1 กิจกรรมถ่ายทอดและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (KM) ครั้งที่ 1/2557 คณะวิเทศศึกษา ม.อ.ภูเก็ต 25 สิงหาคม 2557 รูปแบบลวดลายผ้าบาติกในกลุ่มจังหวัดอันดามัน The Designs of Batik Cloth in Andaman Provinces ผู้ช่วยศาสตราจารย์โสภณ ศุภวิริยากร คณะวิเทศศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตภูเก็ต
1. ความสำคัญและที่มาของปัญหา 2. วัตถุประสงค์ของการวิจัย 3. ขอบเขตของการวิจัย 4. ผลจากการวิจัย 5. สรุปผลการวิจัย 6. ข้อเสนอแนะ
1. ความสำคัญและที่มาของปัญหา 3 1. ความสำคัญและที่มาของปัญหา ผ้าบาติก - อินโดนีเซีย - มาเลเซีย - ฟิลิปปินส์ - ทางภาคใต้ของไทย (นราธิวาส ยะลา ) ลวดลายส่วน ใหญ่เลียนแบบจากมาเลเซีย พัฒนา - เข้าสู่ภูเก็ตโดยจุดเริ่มต้นที่วิทยาลัยครูภูเก็ต (ปี 2526-2528) อ.ชูชาติ ระวิจันทร์เป็นผู้เริ่มต้น(เปิดสอนหลักสูตร บาติก) เป็นบาติกลายเขียนเทียนระบายสี (ลายใต้ท้องทะเล) - เป็นที่รู้จักทั่วจังหวัดและแถบชายฝั่งอันดามัน - ผ้าบาติกจึงเป็นเอกลักษณ์ของจังหวัดภูเก็ต
2. วัตถุประสงค์ของการวิจัย 4 2. วัตถุประสงค์ของการวิจัย เพื่อศึกษาเปรียบเทียบรูปแบบลวดลายผ้าบาติกในจังหวัดภูเก็ต พังงา และกระบี่
3. ขอบเขตของการวิจัย 5 1. ขอบเขตด้านข้อมูลและเนื้อหา -รูปแบบลวดลายที่ปรากฏบนผ้าบาติกที่ช่างเขียนผลิตในจังหวัดภูเก็ต พังงา และกระบี่ โดยการสัมภาษณ์เชิงลึก -วิเคราะห์เนื้อหาลักษณะเด่น เอกลักษณ์ของรูปแบบลวดลายมีความแตกต่างกันอย่างไรโดยยึดกรอบแนวคิด(ผศ.นันทา โรจน์อุดมศาสตร์) ลายดัดแปลงมาจากธรรมชาติ ลายประเภทสัตว์ ลายไทยและลายเครือเถา ลายเรขาคณิต ด้านจุดเด่น เอกลักษณ์ และ สีสัน
3. ขอบเขตของการวิจัย (ต่อ) 6 3. ขอบเขตของการวิจัย (ต่อ) 2 ขอบเขตด้านพื้นที่และกลุ่มเป้าหมาย -ช่างเขียนลวดลายผ้าบาติกจากร้านบาติกร้านละ 1 คน ในพื้นที่จังหวัด ภูเก็ต พังงา และกระบี่ โดยวิธีสุ่มเพียง 5 แหล่ง (จากโอทอป) ต่อ จังหวัด โดยการสัมภาษณ์ เชิงลึก
4. ผลจากการวิจัย 7 รูปแบบลวดลายดัดแปลงมาจากธรรมชาติ (ปู ปลา กุ้ง หอย เตา ปะการัง ดอกกล้วยไม้ ดอกกุหลาบ ดอกลีลาวดี ดอกเฟื่องฟ้า ดอกจำปา ดอกศรีตรัง) ทั้งสามจังหวัดไม่มีความแตกต่าง ภูเก็ต พังงา กระบี่
4. ผลจากการวิจัย (ต่อ) 8 ภูเก็ต พังงา กระบี่
4. ผลจากการวิจัย (ต่อ) 9 -รูปแบบลวดลายสัตว์ ภูเก็ต พังงา กระบี่
10 4.ผลจากการวิจัย (ต่อ) -รูปแบบลวดลายไทย ภูเก็ตนิยมเขียน พังงา และกระบี่ไม่นิยม -รูปแบบลวดลายเรขาคณิต พังงา นิยมเขียน ภูเก็ต กระบี่ไม่นิยมเขียน
4. ผลจากการวิจัย (ต่อ) 11 -ลักษณะจุดเด่น เอกลักษณ์ของรูปแบบลวดลาย ภูเก็ต พังงา กระบี่ เขาะปู กล้วยไม้รองเท้านารี แหลมพรหมเทพ อาคารชิโนปอร์ตุกีส
4. ผลจากการวิจัย (ต่อ) 12 -สีสัน สีพื้นของเสื้อผ้า ภูเก็ต พังงา กระบี่ ภูเก็ต พังงา กระบี่ พื้นสีชมพู สีพื้นของเสื้อผ้า ตัวลายสีกลมกลืน พื้นสีม่วงระบายเรียบ ตัวลายหลากสี สีของตัวลาย พื้นสีชมพูเข้มแบบระบายเรียบ ตัวลายสีชมพูอ่อน และกลมกลืน
5.สรุปผลการวิจัย 13 -ลวดลายดัคแปลงจากธรรมชาติ -ลวดลายสัตว์ -ลวดลายไทย -ลวดลายเรขาคณิต -ลักษณะจุดเด่น เอกลักษณ์ -สีสัน
5.สรุปผลการวิจัย (ต่อ) ภูเก็ต พังงา กระบี่ 14 ประเด็นรูปแบบลวดลาย นิยม (/) ไม่นิยม (x) เฉพาะ ภูเก็ต พังงา กระบี่ -ลายดัดแปลงจากธรรมชาติ / -ลายประเภทสัตว์ -ลายไทยและเครือเถา x -ลายเรขาคณิต -ลักษณะจุดเด่น เอกลักษณ์ -สีสัน
15 6.ข้อเสนอแนะ - ช่างเขียนผ้าบาติกควรเพิ่มศักยภาพในการออกแบบ(ทันสมัย) ทักษะ ฝีมือ - ควรมีการศึกษาเปรียบเทียบรูปแบบลวดลายของผ้าบาติกในเขต พื้นที่ ใกล้เคียง (จ.สงขลา สตูล ปัตตานี ยะลา นราธิวาส) และประเทศเพื่อน บ้าน (มาเลเซีย อินโดนีเซีย จีน) - รัฐ และเอกชนควรดูแลเรื่องราคา (ควบคุม)
ตัวอย่างภาพประกอบการสัมภาษณ์ 16 ตัวอย่างภาพประกอบการสัมภาษณ์
17
18
19
20
ขอขอบพระคุณ ช่างเขียนผ้าบาติกทุกท่านในเขตจังหวัดภูเก็ต พังงา และกระบี่ 21 ขอขอบพระคุณ ช่างเขียนผ้าบาติกทุกท่านในเขตจังหวัดภูเก็ต พังงา และกระบี่ (ให้ข้อมูล-สัมภาษณ์) คณะวิเทศศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตภูเก็ต (สนับสนุนทุนในการวิจัย) และขอขอบคุณผู้เข้าร่วมสัมมนาทุกท่าน......สวัสดีครับ....