กฎกระทรวง ความปลอดภัยทางรังสี พ.ศ.2561

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สำนักมาตรฐานด้านการบัญชีภาครัฐ
Advertisements

ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการเลือกตั้งคณะกรรมการสวัสดิการในสถานประกอบกิจการ ประกาศราชกิจจานุเบกษา วันที่ 22 พฤษภาคม.
สถานการณ์และการเตรียมความพร้อม การป้องกันอุบัติเหตุทางถนน
นโยบายการดำเนินงาน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ศ. นพ. รัชตะ รัชตะนาวิน และ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข นพ. สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
ข้อสรุปจากวีดีทัศน์ “ผีปู่แสะย่าแสะ” 1. การมีส่วนร่วมของชุมชน 2
ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต ฝ่ายบริหารทั่วไป
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
สถานการณ์และการเตรียมความพร้อม การป้องกันอุบัติเหตุทางถนน
การกระทำความผิดเกี่ยวกับทรัพย์ ยาเสพติด และชีวิตร่างกาย (คดีร้ายแรง) ของเด็กและเยาวชน ในเขตกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล การศึกษาโดยใช้ทฤษฎีการควบคุมตนเอง.
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
การมอบนโยบายแนวทาง การปฏิรูปที่ดินประจำปี 2559 โดย นายสรรเสริญ อัจจุตมานัส เลขาธิการ ส. ป. ก.
มอบนโยบายการบริหารราชการให้กับหัวหน้าสถานีตำรวจ วันอังคารที่ 2 ๑ มิ. ย.59 เวลา น. สำนักงานตำรวจแห่งชาติ
1 ตัวชี้วัดที่ 10 ระดับความสำเร็จของการพัฒนา สมรรถนะของบุคลากร ตัวชี้วัดที่ 12 ระดับความสำเร็จของการพัฒนา ปรับปรุงวัฒนธรรมองค์การ หน่วยงานกำกับ : กองการเจ้าหน้าที่
สงกรานต์ ๒๕๕๗. ร่วมสร้างวัฒนธรรมความปลอดภัย สงกรานต์ ทั่วไทยไร้อุบัติเหตุ  จะร่วมสร้างวัฒนธรรมความ ปลอดภัยกันอย่างไร  จะทำสงกรานต์ทั่วไทยไร้อุบัติเหตุ
การจัดทำหลักสูตร พัฒนาหัวหน้างาน เพื่อรองรับประชาคม เศรษฐกิจอาเซียน.
ระเบียบคณะกรรมการพลังงานปรมาณูเพื่อสันติว่าด้วยวิธีการรักษาความมั่นคงปลอดภัยของวัสดุนิวเคลียร์และสถานประกอบการทางนิวเคลียร์พ.ศ วันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษา.
๕ เรื่องเด่นในร่างรัฐธรรมนูญ
บทที่ 3 องค์ประกอบของการสัมมนา
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
ระบบบัญชาการในสถานการณ์ Incident Command System: ICS
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
แนวทาง การดำเนินงาน ป้องกันการจมน้ำ สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค
การควบคุมผลิตภัณฑ์ ที่ไม่เป็นไปตามข้อกำหนด : Control of Nonconforming products FSKN13.
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
มาตรฐานระบบการบริหารงานคุณภาพ
อสม.นักจัดการสุขภาพตามกลุ่มวัย
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
Presentation การจัดการข้อร้องเรียนในธุรกิจบริการ Customer Complaint Management for Service.
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
ข้อกำหนด/มาตรฐาน ด้านสุขาภิบาลอาหาร
ประกาศในราชกิจจานุเบกษา 28 สิงหาคม 2561
ประสบการณ์การ การใช้ระบบติดตามผลการดำเนินงานในกลุ่มผู้ใช้ยา/สารเสพติด
โดย นายทรงเกียรติ ตาตะยานนท์ ผู้อำนวยการส่วนจัดการงบประมาณ
กรอบอัตรากำลังของบุคลากรทางการศึกษาอื่นตามมาตรา 38 ค. (2)
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
เรื่อง ความปลอดภัยทางรังสี พ.ศ. 2561
ประกาศกรมควบคุมมลพิษ เรื่องหลักเกณฑ์ในการพิจารณาความเหมาะสมของพื้นที่ การออกแบบก่อสร้างและการจัดการสถานที่หมักปุ๋ยจากมูลฝอย ประกาศในกรมควบคุมมลพิษ.
กรมตรวจบัญชีสหกรณ์.
การบริหารงานประชาสัมพันธ์ของจังหวัด : การประชาสัมพันธ์และการจัดการสื่อ
ตอนที่ 1ภาพรวมของการบริหารองค์กร (1-5 กำลังคน)
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน ปี 2561
กำหนดกรอบระยะเวลาการขึ้นทะเบียนปี2556/57 1. ข้าว
บทที่ 4 การดูแลให้ได้รับการพักผ่อนและความปลอดภัย การจัดการสิ่งแวดล้อม การทำเตียง อ.กรวรรณ สุวรรณสาร.
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
โครงการจัดทำระบบฐานข้อมูล วัตถุเสพติดของกลาง (ระยะที่1)
วาระที่ ผลการประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การเตรียมความพร้อมบุคลากร สำนักแผนงานและโครงการพิเศษเพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงาน ของหน่วยงานในพื้นที่
ความก้าวหน้าการดำเนินงาน
ณ ห้องประชุมกำธร สุวรรณกิจ
ความสำคัญ เหตุผลที่เฝ้าระวัง PM10
สาเหตุที่ต้องมีพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
กฎกระทรวง ฉบับที่ 66 (พ.ศ. 2559) ออกตามความในพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ วันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษา
หลักเกณฑ์การเก็บรักษาข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์ ของผู้ให้บริการ
ขดลวดพยุงสายยาง.
ศาสนาเชน Jainism.
การติดตาม (Monitoring)
การประกาศเขตการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบ ภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน ตามระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยเงินทดรองราชการเพื่อช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน พ.ศ.
การจัดทำแผนการสอบบัญชีโดยรวม
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
กรมมีผลการปฏิบัติงานที่ดี เกษตรกรได้รับประโยชน์
การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 15
การจัดการความรู้ด้านงานสนับสนุน
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

กฎกระทรวง ความปลอดภัยทางรังสี พ.ศ.2561 จรูญ วรวาส การอนุญาตเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยทางนิวเคลียร์และรังสีcharoon.w@oap.go.th

เนื้อหา หมวดนิยาม หมวดทั่วไป หมวด ๑ บททั่วไป หมวด ๒ การดำเนินการด้านความปลอดภัยทางรังสี หมวด ๓ พื้นที่ควบคุมและพื้นที่ตรวจตรา หมวด ๔ สัญลักษณ์ทางรังสี หมวด ๕ ผู้ปฏิบัติงานทางรังสี หมวด ๖ ขีดจำกัดปริมาณรังสี หมวด 7 ขีดจำกัดการเปรอะเปื้อนทางรังสี

หมวดนิยาม ความปลอดภัยทางรังสี มาตรการด้านความปลอดภัยทางรังสี พื้นที่ควบคุม พื้นที่ตรวจตรา ปริมาณรังสีสมมูล ปริมาณรังสียังผล ผู้ปฏิบัติงาน ผู้รับใบอนุญาต ผู้แจ้ง

หมวดนิยาม

หมวด ๑ บททั่วไป ...ก่อให้เกิดประโยชน์ต่อบุคคลหรือสังคมมากกว่าผลเสีย… …ปลอดภัยต่อบุคคล ประชาชน และสิ่งแวดล้อมเป็นสำคัญ …มีมาตรการควบคุมให้ได้รับรังสีน้อยที่สุดเท่าที่จะสามารถดำเนินการได้อย่างสมเหตุสมผล (ALARA) …ความเป็นไปได้ในการได้รับรังสีและปริมาณรังสีที่จะได้รับความเสี่ยงทางรังสี...

หมวด ๑ บททั่วไป

หมวด ๒ การดำเนินการด้านความปลอดภัยทางรังสี ...จะต้องมีมาตรการด้านความปลอดภัยทางรังสี...ไม่ต่ำกว่ากฎกระทรวง ...ทบทวนและตรวจสอบมาตการฯ อย่างน้อยปีละหนึ่งครั้ง ...มาตรการฯ ที่ได้รับความเห็นชอบจาก ลปส. ...หากต้องการแก้ไขต้องไปรับความเห็นชอบจาก ลปส...

หมวด ๒ การดำเนินการด้านความปลอดภัยทางรังสี

หมวด ๓ พื้นที่ควบคุมและพื้นที่ตรวจตรา กำหนดพื้นที่ควบคุมและพื้นที่ตรวจตรา มาตรการฯ ที่เหมาะสมในพื้นที่ควบคุม ... ไม่น้อยกว่า ๗ ข้อตามกฎกระทรวง มาตรการฯ ที่เหมาะสมในพื้นตรวจตรา ... ไม่น้อยกว่า ๒ ข้อตามกฎกระทรวง มีการบันทึกและตรวจตราความปลอดภัยทางรังสีที่เหมาะสมในพื้นที่ควบคุมและพื้นที่ตรวจตรา

หมวด ๓ พื้นที่ควบคุม และพื้นที่ตรวจตรา

มาตรการด้านความปลอดภัยทางรังสี พื้นที่ตรวจตรา มาตรการด้านความปลอดภัยทางรังสี กำหนดขอบเขตพื้นที่ฯด้วยวิธีการที่เหมาะสม โดยคำนึงถึงปริมาณรังสี ที่คาดว่าจะได้รับจากการปฏิบัติงานตามปกติและจากอุบัติเหตุหรือเหตุการณ์ใด ๆ อันอาจคาดหมายได้ ติดตั้งสัญลักษณ์ทางรังสีพร้อมข้อความเตือนภัยที่เหมาะสมณ บริเวณ ทางเข้าพื้นที่ตรวจตรา มาตรการเพื่อการรักษาความปลอดภัยทางรังสี

มาตรการด้านความปลอดภัยทางรังสี พื้นที่ควบคุม มาตรการด้านความปลอดภัยทางรังสี กำหนดขอบเขตพื้นที่ฯโดยใช้อุปกรณ์ทางกายภาพ หรือด้วยวิธีการที่เหมาะสม โดยคำนึงถึงปริมาณรังสี ที่คาดว่าจะได้รับจากการปฏิบัติงานตามปกติและจากอุบัติเหตุหรือเหตุการณ์ใด ๆ อันอาจคาดหมายได้ กรณีเคลื่อนย้าย จากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่ง ต้องกำหนดขอบเขตพื้นที่ฯด้วยวิธีการที่เหมาะสมกับพฤติการณ์ และจะต้องระบุช่วงเวลาที่อาจได้รับรังสีในพื้นที่ฯ นั้น ติดตั้งสัญลักษณ์ทางรังสีพร้อมข้อความเตือนภัยที่เหมาะสมณ บริเวณ ทางเข้าพื้นที่ตรวจตรา กำหนดมาตรการเพื่อควบคุม การแพร่กระจายของการปนเปื้อนทางรังสีบนพื้นผิว กำหนดระเบียบและขั้นตอนปฏิบัติงาน กำหนดมาตรการควบคุมการเข้าถึงพื้นที่ฯ โดยเคร่งครัด จัดให้มีพื้นที่ เครื่องมือ อุปกรณ์ และเครื่องใช้ที่เหมาะสม ณ บริเวณทางเข้าของ พื้นที่ควบคุม เช่น อุปกรณ์ป้องกัน อุปกรณ์ตรวจสอบ หรือที่เก็บของ จัดให้มีพื้นที่ เครื่องมือ อุปกรณ์ และเครื่องใช้ที่เหมาะสม ณ บริเวณทางออกของ พื้นที่ควบคุม เช่น อุปกรณ์ส าหรับตรวจวัดการปนเปื้อนทางรังสีบนพื้นผิว ที่ช าระล้าง หรือที่เก็บของปนเปื้อน กำหนดมาตรการเพื่อการรักษาความปลอดภัยทางรังสีที่เหมาะสม

หมวด ๔ สัญลักษณ์ทางรังสี ติดตั้งสัญลักษณ์ทางรังสีพร้อมข้อความเตือนภัยที่เหมาะสมแสดงให้เห็นชัดเจนที่บริเวณทางเข้าพื้นที่ควบคุมและพื้นที่ตรวจตรา...และอื่นๆตามที่กฎกระทรวงกำหนด สัญลักษณ์ทางรังสีตามแนบท้ายกฎกระทรวง

หมวด ๔ สัญลักษณ์ทางรังสี

หมวด ๕ ผู้ปฏิบัติงานทางรังสี ...ต้องไม่ให้ผู้ที่มีอายุต่ำกว่าสิบหก เข้าพื้นที่ควบคุม /ตรวจตรา เว้นแต่.. ...ต้องไม่ให้ผู้ที่มีอายุสิบหกแต่ไม่เกินสิบแปดปี ปฏิบัติงานในพื้นที่ควบคุม เว้นแต่.. ---ต้องควบคุมดูแล……ตามหลักเกณฑ์และวิธีการ......ที่กฎหมายกำหนดและละเว้นการกระทำ.....ก่ออันตรายต่อตนเอง ผู้อื่น และสิ่งแวดล้อม ...ต้องมีการประเมินการได้รับรังสี เก็บบันทึกรังสีประจำบุคคล และการเฝ้าระวังสุขภาพแก่ผู้ปฏิบัติงาน ...ต้องจัดให้มีข้อมูล คำแนะนำ และฝึกอบรม... อย่างน้อยต้องมี... ...หญิงมีครรภ์หรืออยู่ระหว่างการให้นมบุตร...

หมวด ๕ ผู้ปฏิบัติงานทางรังสี

หมวด ๕ ผู้ปฏิบัติงานทางรังสี

ผู้ปฏิบัติงาน อายุต่ำกว่าสิบหกปี ไม่ให้เข้าไปพื้นที่ตรวจตราและพื้นที่ควบคุม หรือปฏิบัติงานใดๆกับรังสี ยกเว้นมารับบริการทางการแพทย์ อายุตั้งแต่สิบหกปีแต่ไม่เกินสิบแปดปี ปฏิบัติงานในพื้นที่ควบคุม หรือปฏิบัติงานใดๆกับรังสี ต้องอยู่ภายใต้การควบคุมอย่างใกล้ชิดของผู้ปฏิบัติงานทางรังสี อายุมากกว่าสิบแปดปี ปฏิบัติตามหลักเกณฑ์และวิธีการเกี่ยวกับความปลอดภัยตามที่กฎหมายกำหนด และ ละเว้นการกระทำใด ๆ ในประการที่น่าจะก่อให้เกิดอันตรายต่อตนเอง ผู้อื่น และสิ่งแวดล้อม หญิงมีครรภ์หรืออยู่ระหว่างการให้นมบุตร ได้แจ้งถึงการตั้งครรภ์หรือการให้นมบุตรให้ผู้รับใบอนุญาตหรือผู้แจ้ง เพื่อปรับเปลี่ยนลักษณะการปฏิบัติงาน

ผู้ปฏิบัติงาน ผู้ศึกษา ผู้ฝึกงาน ผู้รับการฝึกอบรม ต้องจัดให้มีการประเมินการได้รับรังสี การเก็บบันทึกผลการได้รับรังสีประจำบุคคล และการเฝ้าระวังสุขภาพที่เหมาะสมแก่ผู้ปฏิบัติงานทางรังสี ต้องจัดให้มีข้อมูล คำแนะนำ และการฝึกอบรมด้านความปลอดภัยทางรังสีที่เหมาะสม เมื่อพบเห็นเหตุอันตรายหรือเหตุที่อาจก่อให้เกิดอันตรายหรือกระทบกระเทือน ต่อความปลอดภัยทางรังสี ให้แจ้งให้เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยทางรังสี ผู้รับใบอนุญาต หรือผู้แจ้งทราบ โดยเร็ว

หมวด ๖ ขีดจำกัดปริมาณรังสี ผู้ปฏิบัติงานทางรังสี หญิงมีครรภ์หรืออยู่ระหว่างการให้นมบุตร สิบหกปีแต่ไม่เกินสิบแปดปี ประชาชนทั่วไป กรณีได้รับรังสีจากหลายแหล่ง พื้นที่เลิกใช้แล้ว กรณีมีความเป็นไปได้ที่จะได้รับรังสีเกินขีดจำกัด เจ้าหน้าที่ระงับเหตุฉุกเฉินทางรังสี

หมวด ๖ ขีดจำกัดปริมาณรังสี

หมวด ๖ ขีดจำกัดปริมาณรังสี

หมวด ๖ ขีดจำกัดปริมาณรังสี

ผู้ปฏิบัติงานทางรังสี ขีดจำกัดปริมาณรังสี ผู้ปฏิบัติงานทางรังสี อายุมากกว่าสิบแปดปี ทั่วร่างกาย 20 mSv/y (Avg. 5 y) 50 mSv/y (Max.) เลนซ์ดวงตา 20 mSv/y (เฉลี่ย 5 ปี) ผิวหนัง มือและเท้า 500 mSv/y อายุตั้งแต่สิบหกปีแต่ไม่เกินสิบแปดปี 6 mSv/y 20 mSv/y 150 mSv/y อายุต่ำกว่าสิบหกปี ประชาชนทั่วไป หญิงมีครรภ์หรือ อยู่ระหว่างการให้นมบุตร

ขีดจำกัดปริมาณรังสี ประชาชนทั่วไป ทั่วร่างกาย 1 mSv/y (Avg. 5 y) เลนซ์ดวงตา 15 mSv/y ผิวหนัง มือและเท้า 50 mSv/y

หมวด ๗ ขีดจำกัดการปนเปื้อนทางรังสี การปนเปื้อนทางรังสีบนพื้นภายในพื้นที่ควบคุม การปนเปื้อนทางรังสีบนพื้นภายในพื้นที่ตรวจตรา วัสดุที่การปนเปื้อนทางรังสีพื้นผิว ดำเนินการอย่างไร

หมวด ๗ ขีดจำกัดการปนเปื้อนทางรังสี

หมวด ๗ ขีดจำกัดการปนเปื้อนทางรังสี

ขีดจำกัดการปนเปื้อนทางรังสี ดำเนินการ บนพื้นผิวภายในพื้นที่ควบคุม Β,ϒ,α(low) <= 4 Bq/cm2 α(other) <= 0.4 Bq/cm2 ควบคุมดูแล บนพื้นผิวภายในพื้นที่ตรวจตรา Β,ϒ,α(low) <= 0.4 Bq/cm2 α(other) <= 0.04 Bq/cm2 วัสดุที่มีการปนเปื้อนทางรังสีพื้นผิว ต้องชำระล้าง หากไม่ชำระล้างให้ดำเนินตามกฏกระทรวงดการกากกัมมันตรังสี วิธีชำระล้างตามมาตรฐานสากล