การวัดและประเมินผลด้านพุทธิพิสัย (ตามลำดับขั้นการเรียนรู้ของ Benjamin Bloom) รศ. บรรพต พรประเสริฐ.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาห้องสมุดกับการรู้สารสนเทศของ นักศึกษาระดับชั้น ปวส.1 ด้วยการจัดการเรียนรู้โดยใช้สื่อประสม นางสาวพัชรี นาคทอง วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
Advertisements

ข้อสรุปหลักสูตรการอบรมการผลิต รายการเด็ก TV4Kids.
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
ชื่อผู้สอน : นางฐิติมา พิริยะ
วัตถุประสงค์การจัด นิทรรศการ พุทธพิสัย ความรู้ ความจำ ความเข้าใจ วิเคราะห์ สังเคราะห์และประเมินคุณค่า เจตพิสัย ความรู้สึก ความสนใจ อารมณ์ ทัศนคติ ค่านิยม.
การกำหนดปัญหาใน การวิจัย 1. แหล่งที่มาของปัญหา วิจัย 2. การวิเคราะห์ปัญหาวิจัย 3. การประเมินหัวข้อ ปัญหาที่จะทำวิจัย.
คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI)
เครื่องชี้วัดคุณภาพ วัตถุประสงค์: เพื่อให้ผู้เรียน
ชื่อเรื่อง : ศึกษาผลการจัดการเรียนรู้ ในรายวิชาการบัญชีบริหาร ด้วยวิธีการเรียนรู้แบบกลุ่มคละผลสัมฤทธิ์ STAD ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้สถานการณ์จำลองการวางแผนงบประมาณในธุรกิจการผลิตเฟอร์นิเจอร์
บริโภคอย่างมีความสุข งานนำเสนอแฟ้มสะสมผลงาน
ADDIE DESIGN Sumai Binbai.
กระบวนการถ่ายทอดความรู้
กลุ่ม 6 ผลการประชุมระดมความ คิดเห็น เพื่อกำหนดทิศทางก้าวใหม่ ในการให้บริการ : ฝึกอบรมนักวิทยาศาสตร์ ห้องปฏิบัติการ.
การพัฒนาการจัดการเรียนรู้แบบ รายบุคคลทางการคำนวณและ การใช้สูตรฟังชั่นอย่างง่ายโดย โปรแกรม Microsoft Excel ในวิชาคอมพิวเตอร์และสารสนเทศ เพื่องานอาชีพ ผู้วิจัย.
กิจกรรมแนะแนวการศึกษาและ อาชีพ ม.5 โปรแกรมการพัฒนาการตระหนักรู้และ ความสามารถในการตัดสินใจเลือก อาชีพและศึกษาต่อ คุณครูสุนันท์ ปรารมย์
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษา เขต 39 สำนักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน 16 พฤษภาคม 2558 ณ โรงแรมน่านเจ้า จังหวัดพิษณุโลก การประชุมชี้แจง เรื่อง.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการใช้โปรแกรมนำเสนอข้อมูล เรื่องการเชื่อมโยง ภาพนิ่ง ด้วยโปรแกรม Powerpoint2007 โดยใช้ สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI ของนักเรียนระดับชั้น.
จัดทำโดย นางสาวพิจิตรา ปันเต เลขที่ 18 นางสาวปิยธิดา อุตมา เลขที่ 19 ใบงานที่ 2 เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงาน.
หลักสูตรการอบรมวิทยากรตัวคูณ ระดับจังหวัด ครั้งที่ 1 ภาคกลางตอนบน ( วันที่สอง ) ณ โรงแรมริชมอนด์ จังหวัดนนทบุรี ระหว่างวันที่ 9 – 11 มีนาคม 2558.
แนวทาง การวัดและประเมินผล “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้” สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ.
หน่วยที่ 3 การวิเคราะห์มาตรฐาน และตัวชี้วัด การพัฒนาครูและศึกษานิเทศก์ด้านการสร้าง เครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัย ตามแนวการทดสอบนานาชาติ (PISA)
การจัดกิจกรรมตามแนวทาง การพัฒนาและประเมิน การอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สพฐ. แจกโรงเรียนทั่วประเทศ ปี ๒๕๕๔ เป็นแนวทางพัฒนาและประเมินความสามารถ.
บทที่ 3 นักวิเคราะห์ระบบและการ วิเคราะห์ระบบ. 1. นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis) 1.1 ความหมายของนักวิเคราะห์ระบบ นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis:
1. ด้าน หลักสูตร. จุดเน้นกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ คุณภาพผู้เรียน “ คุณภาพผู้เรียน ที่ระบุในจุดเน้นมีอยู่ แล้วในหลักสูตร.
ปรานอม ประทีปทวี 25/09/591 หน้าที่ของครูผู้นิเทศ สพม.5.
ร่างกายและสมองของนักเรียน รักษาไว้ให้แข็งแรง
ง21101 การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม. 1 เจตคติต่อการประกอบอาชีพ
การบริหารหลักสูตร.
การแพร่กระจายนวัตกรรม Diffusion of Innovation
นางสาวศิวพร แพทย์ขิม เอกสุขศึกษา กศ. บ. คณะพลศึกษา.
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
ทำการวิจัยโดย นางรุ่งนภา ทินช่วย
ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๐ ผู้สอน : คุณครูภาคภูมิ คล้ายทอง
การวิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
ฝึกวิเคราะห์ย่อหน้า 1 การศึกษาทำให้มีคุณภาพชีวิตที่ดี ทั้งยังช่วยพัฒนาทางด้านความคิด สติปัญญา และสังคม ทั้งนี้การศึกษายังมีความสำคัญต่อการเป็นอยู่ เพราะรากฐานของความมั่นคงมาจากการได้รับการศึกษา.
จัดทำโดย นางสาวอริษา ตู้ประทุม ช้นปีที่3
ผังมโนทัศน์สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
การพัฒนาบุคลิกภาพด้านการแสดงออกของผู้เรียน
การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพบุคลากรทางการศึกษาด้านการสอบด้วยคอมพิวเตอร์ (Computer-based Assessment) การรู้เรื่องการอ่าน ด้านคณิตศาสตร์และด้านวิทยาศาสตร์
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
นางนพรัตน์ สุวรรณโณ วิทยาลัยอาชีวศึกษาบริหารธุรกิจวิทยาสงขลา
การออกแบบ แผนการสอน (มคอ.3) แบบ COPYRIGHT BY CHITTAKHUP.
สัมมนาเชิงปฏิบัติการหลักสูตรการฝึกยกระดับฝีมือแรงงาน
เรียนอย่างไรให้ประสบความสำเร็จ
การวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัด
ความหมาย ความสำคัญ และจุดมุ่งหมายของการศึกษา
วัสดุและเทคนิค ทางการออกแบบ อ.สุวิธธ์ สาดสังข์ ( Material and
จุดมุ่งหมายทางการศึกษา และ จุดประสงค์การเรียนรู้
แนวคิดทฤษฎี ที่เกี่ยวกับการประเมินภาคปฏิบัติ
การวัดพฤติกรรมทางด้านทักษะพิสัย
การวิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
การวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัด
พฤติกรรมมนุษย์เพื่อการพัฒนาตน
โครงการยกระดับคุณภาพผู้เรียน ในการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ (NT/O-NET)
การวัดและประเมินผลด้านพุทธิพิสัย (ตามลำดับขั้นการเรียนรู้ของ Benjamin Bloom) รศ. บรรพต พรประเสริฐ.
หัวข้อการเรียน ENL 3701 Week 5
กลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร
การสอนควบคู่กับการเรียน
สถานการณ์เด็กไทยในปัจจุบัน
การสร้างแบบทดสอบ อาจารย์ ปรีชา เครือวรรณ อาจารย์ สมพงษ์ พันธุรัตน์
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
ISC1102 พื้นฐานทางระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
ความสำคัญ ของคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
พุทธวิธีในการสอน.
การวิเคราะห์ศักยภาพองค์กรกองแผนงาน โดย SWOT Analysis
การวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัด
ให้นักศึกษาตอบคำถามในตารางที่2 ในใบกิจกรรม
ADDIE model หลักการออกแบบของ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การวัดและประเมินผลด้านพุทธิพิสัย (ตามลำดับขั้นการเรียนรู้ของ Benjamin Bloom) รศ. บรรพต พรประเสริฐ

ในการจัดการเรียนการสอนต้องพัฒนาให้ผู้เรียนเกิดคุณลักษณะอันพึงประสงค์ด้านพฤติกรรมการเรียนรู้ที่สามารถตรวจสอบผลได้ ดังนั้นผู้สอนจึงต้องมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับพฤติกรรมการเรียนรู้ และความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมการเรียนรู้และการวัดผลประเมินผล

พฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย สมรรถภาพทางสติปัญญาหรือทางสมองของผู้เรียนในการเรียนรู้สิ่งต่าง ๆ ที่ผู้เรียนจะต้องอาศัยความสามารถทางสมองเป็นที่ตั้งของการคิดในระดับต่างๆ รวมทั้งจดจำ เช่น การเรียนวิชาเลข การแก้ปัญหาทางวิทยาศาสตร์ การทำความเข้าใจในการอ่าน การเขียนเรียงความ การคิดประดิษฐ์สิ่งใหม่ ๆ เป็นต้น

3. การนำไปใช้ (Application) 2. ความรู้ เข้าใจ (Comprehension) ระดับสูง ความคิด 6. การประเมิน (Evaluation) 5. การสังเคราะห์ (Synthesis) 4. การวิเคราะห์ (Analysis) 3. การนำไปใช้ (Application) 2. ความรู้ เข้าใจ (Comprehension) พื้นฐาน 1. ความรู้ ความจำ (Knowledge)

ตัวอย่างประกอบด้านความรู้ การจำแนกแยกแยะ จัดกลุ่ม จัดหมวดหมู่ การแยกแยะระหว่างเรื่องจริงกับเรื่องจินตนาการ การแยกแยะระหว่างเรื่องจริงกับความคิดเห็น การให้คำจำกัดความและตัวอย่าง การสรุป ระบุใจความสำคัญ

ตัวอย่างประกอบด้านความเข้าใจ การเปรียบเทียบ และเปรียบต่าง การระบุโครงสร้าง ขั้นตอนและกระบวนการ ความสัมพันธ์เชิงรูปร่าง ลักษณะ การเปรียบเทียบความหมายคำ การหาใจความสำคัญ การระบุความสัมพันธ์

ตัวอย่างประกอบด้านการนำไปใช้ การเรียงลำดับ การคาดคะเน ความเป็นไปได้ การอนุมาน การเปลี่ยนความหมายของคำ

ตัวอย่างประกอบด้านการวิเคราะห์ การเติมให้สมบูรณ์ ความเกี่ยวข้องของข้อมูล รูปธรรมหรือนามธรรม การกระทำที่เป็นเหตุเป็นผล การระบุส่วนประกอบ รายละเอียดและเหตุการณ์ที่เป็น เหตุเป็นผลกับเนื้อเรื่อง การพิจารณาข้อความว่าจริงหรือไม่

ตัวอย่างประกอบด้านการสังเคราะห์ การสื่อสารทางความคิด การวางแผน การสร้างสมมุติฐาน การหาข้อสรุป การเสนอทางเลือก

ตัวอย่างประกอบด้านการประเมิน การตัดสินใจโดยใช้ข้อมูลทั่ว ๆ ไป การตัดสินใจบนพื้นฐานของกฎกติกา หรือแนวทางที่กำหนดให้ การตัดสินบนพื้นฐานของความถูกต้อง การตัดสินใจโดยพิจารณาทางเลือก การระบุคุณค่า การระบุถึงความรู้สึก หรืออารมณ์เกี่ยวกับเนื้อเรื่อง

การเรียนรู้ในอดีต Lila M. Smith

การเรียนรู้ในปัจจุบัน

ทุกคนเยี่ยมมาก

ระดับของเรื่องที่เรียนรู้ ด้านพุทธิพิสัย (Cognitive Domain) สร้างสรรค์ ประเมินค่า วิเคราะห์ สังเคราะห์ นำไปใช้ ความเข้าใจ ความรู้-ความจำ

ด้านเจตพิสัย (Affective Domain) การมีลักษณะนิสัย การจัดระบบ การสร้างค่านิยม การตอบสนอง การยอมรับ

ด้านทักษะพิสัย (Psychomotor Domain) ทำเป็นธรรมชาติ ทำต่อเนื่อง ทำอย่างถูกต้อง ทำตามแบบ เลียนแบบ

สวัสดี