:1.
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๕ นางบุษบา โหระวงศ์ โรงเรียนบางปะกอกวิทยาคม
รูปนิสิต บทคัดย่อ ผลการทดลอง วัตถุประสงค์ วิธีการที่นำเสนอ บทนำ
บทที่ 4 การจำลองข้อมูลและกระบวนการ (Data and Process Modeling)
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
การประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์
ทายสิอะไรเอ่ย ? กลม เขียวเปรี้ยว เฉลย ทายสิอะไรเอ่ย ? ขาว มันจืด เฉลย.
กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เสียงในภาษา วิชาภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ ครูกิ่งกาญจน์ สมจิตต์

อวัยวะที่ใช้ในการเปล่งเสียง

เสียงในภาษาไทย พยัญชนะ สระ วรรณยุกต์

เสียงพยัญชนะ ก ค ง จ ช ซ ด ต ท น บ ป พ ฟ ม ย ร ล ว อ ฮ ก ค ง จ ช ซ ด ต ท น บ ป พ ฟ ม ย ร ล ว อ ฮ ข้อสังเกต เสียงพยัญชนะเป็นเสียงที่ออกให้ดังยาวนานไม่ได้เหมือนเสียงสระ มีพยัญชนะบางเสียงที่ออกเสียงไม่ค่อยถูก เช่น [ร] เสียงกระทบ [ช] เสียงกักเสียดแทรก [ซ] เสียงเสียดแทรก [ร] [ล] ในคำควบกล้ำ

เสียงพยัญชนะ รูปพยัญชนะ ๑. ก ก ๒. ค ค ๓. ง ง ๔. จ จ ๕. ช ฉ ช ฌ ๖. ซ ซ ศ ษ ส ๗. ด ฎ ด ๘. ต ฏ ต ๙. ท ฐ ฑ ฒ ท ถ ธ ๑๐.น ณ น เสียงพยัญชนะ รูปพยัญชนะ ๑๑. บ บ ๑๒.ป ป ๑๓. พ ผ พ ภ ๑๔. ฟ ฝ ฟ ๑๕. ม ม ๑๖. ย ญ ย ๑๗. ร ร ๑๘. ล ล ฬ ๑๙. ว ว ๒๐. ฮ ห ฮ ๒๑..อ อ

เสียงสระ เสียงสระเดี่ยว อะ อา อิ อี อึ อือ อุ อู เอะ เอ แอะ แอ โอะ โอ เอาะ ออ เอือะ เออ เสียงสระประสม เอีย (อี-อา) เอือ (อือ-อา) อัว (อู-อา) ข้อสังเกต เสียงสระออกเสียงได้ยาวนานกว่าเสียงพยัญชนะ สระบางตัวจะมีการออกเสียงต่างจากรูป เช่น น้ำ ความ

เสียงวรรณยุกต์ วรรณยุกต์ระดับ คือ วรรณยุกต์ที่มีเสียงค่อนข้างคงที่ตลอดพยางค์ สามัญ เอก ตรี วรรณยุกต์เปลี่ยนระดับ คือ วรรณยุกต์ที่มีเสียงเปลี่ยนแปลงมากระหว่างต้นพยางค์กับท้ายพยางค์ โท จัตวา ข้อสังเกต เสียงวรรณยุกต์ช่วยบอกความหมายของคำ แต่บางครั้งเสียงวรรณยุกต์ที่เปลี่ยนไปตามอารมณ์ของผู้พูดก็มิได้ทำให้ความหมายของคำนั้นเปลี่ยนไป

เสียงหนักเบา คำที่พูดเป็นคำพยางค์เดียว และเป็นคำสำคัญในประโยค จะลงเสียงหนัก เมื่อต้องการเน้นคำบางคำเป็นพิเศษ จะลงเสียงหนัก ต้องการเน้นคำพูดเป็นพิเศษอาจลงเสียงหนักทุกพยางค์หรือทุกคำ คำนามเมื่อใช้เป็นคำเรียกผู้อื่น มักลงเสียงหนัก คำซ้ำที่เน้นความหมายว่ามากขึ้น ลงเสียงหนักและยาวที่พยางค์หน้า คำที่เป็นคำประสม คำซ้อน ๒ พยางค์ อาจจะลงเสียงหนักที่พยางค์ที่ ๒ หรืออาจจะลงเสียงหนักทั้ง ๒ พยางค์ก็ได้ คำที่มีมากกว่า ๒ พยางค์ มักลงน้ำหนักที่พยางค์สุดท้าย เมื่อนำคำมาประกอบเป็นประโยคถ้าลงน้ำหนักที่คำต่างกัน ความหมายของประโยคอาจเปลี่ยนไป

การลงเสียงหนัก เบาของคำ การลงเสียงหนัก-เบาของคำสองพยางค์ ขึ้น มีดังนี้ ๑.ถ้าเป็นคำสองพยางค์ จะลงเสียงหนักที่ พยางค์ที่สอง เช่น คนเราต้องมีมานะ (นะ เสียงหนักกว่า มา) ๒.ถ้าเป็นคำสามพยางค์ ลงเสียงหนักที่ พยางค์ที่สาม และพยางค์ที่หนึ่ง หรือ พยางค์ที่สองด้วยถ้าพยางค์ที่หนึ่งและ พยางค์ที่สองมี สระยาวหรือมีเสียงพยัญชนะท้าย เช่น ปัจจุบันเขาเลิกกิจการไปแล้ว (ลงเสียงหนัก ที่ ปัจ,บัน,กิจ,การ) ๓. ถ้าเป็นคำสี่พยางค์ขึ้นไป ลงเสียงหนัก ที่พยางค์สุดท้าย ส่วนพยางค์อื่น ๆ ก็ลง เสียงหนัก-เบาตามลักษณะส่วนประกอบ ของ พยางค์ที่มีสระยาวหรือมีเสียงพยัญชนะ ท้าย เช่น ทรัพยากร (ลงเสียงหนักที่ ทรัพ, ยา, กร)