งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

แผนการป้องกันและบรรเทาภัยอันเกิดจากน้ำ (ฤดูฝน) พ.ศ. 2559

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "แผนการป้องกันและบรรเทาภัยอันเกิดจากน้ำ (ฤดูฝน) พ.ศ. 2559"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 แผนการป้องกันและบรรเทาภัยอันเกิดจากน้ำ (ฤดูฝน) พ.ศ. 2559
โครงการชลประทานเพชรบุรี สำนักงานชลประทานที่ 14 กรมชลประทาน

2 แผนที่แสดงอ่างเก็บน้ำขนาดกลาง และขนาดเล็กพระราชดำริ

3 แผนงานก่อนน้ำมา (ก่อนถึงฤดูฝน)
แผนงานที่ไม่ใช้สิ่งก่อสร้าง  การคาดการณ์และการติดตามสถานการณ์ต่างๆ อย่างใกล้ชิด  การบริหารน้ำในอ่างเก็บน้ำ ขนาดกลางและขนาดเล็ก  การบริหารจัดการน้ำในพื้นที่การเกษตร  การบริหารน้ำหลากที่ไม่สามารถควบคุมได้(ติดตามเฝ้าระวัง และคาดการณ์สภาพน้ำ  การบริหารข้อมูลน้ำฝน น้ำในอ่าง น้ำท่า และน้ำท่วม  การจัดตั้งศูนย์ประมวลวิเคราะห์สถานการณ์น้ำ  การจัดประชุมเตรียมความพร้อมรับสถานการณ์ก่อนฤดูน้ำหลากในภูมิภาคต่างๆ

4 การติดตามสภาพภูมิอากาศ

5 การบริหารจัดการน้ำ

6 สภาพน้ำในอ่างเก็บน้ำขนาดใหญ่และขนาดกลาง
โครงการชลประทานเพชรบุรี สำนักงานชลประทานที่ 14 ประจำวันพุธ ที่ 21 กันยายน 2559 อ่างเก็บน้ำ ความจุที่ ปริมาตรน้ำ ปริมาตรน้ำในอ่างฯ ปริมาตรน้ำใช้การได้ รวมระบาย รนก. ใช้การไม่ได้ ปริมาตร % ไหลลงอ่าง และสูบ ปริมาณฝน (Dead Storage) ปัจจุบัน ใช้การได้ (ล้านลบ.ม.) (มม.) อ่างเก็บน้ำขนาดใหญ่ จ.เพชรบุรี แก่งกระจาน 23.85 16.18 0.9300 0.8640 70.50 รวม(อ่างฯขนาดใหญ่) อ่างเก็บน้ำขนาดกลาง 1. ทุ่งขาม 8.0000 0.6100 1.2748 15.94 0.6648 9.00 0.0000 18.00 2. ห้วยตะแปด 4.0000 0.1300 0.0470 1.18 0.00 0.0060 56.80 3. ห้วยทราย 1.9500 0.0400 31.20 4. พุหวาย 0.8000 0.0800 63.40 5. หุบกะพง 0.4100 0.0100 0.0384 9.37 0.0284 7.10 0.0026 39.50 6. โป่งทะลุ 0.8100 0.0030 25.00 7. ห้วยวังยาว 0.2600 0.0050 0.0375 14.42 0.0325 12.75 0.0012 24.70 8.ห้วยสามเขา 3.4000 0.1200 0.3690 10.85 0.2490 7.59 34.00 9. กระหร่างสาม 6.0000 0.2200 0.1060 1.77 1.50 10. พุน้อย 0.3150 5.90 11. ห้วยสงสัย 4.0540 0.2400 1.2840 31.67 1.0440 27.37 0.1082 62.50 12. แม่ประจันต์ 2.0400 54.55 52.24 0.0864 30.40 13. ห้วยผาก 3.0000 50.44 44.37 0.0791 0.0173 63.00 รวม (อ่างฯกลางเพชรบุรี) 6.5080 40.17 36.34 0.2835 0.1037 รวม (ทุกอ่างฯเพชรบุรี) 25.86 17.07 1.2135 0.9677 เกณฑ์ปริมาตรน้ำในอ่างเก็บน้ำ >80% น้ำดีมาก 51-80% น้ำดี 31-50% น้ำพอใช้ ≤30% น้ำน้อย

7

8 2) แผนงานที่ใช้สิ่งก่อสร้าง
2) แผนงานที่ใช้สิ่งก่อสร้าง  แผนงานขุดลอกและกำจัดวัชพืชในคลองชลประทาน และในอ่างเก็บน้ำต่างๆ  งานขุดลอกคลอง/อ่างฯ  งานกำจัดวัชพืช  การตรวจสอบความพร้อมใช้งานของอาคารชลประทานต่างๆ  การเตรียมความพร้อมของเครื่องจักรเครื่องมือ วัสดุ และอุปกรณ์ แผนการเตรียมความพร้อมของเครื่องจักรเครื่องมือ วัสดุและอุปกรณ์ ฤดูฝน ปี ของโครงการชลประทานเพชรบุรี สำนักงานชลประทานที่ 14 ลำดับ หน่วยงาน เครื่องสูบน้ำ รถนาค เรือนาค เครื่องผลักดันน้ำ รถขุด เรือขุด รถแทรกเตอร์ รถบรรทุก รถบรรทุกน้ำ งบประมาณ ที่ (เครื่อง) (คัน) (ลำ) (บาท) โครงการชลประทานเพชรบุรี 1 ฝ่ายส่งน้ำและบำรุงรักษาที่ 1 2 ฝ่ายส่งน้ำและบำรุงรักษาที่ 2 3 ฝ่ายส่งน้ำและบำรุงรักษาที่ 3 รวมทั้งสิ้น 4 6 หมายเหตุ : เครื่องจักรเครื่องมือ วัสดุและอุปกรณ์ จะมุ่งเน้นให้การช่วยเหลือในเขตชลประทานเป็นหลัก และสนับสนุนหน่วยงานอื่นๆ เป็นครั้งคราวตามคำร้องขอ

9 ภาพการขุดลอกอ่างเก็บน้ำ คลอง และกำจัดวัชพืช

10 ภาพแสดงเครื่องสูบน้ำ รถบรรทุก รถต่างๆ
รถบรรทุกน้ำ

11 แผนงานระหว่างน้ำมา หรือขณะเกิดภัย
เป็นแผนงานที่กำหนดขึ้นเพิ่มเติมจากแผนงานก่อนน้ำมา ทั้งมาตรการที่ใช้สิ่งก่อสร้างและไม่ใช้สิ่งก่อสร้าง ตามความเหมาะสมในแต่ละพื้นที่ โดยเสริมประสิทธิภาพการระบายน้ำของอาคารชลประทานในบริเวณคันกั้นน้ำเค็ม แม่น้ำเพชรบุรีและคลองธรรมชาติ ที่พบว่ายังไม่มีศักยภาพเพียงพอกับขนาดของสถานการณ์น้ำหลากที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ประกอบด้วย การเสริมกระสอบทราย การก่อสร้างคันดินเล็ก การก่อสร้างทำนบชั่วคราวปิดช่องทางน้ำที่ยังไม่มีอาคารบังคับน้ำ การขุดลอก และการกำจัดวัชพืชเพิ่มเติม การผันน้ำเข้าทุ่งที่ลุ่มเพื่อลดปริมาณยอดน้ำสูงสุด การติดตั้งเครื่องสูบน้ำและเครื่องผลักดันน้ำรวมทั้ง การแจ้งเตือนภัยให้กับชุมชนและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

12 การบริหารจัดการน้ำท่วมในพื้นที่เสี่ยงอุทกภัย
การติดตามเฝ้าระวัง-แจ้งเตือนในพื้นที่เสี่ยงภัยต่างๆ อยู่ในความรับผิดชอบของศูนย์อุทกวิทยาและบริหารน้ำภาค ร่วมกับสำนักชลประทาน และโครงการชลประทานในพื้นที่นั้นๆ ในการกำหนดหลักเกณฑ์ คาดการณ์ระดับน้ำที่จะเกิดสูงสุด แจ้งข้อมูลให้ทางจังหวัดประชาสัมพันธ์ให้ราษฎรที่ได้รับผลกระทบทราบ และเตรียมการป้องกัน จุดเฝ้าระวังในพื้นที่เสี่ยงภัย เขตชุมชนเหนือเขื่อนเพชร สามารถแจ้งเตือนภัยได้ล่วงหน้าได้ประมาณ ๑๒ ชั่วโมง เทศบาลตำบลท่ายาง สามารถแจ้งเตือนภัยได้ล่วงหน้าได้ประมาณ ๓ – ๖ ชั่วโมง เทศบาลตำบลบ้านลาด สามารถแจ้งเตือนภัยได้ล่วงหน้าได้ประมาณ ๖ – ๑๒ ชั่วโมง เทศบาลเมืองเพชรบุรี สามารถแจ้งเตือนภัยได้ล่วงหน้าได้ประมาณ ๒๔ ชั่วโมง เทศบาลตำบลบ้านแหลม สามารถแจ้งเตือนภัยได้ล่วงหน้าได้ประมาณ ๔๘ ชั่วโมง

13 การแจ้งข้อมูลสถานการณ์น้ำ
โครงการชลประทานเพชรบุรี หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง อบต. เทศบาล ประชาชนทั่วไป Internet โทรศัพท์ โทรสาร หอกระจายข่าว วิทยุกระจายเสียง 3.1 Internet = 3.2 โทรศัพท์ = สายด่วน 1460 3.4 โทรสาร = 3.3 วิทยุกระจายเสียง = FM (สวท.เพชรบุรี) FM (สถานีวิทยุท้องถิ่นไทย)

14 คาดการณ์การเดินทางของน้ำ
B.1A เมืองเพชรบุรี B.10 อ.ท่ายาง อ.บ้านลาด เขื่อนเพชรบุรี B.6 B.11 B.3 B.8 เขื่อนแก่งกระจาน . 43 กม. 13 กม. 15 ก.ม. B.9 อ.หนองหญ้าปล้อง อ.แก่งกระจาน ห้วยแม่ประจันต์ ห้วยผาก แม่น้ำเพชรบุรี 9 ก.ม. 14 ก.ม. เกณฑ์เตือนภัย ห้วยแม่ประจันต์ ที่ B ลบ.ม/วินาที ห้วยผาก ที่ B ลบ.ม/วินาที น้ำท้ายเขื่อนแก่งกระจาน ที่ B ลบ.ม/วินาที หรือ น้ำที่เขื่อนเพชรบุรี 400 ลบ.ม./วินาที น้ำท้ายเขื่อนเพชรบุรี ที่ B ลบ.ม/วินาที เริ่มท่วมที่ลุ่ม อ.บ้านลาด และถนนเพชรเกษม ก.ม ขนาดของภัย 390 cms. 700 cms. 480 cms. 100 cms. 250 cms. B.11-B ระยะทาง ก.ม ระยะเวลา ช.ม. B6-เขื่อนเพชรฯ ระยะทาง ก.ม ระยะเวลา ช.ม. เขื่อนเพชรฯ-B ระยะทาง ก.ม ระยะเวลา ช.ม. B.10-อ.บ้านลาด ระยะทาง ก.ม ระยะเวลา ช.ม. B.10-B.1A ระยะทาง ก.ม ระยะเวลา ช.ม. คาดการณ์การเดินทางของน้ำ ที่มา : ศูนย์อุทกวิทยาและบริหารน้ำ ภาคตะวันตก (กาญจนบุรี)

15

16 การบริหารจัดการน้ำแม่น้ำเพชรบุรีในพื้นที่ท้ายเขื่อนเพชร
1. ระดับที่ 1 การเกิดน้ำท่วม กรณีปริมาณน้ำไหลผ่านเขื่อนเพชร ลบ.ม./วินาที พื้นที่ได้รับผลกระทบ  พื้นที่ที่อยู่ด้านท้ายเขื่อนเพชร ที่จะได้รับผลกระทบเป็นที่แรกคือบริเวณบ้านคอชะออม ต.ท่าแลง และบ้านท่าขาม ต.ท่าคอย อ.ท่ายาง แต่ไม่รุนแรง อาจจะมีน้ำเข้าพื้นที่การเกษตรที่อยู่ริมแม่น้ำเพชรบุรี ความเสียหายในพื้นที่อื่นๆ นั้นไม่มี 2. ระดับที่ 2 การเกิดน้ำท่วม กรณีปริมาณน้ำไหลผ่านเขื่อนเพชร ลบ.ม./วินาที  พื้นที่ที่อยู่ด้านท้ายเขื่อนเพชร ที่จะได้รับผลกระทบเป็นที่แรกคือ บริเวณบ้านคอชะออม ต.ท่าแลง อ.ท่ายาง น้ำจะท่วมสะพานเบี่ยง ทำให้ไม่สามารถใช้สัญจรได้ (ต้องใช้เส้นทางเลี่ยงไปข้ามสะพานหน้า วัดท่าซิก) และน้ำจะเข้าท่วมบ้านเรือนราษฎรและพื้นที่การเกษตรที่อยู่ริมแม่น้ำเพชรบุรีและในเขตบ้านห้วยตาแกละ ต.ท่าแลง อ.ท่ายาง , บ้านยางหย่อง ต.ยางหย่อง อ.ท่ายาง

17 การบริหารจัดการน้ำแม่น้ำเพชรบุรีในพื้นที่ท้ายเขื่อนเพชร
3. ระดับที่ 3 การเกิดน้ำท่วม กรณีปริมาณน้ำไหลผ่านเขื่อนเพชร ลบ.ม./วินาที พื้นที่ได้รับผลกระทบ  นอกจากพื้นที่เดิมที่ได้รับผลกระทบจากน้ำ 400 ลบ.ม./วินาที แล้ว น้ำจะไหลล้นตลิ่งแม่น้ำเพชรบุรีทั้งสองฝั่งแม่น้ำ พื้นที่ฝั่งขวาแม่น้ำเพชรบุรี  น้ำจะไหลล้นตลิ่งบริเวณบ้านท่ายาง บ้านท่ากระเทียม และบ้านขลุบ ในเขตอำเภอท่ายาง ที่มีตลิ่งค่อนข้างต่ำและไหลเข้าท่วมพื้นที่ชุมชนที่อยู่ติดแม่น้ำเพชรบุรี พื้นที่ฝั่งซ้ายแม่น้ำเพชรบุรี  น้ำจากแม่น้ำเพชรบุรี จะเริ่มไหลล้นตลิ่งที่บ้าน บริเวณบ้านยางหย่อง, บ้านท่าวาย, บ้านท่าโรงหีบ ในเขตอำเภอท่ายางต่อเนื่องอำเภอบ้านลาด แล้วไหลบ่าข้ามคันคลองชลประทาน ๑ ขวา - สายใหญ่ฝั่งซ้าย เข้าท่วมพื้นที่ชลประทาน ตามจุดเฝ้าระวังที่ 400 ลบ.ม./วินาที

18 การบริหารจัดการน้ำแม่น้ำเพชรบุรีในพื้นที่ท้ายเขื่อนเพชร
4. ระดับที่ 4 การเกิดน้ำท่วม กรณีปริมาณน้ำไหลผ่านเขื่อนเพชร 800 ลบ.ม./วินาที พื้นที่ได้รับผลกระทบ  นอกจากพื้นที่เดิมที่ได้รับผลกระทบจากน้ำ ลบ.ม./วินาที แล้ว พื้นที่ฝั่งขวาแม่น้ำเพชรบุรี  น้ำจะไหลล้นตลิ่งบริเวณบ้านท่าคอย บ้านท่ายาง บ้านท่ากระเทียม และบ้านขลุบ ในเขตอำเภอท่ายาง ที่มีตลิ่งค่อนข้างต่ำและไหลเข้าท่วมพื้นที่ชุมชน โดยเฉพาะในตัวอำเภอท่ายาง ซึ่งตั้งอยู่ริมแม่น้ำและในตัวตลาดอำเภอท่ายาง ในกรณีที่มีน้ำมาก จะไหลล้นตลิ่งบริเวณโรงเรียนท่ายางวิทยา ข้ามคันคลองชลประทาน ซึ่งขนานไปตามลำน้ำ ได้แก่ คลองส่งน้ำสายใหญ่ 3 และ คลองส่งน้ำ 1 ซ้าย - สายใหญ่ 3 และไหลล้นข้ามถนนเพชรเกษม เช่นที่บริเวณบ้านท่ากระเทียม, สามแยกท่ายาง เข้าท่วมพื้นที่ชลประทาน ฝั่งตะวันออกของถนนเพชรเกษม ต่อเนื่องเป็นบริเวณกว้าง จนถึงคันกั้นน้ำเค็มก่อนระบายลงสู่ทะเล พื้นที่ฝั่งซ้ายแม่น้ำเพชรบุรี  น้ำจากแม่น้ำเพชรบุรี จะเริ่มไหลล้นตลิ่งที่บ้าน บริเวณบ้านยางหย่อง, บ้านท่าวาย, บ้านท่าโรงหีบ ในเขตอำเภอท่ายางต่อเนื่องอำเภอบ้านลาด แล้วไหลบ่าข้ามคันคลองชลประทาน ๑ ขวา – สายใหญ่ฝั่งซ้าย เข้าท่วมพื้นที่ชลประทาน และชุมชนในเขตอำเภอบ้านลาด และไหลบ่าเข้าท่วมพื้นที่ท้ายน้ำทางตอนเหนือ ผ่านคลองระบายน้ำ D.1 ของพื้นที่ชลประทานฝั่งซ้าย (ห้วยละหารน้อย – ห้วยละหารใหญ่ – ห้วยโพธิ์กรุ) ตลอด ทั้งสองฝั่งคลอง ซึ่งบางช่วงอาจมีน้ำไหลบ่าท่วมพื้นที่ จนจรดแนวคลองส่งน้ำสายใหญ่ฝั่งซ้าย และไหลล้นข้ามถนนเพชรเกษม เข้าท่วมพื้นที่ชุมชนและพื้นที่ชลประทาน ในเขตอำเภอเมือง และอำเภอบ้านแหลม ก่อนไหลลงทะเล

19 การบริหารจัดการน้ำแม่น้ำเพชรบุรีในพื้นที่ท้ายเขื่อนเพชร
5. ระดับที่ 5 การเกิดน้ำท่วม กรณีปริมาณน้ำไหลผ่านเขื่อนเพชร มากกว่า 800 ลบ.ม./วินาทีพื้นที่ได้รับผลกระทบ  น้ำจะไหลล้นตลิ่งเข้าท่วมพื้นที่ตามจุดที่เฝ้าระวังในกรณีที่น้ำผ่านเขื่อนเพชร ในระดับต่างๆ แล้ว ปริมาณน้ำยังไหลล้นตลิ่งแม่น้ำเพชรบุรี ฝั่งขวาและฝั่งซ้าย ของแม่น้ำเพชรบุรี เขาท่วมพื้นที่เกษตรและบ้านเรือนในเขตชุมชน ทั้งในอำเภอท่ายาง, บ้านลาด, อำเภอเมือง และอำเภอบ้านแหลม ปริมาณน้ำที่สูงขึ้นจะท่วมถนนเพชรเกษม ทำให้รถเล็กไม่สามารถสัญจรได้

20

21 รูปแผนที่ประกอบ แผนที่พื้นที่เสี่ยงถูกน้ำท่วมซ้ำซาก
รูปแผนที่ประกอบ แผนที่พื้นที่เสี่ยงถูกน้ำท่วมซ้ำซาก

22 เมื่อเกิดอุทกภัย- เข้าแก้ไขปัญหา

23 แผนงานหลังน้ำมา 1) เร่งสำรวจความเสียหายของระบบชลประทาน เพื่อซ่อมแซมให้สามารถใช้งานได้ตามปกติโดยเร็ว 2) เร่งสำรวจพื้นที่การเกษตรในเขตชลประทานที่ได้รับผลกระทบน้ำท่วม ภายหลังที่สภาพน้ำลดระดับลง 3) จะพิจารณาสนับสนุนการจัดสรรน้ำและเครื่องสูบน้ำเคลื่อนที่ เพื่อการเพาะปลูกพืชฤดูแล้งกรณีชดเชยในช่วงฤดูแล้งที่จะมาถึง ถ้ามีแหล่งน้ำต้นทุนเพียงพอ

24 จบการนำเสนอ โครงการชลประทานเพชรบุรี


ดาวน์โหลด ppt แผนการป้องกันและบรรเทาภัยอันเกิดจากน้ำ (ฤดูฝน) พ.ศ. 2559

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google