นโยบายระบบส่งน้ำและการกระจายน้ำ โครงการชลประทานเพชรบุรี

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
พัฒนาระบบบริหารจัดการน้ำเพื่อการเกษตร(บูรณาการกระทรวง)
Advertisements

สถานการณ์น้ำในปัจจุบัน
โครงการประตูระบายน้ำห้วยลังกา บ้านท่าลาด ตำบลนาเข อำเภอบ้านแพง จังหวัดนครพนม สำนักงานก่อสร้าง 7 สำนักพัฒนาแหล่งน้ำขนาดกลาง.
กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการสหกรณ์
นายชิดชัย อังคะ ไวมงคล หัวหน้ากลุ่มงานวิชาการ ผังเมือง นายมนัส ปรุง ทำนุ หัวหน้าฝ่ายปฏิบัติการ ร. อ. ปกรณ์เดช โลหิตหาญ หัวหน้ากลุ่มงานวิชาการ โยธาธิการ.
การคัดเลือกพื้นที่เพื่อการพัฒนาสถานบริการสาธารณสุข ในชายแดนชนบท
ชลบุรี ว่าง นายชิดชัย อังคะไวมงคล
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการ กรม สำนักงานสหกรณ์จังหวัด สระบุรี ( กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการ จัดการสหกรณ์ ) ข้อมูล ณ วันที่ 25 ธันวาคม โครงการตามนโยบายรัฐบาล.
แม่ฮ่องสอน สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด นายไพรัช จันทรา
ระยอง นายสมชัย ฉายศรีศิริ นายปรพล เจริญพงษ์ นายสมหมาย เอี่ยมมงคลสกุล
สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
นางพจนีย์ ขจร ปรีดานนท์ โยธาธิการและผังเมือง จังหวัด นายทวีศักดิ์ สุริยะสิงห์ หัวหน้ากลุ่มงานวิชาการ โยธาธิการ ( ว่าง ) หัวหน้าฝ่ายบริหารงาน ทั่วไป นายปรีชา.
กลุ่มยุทธศาสตร์และสารสนเทศการพัฒนาปศุสัตว์
ผอ. พงษ์นรา เย็น ยิ่ง. อัตราบรรจุ ข้าราชการ -12 พนักงาน ราชการ -4 ลูกจ้าง -18 รวม -34 อัตราว่าง - มาช่วย ราชการ - ถูกยืมตัว - ลาเรียน - ผอ. กองบูรณะและบำรุงรักษา.
ปัตตานี นายวิจิตร จำปาสกุล โยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
นายสรกฤษณ์ เมือง สนธิ์ โยธาธิการและผังเมือง จังหวัด นายวิชัย เพ็ญดี หัวหน้ากลุ่มงานวิชาการ โยธาธิการ นางสุภาภรณ์ ไชยเวช หัวหน้าฝ่ายบริหารงาน ทั่วไป นายจีระ.
กลุ่มส่งเสริมและพัฒนา ธุรกิจสหกรณ์ ปีงบประมาณ 2555 วันที่ 9 กรกฎาคม 2555.
โยธาธิการและผังเมืองจังหวัด สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
1 ผลการดำเนินงานและการใช้จ่าย งบประมาณปี 2554 พลางก่อน ผลการดำเนินงานและการใช้จ่าย งบประมาณปี 2554 พลางก่อน สำนักแผนงาน กรมทางหลวงชนบท ข้อมูล ณ 23 ธ.ค.54.
ประวัติความเป็นมา บ้านสระแก้วก่อตั้งขึ้น เมื่อปี พ.ศ 2419 โดย พ่อใหญ่จารย์แก้ว เป็นผู้นำพาลูกหลานจากบ้านงัวบา ตำบลงัวบา อำเภอวาปีปทุม จังหวัดมหาสารคาม.
พญ. ปิยนิตย์ ธรรมาภรณ์พิลาศ
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
ปรับโครงสร้างการผลิตข้าว
สถานการณ์น้ำในอ่างเก็บน้ำ กฟผ. การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย
การดำเนินการหลังการประกาศ การชะลอการเพาะปลูกข้าวนาปีใน พื้นที่ลุ่มน้ำเจ้าพระยา ปี 2558/59 กรมส่งเสริม การเกษตร.
การพัฒนาโครงการที่อยู่อาศัยในไทย
โครงการเมืองเกษตรสีเขียว ปี 2557
การมอบนโยบายแนวทาง การปฏิรูปที่ดินประจำปี 2559 โดย นายสรรเสริญ อัจจุตมานัส เลขาธิการ ส. ป. ก.
ทิศทางการตลาด และ การ สนับสนุนเกษตร อินทรีย์ โดย น. ส. สุทัศนีย์ ราช เรืองระบิน รองอธิบดี กรมการค้าภายใน.
ผังบริหารจัดการน้ำลุ่มน้ำแม่ต้า เอกสารประกอบการประชุมเชิงปฏิบัติการรับฟังความคิดเห็นสาธารณะ “การรู้จักตนเองและทรัพยากรของเรา : กุญแจสู่การจัดการทรัพยากรน้ำแบบบูรณาการและยั่งยืน.
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
การสร้างแผนปฏิบัติการระดับตำบลหรือท้องถิ่น
ปัจจัยแห่งความสำเร็จ
การสัมมนาวิชาการ สมาคมนักวิจัยและเพาะเห็ดหอมแห่งประเทศไทย เรื่อง เห็ดไทย ... กับการก้าวสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน วันศุกร์ที่ 11 พฤษภาคม 2555 ณ โรงแรมเอเชียแอร์พอร์ต.
ประชุมคณะอนุกรรมการติดตาม วิเคราะห์สถานการณ์น้ำและจัดสรรน้ำ
Design by Agri - Map สำนักงานชลประทานที่ ๘.
เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ
โดย นายทรงเกียรติ ตาตะยานนท์ ผู้อำนวยการส่วนจัดการงบประมาณ
ข่าวประชาสัมพันธ์สำนักงานเกษตรจังหวัดสุโขทัย
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
แนวทางปฏิบัติ กรมป่าไม้
ปัญหาอุปสรรค และข้อเสนอแนะ และแนวทางแก้ไข ของกองวิจัยและพัฒนาข้าว
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน ปี 2561
ณ ห้องประชุมกองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร
การสัมมนาแนวทางการดำเนินงาน
การประเมินผลการปฏิบัติราชการตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ
โยธาธิการและผังเมืองจังหวัด สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
ยะลา นายอาคม เหมบุปผกะ นางสาวสาวิตรี ลาภาวัณย์ นายอาแว ผูหาดา
ยะลา นายอาคม เหมบุปผกะ นางสาวสาวิตรี ลาภาวัณย์ นายอาแว ผูหาดา
กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
ระเบียบวาระที่ 4 : เรื่องเพื่อทราบ
ประชุม คปสจ.ประจำเดือนมิถุนายน ๒๕๕๙ MOTTO – กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
การเตรียมการป้องกันและแก้ปัญหาภัยแล้ง จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
ลำปาง นายยรรยง พลสันติกุล สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
สำนักงานปศุสัตว์จังหวัดฉะเชิงเทรา
การบรรจุแต่งตั้งและอัตราเงินเดือน
แผนการป้องกันและบรรเทาภัยอันเกิดจากน้ำ (ฤดูฝน) พ.ศ. 2559
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
ปฏิบัติการร่วมป้องกันและบรรเทาอุทกภัยภาคใต้ ประจำวันที่ 5 ตุลาคม 2557 ( เวลา น. )
กรมมีผลการปฏิบัติงานที่ดี เกษตรกรได้รับประโยชน์
โครงการส่งเสริมการบริหารจัดการการเงินชุมชน
ระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่
มารู้จักและมีส่วนร่วมในกิจกรรม CSR ของ สศช. กันเถอะ
รายงานผลการปฏิบัติงาน ประจำปีงบประมาณ 2560 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดลำพูน
หลักการทรงงาน รัชกาลที่ 9.
โครงการส่งน้ำและบำรุงรักษาราชบุรีฝั่งซ้าย
เครื่องขุดหลุมปลูกยาสูบ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

นโยบายระบบส่งน้ำและการกระจายน้ำ โครงการชลประทานเพชรบุรี จังหวัดเพชรบุรี โครงการชลประทานเพชรบุรี สำนักงานชลประทานที่ 14 กรมชลประทาน

มีพื้นที่ทั้งหมด 6,225 ตารางกิโลเมตร หรือ 3,890,711 ไร่ เป็นพื้นที่การเกษตร 935,293 ไร่ คิดเป็น 24 % ของพื้นที่ทั้งจังหวัด อยู่ในเขตชลประทาน 653,492 ไร่ คิดเป็น 70 %ของพื้นที่ทำการเกษตร - อยู่ในความรับผิดชอบของโครงการชลประทานเพชรบุรี จำนวน 145,917 ไร่ รับน้ำจาก อ่างเก็บน้ำขนาดกลาง 11 แห่ง อ่างเก็บน้ำขนาดเล็กพระราชดำริ 23 แห่ง อ่างเก็บน้ำขนาดเล็กถ่ายโอน 65 แห่ง และสถานีสูบน้ำด้วยไฟฟ้า 12 แห่ง - อยู่ในความรับผิดชอบของโครงการส่งน้ำและบำรุงรักษาเพชรบุรี จำนวน 421,075 ไร่ รับน้ำจากอ่างเก็บน้ำแก่งกระจาน อ่างเก็บน้ำห้วยแม่ประจันต์และอ่างเก็บน้ำห้วยผาก - อยู่ในความรับผิดชอบของโครงการส่งน้ำและบำรุงรักษาราชบุรีฝั่งขวา จำนวน 86,500 ไร่ รับน้ำจากเขื่อนแม่กลอง ดังนั้นจึงยังมีพื้นที่การเกษตรอีก 281,801 ไร่ ที่อยู่นอกเขตชลประทาน ซึ่งจำเป็นต้องพัฒนาแหล่งน้ำในเขตพื้นที่ดังกล่าว เพื่อเป็นแหล่งน้ำต้นทุนในการเกษตรต่อไป

แผนที่ที่ตั้งโครงการพัฒนาแหล่งน้ำและโครงการชลประทานปัจจุบัน

แผนที่แสดงอ่างเก็บน้ำขนาดใหญ่ กลาง และเล็กพระราชดำริ

พื้นที่ชลประทานในจังหวัดเพชรบุรี พื้นที่ชลประทาน (ไร่) ลำดับที่ โครงการ พื้นที่ชลประทาน (ไร่) 1 โครงการส่งน้ำและบำรุงรักษาเพชรบุรี   - อ่างเก็บน้ำแก่งกระจาน 390,120 - อ่างเก็บน้ำห้วยแม่ประจันต์ 25,780 - อ่างเก็บน้ำห้วยผาก 5,173 รวม 421,075 2 โครงการชลประทานเพชรบุรี - อ่างเก็บน้ำขนาดกลาง 11 แห่ง 38,420 - อ่างเก็บน้ำขนาดเล็กพระราชดำริ 23 แห่ง 28,132 - อ่างเก็บน้ำขนาดเล็ก (ถ่ายโอน) 65 แห่ง 56,605 - สถานีสูบน้ำด้วยไฟฟ้า 12 แห่ง 22,760 145,917 3 โครงการส่งน้ำและบำรุงรักษาราชบุรีฝั่งขวา - คลองส่งน้ำสายใหญ่ฝั่งขวา 86,500 รวมทั้งสิ้น 653,492

แหล่งน้ำชลประทาน ในเขตจังหวัดเพชรบุรี จนถึงปี 2560 แหล่งน้ำชลประทาน ในเขตจังหวัดเพชรบุรี จนถึงปี 2560 1. อ่างเก็บน้ำขนาดใหญ่ 1 แห่ง 2. อ่างเก็บน้ำขนาดกลาง อันเนื่องมาจากพระราชดำริ 13 แห่ง 3. อ่างเก็บน้ำขนาดเล็ก อันเนื่องมาจากพระราชดำริ 23 แห่ง 4. อ่างเก็บน้ำขนาดเล็ก ( ถ่ายโอน ) 65 แห่ง 5. สระเก็บน้ำ 98 แห่ง 6. แหล่งน้ำในไร่นา 897 แห่ง 7. สถานีสูบน้ำด้วยไฟฟ้า 9 แห่ง

การบริหารจัดการน้ำในจังหวัดเพชรบุรี โครงการชลประทานเพชรบุรี จะเป็นผู้บริหารจัดการน้ำอ่างเก็บน้ำขนาดกลาง จำนวน 11 แห่ง ร่วมกับกลุ่มผู้ใช้น้ำฯในการจัดสรรน้ำดังนี้ ฤดูแล้ง เริ่มเดือนกุมภาพันธ์ - พฤษภาคม พื้นที่ 8,690 ไร่ - จัดสรรน้ำเพื่ออุปโภค-บริโภค ปริมาณน้ำ 0.0408 ล้านลบ.ม. - จัดสรรน้ำเพื่อการเกษตร งดนาปรัง ปริมาณน้ำ 6.7047 ล้านลบ.ม. ฤดูฝน เริ่มเดือนกรกฎาคม - พฤศจิกายน พื้นที่ 23,231 ไร่ - จัดสรรน้ำเพื่ออุปโภค-บริโภค ปริมาณน้ำ 0.0517 ล้านลบ.ม. - จัดสรรน้ำเพื่อการเกษตร ปริมาณน้ำ 24.9203 ล้านลบ.ม.

การบริหารจัดการน้ำของอ่างเก็บน้ำขนาดกลางและขนาดเล็ก ในการกำหนดพื้นที่ส่งน้ำของโครงการชลประทานเพชรบุรี ให้ความสำคัญกับการอุปโภค-บริโภค เป็นอันดับแรก การรักษาระบบนิเวศน์,การเกษตร ,การอุตสาหกรรม ตามลำดับ

แผนการจัดสรรน้ำและการเพาะปลูกพืชฤดูแล้ง ปี 2559/2560 ตารางที่ 2 แผนการจัดสรรน้ำและการเพาะปลูกพืชฤดูแล้ง ปี 2559/2560 อ่างเก็บน้ำขนาดกลาง โครงการชลประทานเพชรบุรี   ลำดับ ชื่อโครงการ จังหวัด อำเภอ แหล่งน้ำต้นทุน ปริมาณน้ำ (ล้าน ลบ.ม.) พื้นที่เป้าหมาย (ไร่) ความต้องการใช้น้ำรายเดือนของทุกกิจกรรม (ล้าน ลบ.ม.) ระยะเวลาการส่งน้ำ ที่ ใช้งานได้ เกษตร อุปโภค- อื่นๆ รวม ข้าวนาปรัง พืชไร่ พืชผัก อ้อย ไม้ผล ไม้ยืนต้น บ่อปลา บ่อกุ้ง ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. เริ่ม สิ้นสุด 1 พ.ย...... บริโภค 1 อ่างฯทุ่งขาม เพชรบุรี ชะอำ อ่างเก็บน้ำ 8.1460 3.4696 0.0072 3.4768 5,000 500 0.84 1.76 0.73 0.14 3.48 1-ก.พ. 31-พ.ค. 2 อ่างฯห้วยตะแปด 0.6424 0.5908 0.0024 0.5932 0.12 0.17 0.13 0.59 3 อ่างฯห้วยทราย 0.0450 0.0591 0.0615 50 0.01 0.02 0.06 4 อ่างฯพุหวาย 0.4566 0.1382 0.1406 100 0.03 0.04 5 อ่างฯหุบกะพง 0.4180 0.1182 0.1206 6 อ่างฯโป่งทะลุ 0.2469 7 อ่างฯวังยาว ท่ายาง 0.2466 8 อ่างฯห้วยสามเขา 2.2600 0.7605 0.7629 400 0.29 0.19 0.11 0.76 9 อ่างฯกระหร่าง 3 แก่งกระจาน 0.3100 0.1300 0.1324 110 10 อ่างฯห้วยสงสัย 4.0925 1.2847 0.0144 1.2991 800 30 0.52 0.32 1.30 11 อ่างฯพุน้อย เขาย้อย 0.1821 0.0354 0.0000 600 17.0461 6.7047 0.0408 6.7455 6,200 2,490 1.55 2.91 1.59 0.69 6.75 8,690

อ่างเก็บน้ำขนาดกลาง โครงการชลประทานเพชรบุรี พื้นที่คาดการณ์ (ไร่) แผนการจัดสรรน้ำและการเพาะปลูกพืชฤดูฝน ปี 2560 อ่างเก็บน้ำขนาดกลาง โครงการชลประทานเพชรบุรี   ลำดับที โครงการ/อ่างเก็บน้ำ จังหวัด ปริมาณน้ำ (ล้าน ม.3) พื้นที่คาดการณ์ (ไร่) ระยะเวลาการปลูกพืช พื้นที่ ชป. (ไร่) เกษตร อุปโภค- อุตสาห- ระบบ อื่นๆ รวม ข้าวนาปี พืชไร่ พืชผัก อ้อย ไม้ผล ไม้ยืนต้น บ่อปลา บ่อกุ้ง เริ่ม สิ้นสุด บริโภค กรรม นิเวศน์ 1 อ่างฯทุ่งขาม เพชรบุรี 6,800 7.6202 0.0090 7.6292 600 2,800 100 1,768 35 1,320 177 1-ก.ค. 30-พ.ย. 2 อ่างฯห้วยตะแปด 4,564 2.5267 0.0030 2.5297 10 300 823 1,359 61 3 อ่างฯห้วยทราย 3,150 1.0016 1.0046 400 98 4 อ่างฯพุหวาย 1,020 0.8188 0.0031 0.8219 750 5 อ่างฯหุบกะพง 3,000 1.0156 1.0187 200 6 อ่างฯโป่งทะลุ 2,210 2.4504 2.4535 1,910 7 อ่างฯวังยาว 1,105 0.4290 0.4321 8 อ่างฯห้วยสามเขา 3,145 3.3707 3.3737 2,500 350 250 9 อ่างฯกระหร่างสาม 4,000 1.1157 1.1187 900 110 อ่างฯห้วยสงสัย 4,050 4.3912 0.0184 4.4095 30 330 285 555 11 อ่างฯพุน้อย 213 0.1805 0.0000 33,257 24.9203 0.0517 24.9720 640 11,710 1,200 2,098 3,703 3,534 346 23,231

การบริหารจัดการน้ำในจังหวัดเพชรบุรี โครงการส่งน้ำและบำรุงรักษาเพชรบุรี จะเป็นผู้บริหารจัดการน้ำอ่างเก็บน้ำแก่งกระจาน อ่างเก็บน้ำห้วยแม่ประจันต์ และอ่างเก็บน้ำ ห้วยผาก ร่วมกับกลุ่มผู้ใช้น้ำฯ ในการจัดสรรน้ำ ดังนี้ ฤดูแล้ง เริ่มเดือนกุมภาพันธ์ - พฤษภาคม พื้นที่ 14,774 ไร่ - เพื่ออุปโภค-บริโภค ปริมาณน้ำ 133.73 ล้านลบ.ม. - เพื่อการเกษตร ปริมาณน้ำ 25.95 ล้านลบ.ม. - เพื่ออุตสาหกรรม ปริมาณน้ำ 6.52 ล้านลบ.ม. - เพื่อรักษาระบบนิเวศ ปริมาณน้ำ 80.37 ล้านลบ.ม.

การบริหารจัดการน้ำของเขื่อนแก่งกระจาน การบริหารจัดการน้ำในฤดูแล้ง (เดือนมกราคม – พฤษภาคม) หากสิ้นฤดูฝน มีปริมาณน้ำในเขื่อนแก่งกระจานมากกว่า 360 ล้าน ลูกบาศก์เมตร จะส่งน้ำเพื่ออุปโภค-บริโภค, รักษาระบบนิเวศน์, ผลักดันน้ำเค็ม, การเกษตร และอุตสาหกรรม ได้ครบทุกกิจกรรม โดยส่งน้ำให้พื้นที่การเกษตรเป็นข้าวนาปรังได้ประมาณ 50,000 – 200,000 ไร่ ไม้ผล, ไม้ยืนต้น, พืชไร่, พืชผัก ได้อีกประมาณ 30,000 ไร่ หากปริมาณน้ำอยู่ระหว่าง 260 – 360 ล้าน ลูกบาศก์เมตร จะงดการส่งน้ำให้พื้นที่ข้าวนาปรัง แต่จะส่งน้ำให้ไม้ผล, ไม้ยืนต้น, พืชไร่, พืชผัก ได้บางส่วน และหากปริมาณน้ำน้อยกว่า 260 ล้าน ลูกบาศก์เมตร จะงดส่งน้ำข้าวนาปรัง, พืชไร่, พืชผัก คงเหลือการส่งน้ำเพื่อกิจกรรมอื่นๆ เท่าที่จำเป็น

แผนการจัดสรรน้ำและการเพาะปลูกฤดูแล้ง ปี 2559/2560 อ่างเก็บน้ำ ปริมาณน้ำใช้งานได้ 1 ม.ค. 60 ปริมาณน้ำ (ล้าน ลบ.ม.) พื้นที่เป้าหมาย (ไร่) ระยะเวลาการส่งน้ำ เกษตร อุปโภค อุตสาหกรรม อื่นๆ (นิเวศน์) รวม ข้าวนาปรัง พืชไร่ พืชผัก ไม้ผล เริ่ม สิ้นสุด บริโภค เขื่อนแก่งกระจาน 350.0 25.9 123.9 6.5 65.2 221.5 - 4,218 5,556 5,000 1 ม.ค. 60 31 พ.ค. 60 อ่างฯ ห้วยแม่ประจันต์ 38.0  -   11.9 18.4 -  อ่างฯ ห้วยผาก 25.0 3.3 6.6 413.0 133.7 80.4 246.5 14,774 

วันที่ 1 มกราคม – 31 พฤษภาคม 2560 โครงการฯ วางแผนส่งน้ำเพื่ออุปโภคบริโภค, รักษาระบบนิเวศน์, ผลักดันน้ำเค็ม, การเกษตร และอุตสาหกรรม เขื่อนแก่งกระจาน : เปิดระบายน้ำลงแม่น้ำเพชรบุรี 10.0 – 15.0 ลบ.ม./วินาที เขื่อนเพชร : เปิดระบายน้ำลงแม่น้ำเพชรบุรี 5.0 - 7.0 ลบ.ม./วินาที เพื่ออุปโภคบริโภค รักษาระบบนิเวศน์ ในแม่น้ำเพชรบุรี เปิดน้ำเจ้าคลองส่งน้ำสายใหญ่ 1, 2, 3 และสายใหญ่ฝั่งซ้าย แบบรอบเวร หมุนเวียน คลองละ 7 วัน (เปิด 7 วัน – ปิด 21 วัน) ด้วยอัตรา 1.5 – 5 ลบ.ม./วินาที เพื่ออุปโภคบริโภค และการเกษตร (พืชไร่น้ำน้อย) การประปา 51 แห่ง สระน้ำหมู่บ้าน, วัด, ชาวบ้าน 51 แห่ง

การบริหารจัดการน้ำในจังหวัดเพชรบุรี โครงการส่งน้ำและบำรุงรักษาเพชรบุรี จะเป็นผู้บริหารจัดการน้ำอ่างเก็บน้ำแก่งกระจาน อ่างเก็บน้ำห้วยแม่ประจันต์ และอ่างเก็บน้ำ ห้วยผาก ร่วมกับกลุ่มผู้ใช้น้ำฯ ในการจัดสรรน้ำ ดังนี้ ฤดูฝน เริ่มเดือนกรกฎาคม - พฤศจิกายน พื้นที่ 346,200 ไร่ เพื่ออุปโภค-บริโภค ปริมาณน้ำ 125.75 ล้านลบ.ม. - เพื่อการเกษตร ปริมาณน้ำ 175.35 ล้านลบ.ม. เพื่ออุตสาหกรรม ปริมาณน้ำ 3.68 ล้านลบ.ม. - เพื่อรักษาระบบนิเวศ ปริมาณน้ำ 70.54 ล้านลบ.ม. เพื่อกิจกรรมอื่นๆ ปริมาณน้ำ 45.28 ล้านลบ.ม.

การบริหารจัดการน้ำในฤดูฝน (เดือนมิถุนายน – ธันวาคม) การบริหารจัดการน้ำในฤดูฝน (เดือนมิถุนายน – ธันวาคม) หากสิ้นฤดูแล้ง มีปริมาณน้ำในเขื่อนแก่งกระจาน มากกว่า 300 ล้าน ลูกบาศก์เมตร จะเริ่มส่งน้ำเพาะปลูกพืชในฤดูฝน ประมาณวันที่ 1 กรกฎาคม หากปริมาณน้ำอยู่ระหว่าง 250 – 300 ล้าน ลูกบาศก์เมตร จะเริ่มส่งน้ำเพาะปลูกพืชในฤดูฝน ประมาณวันที่ 31 กรกฎาคม และหากปริมาณน้ำน้อยกว่า 250 ล้าน ลูกบาศก์ โดยจะส่งน้ำให้พื้นที่การเกษตรเป็น ข้าวนาปี 265,700 ไร่ พืชไร่ 1,100 ไร่ พืชผัก 1,900 ไร่ ไม้ผล 66,000 ไร่ ไม้ยืนต้น 3,200 ไร่ บ่อปลา 4,000 ไร่ บ่อกุ้ง 5,000 ไร่ รวมพื้นที่การเกษตรทั้งสิ้น 346,200 ไร่

แผนการจัดสรรน้ำและการเพาะปลูกพืชฤดูฝนปี 2560 อ่างเก็บน้ำ จังหวัด พื้นที่ ชป. (ไร่) พื้นที่เป้าหมาย (ไร่)   ระยะเวลาการส่งน้ำ ข้าวนาปี พืชไร่ พืชผัก อ้อย ไม้ผล ไม้ยืนต้น บ่อปลา บ่อกุ้ง อื่นๆ เริ่ม สิ้นสุด เขื่อนแก่งกระจาน เพชรบุรี 390,120 265,000 1,100 1,900 - 66,000 3,200 4,000 5,000 31 ก.ค. 60 19 ธ.ค. 60 อ่างฯ ห้วยแม่ประจันต์ อ่างฯ ห้วยผาก รวม 346,200

การบริหารจัดการน้ำในจังหวัดเพชรบุรี โครงการส่งน้ำและบำรุงรักษาราชบุรีฝั่งขวา จะเป็นผู้บริหารจัดการน้ำโดยรับน้ำจากคลองส่งน้ำ 1 ขวาแม่กลองใหญ่ กม.80+000-121+000 ร่วมกับกลุ่มผู้ใช้น้ำฯ ในการจัดสรรน้ำดังนี้  เพื่อการอุปโภค- บริโภค ส่งน้ำเป็นรอบเวร 3 สัปดาห์ต่อครั้ง  เพื่อการเกษตร พื้นที่ 86,500 ไร่ ส่วนใหญ่ในพื้นที่อำเภอเขาย้อย และอำเภอบ้านลาด อำเภอเมือง - ฤดูแล้งเริ่มเดือนกุมภาพันธ์ – พฤษภาคม ปริมาณน้ำ 96.77 ล้าน ลบ.ม. - ฤดูฝนเริ่มเดือนกรกฎาคม – พฤศจิกายน ปริมาณน้ำ 145.15 ล้าน ลบ.ม.

 เพื่อให้การบริหารจัดการน้ำในช่วงฤดูแล้งปี พ. ศ  เพื่อให้การบริหารจัดการน้ำในช่วงฤดูแล้งปี พ.ศ. 2559/60 ได้ตามแผนที่วางไว้จึงกำหนดมาตรการควบคุมการบริหารจัดการน้ำพร้อมทั้งขอความ ร่วมมือปฏิบัติตามคำแนะนำของทางราชการ ดังนี้ 1. ส่งน้ำเพื่อการอุปโภค-บริโภค รักษาระบบนิเวศ และการปลูกพืชใช้น้ำน้อย เช่น สวนผลไม้ พืชไร่ พืชผัก ไม่สนับสนุนการทำนาปรัง 2. จัดเตรียมรถบรรทุกน้ำและเครื่องสูบน้ำ พร้อมให้การช่วยเหลือการเกษตรกรณีฉุกเฉิน และจำเป็นตามที่เห็นสมควร 3.ทำข้อตกลงกับองค์กรส่วนท้องถิ่น ให้มีมาตรการ ลดการใช้น้ำ และช่วยกันใช้น้ำอย่างประหยัด

จบการนำเสนอ