เงื่อนไขความเข้าใจความหมาย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
วรรณคดีสำคัญ สมัยกรุงธนบุรี.
Advertisements

ผู้เสนอ นางประภัสสร แก้วประสาน สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี
สมาคมโรงเรียนอาชีวศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย
การศึกษารูปแบบการจัดการเรียนการสอนแบบ follow me เพื่อพัฒนาความรับผิดชอบทางการเรียนวิชาบัญชีเบื้องต้น 2 ของนักศึกษาระดับ ปวช.1 สาขาพณิชยการ โดย อ.ชรินทร.
แบบสอบถาม (Questionnaire)
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
การสื่อสารข้อมูล การสื่อสารข้อมูล หมายถึง การรับส่งข้อมูลจากที่หนึ่งไปยังอีกที่ หนึ่งโดยผ่านสื่อกลาง เช่น สายโทรศัพท์ สายเคเบิลไฟเบอร์ออพติก, คลื่นไมโครเวฟ,
บทที่ 3 ประเภทของบทและรูปแบบของรายการวิทยุโทรทัศน์
กระบวนการของการอธิบาย
ประสบการณ์จาก … คณะสู่หอกลาง by....JIM สืบเนื่องจากนโยบายของสถาบัน ฯ ที่มีการยุบรวมห้องสมุดจาก คณะต่าง ๆ มารวมไว้กับสำนักหอสมุดกลาง และได้เพิ่มพื้นที่อีกหนึ่ง.
ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ ๑ ใช้เพื่อคลิ๊กไปสู่ หน้าถัดไป ใช้เพื่อคลิ๊กกลับ หน้าเดิม ใช้เพื่อคลิ๊กกลับสู่ หน้าหลัก ใช้คลิ๊กเมื่อต้องการ ออกจากระบบ.
นาย สรวิศ เตธัญญวรากูล ปวช.3/2 นาย ศิวกร มาลี ปวช.3/2.
การจัดเก็บข้อมูลในแฟ้มข้อมูลธรรมดา นั้น อาจจำเป็นที่ใช้แต่ละคน จะต้องมีแฟ้มข้อมูลของตนไว้เป็นส่วนตัว จึง อาจเป็นเหตุให้มีการเก็บข้อมูล ชนิดเดียวกันไว้หลาย.
สถาบันด้านปัจจัยการ ผลิตทางการเษตร ( ตลาดแรงงาน ) ศ.491 การวิเคราะห์การผลิต และนโยบายการผลิตสินค้าเกษตร รศ. ภราดร ปรีดาศักดิ์ คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
การวางแผน การศึกษาระดับ จุลภาค Micro Planning.  ความเชื่อพื้นฐานทางการวางแผน การศึกษา  การวางแผนก็เปรียบเสมือนการจัดให้มี แนวปฏิบัติว่าในระยะเวลาหนึ่งจะต้องทำ.
กลุ่มวัยผู้สูงอายุ
การฟัง การดู และการพูด. การวิเคราะห์เรื่องและประเมินเรื่องที่ฟังและดู การฟังและการดู เป็นทักษะที่จำเป็นในการติดต่อสื่อสารในชีวิตประจำวัน ซึ่งอาจได้รับจากบุคคล.
Project Management by Gantt Chart & PERT Diagram
ALLPPT.com _ Free PowerPoint Templates, Diagrams and Charts.
หน่วยที่ 2 สัญญาประกันภัย
การสร้างแผนปฏิบัติการระดับตำบลหรือท้องถิ่น
หน้าที่ของประโยค. ประโยคต่างๆ ที่ใช้ในการสื่อสารย่อมแสดงถึงเจตนา ของผู้ส่งสาร เช่น บอกกล่าว เสนอแนะ อธิบาย ซักถาม ขอร้อง วิงวอน สั่งห้าม เป็นต้น หากจะแบ่งประโยคตามหน้าที่หรือลักษณะที่ใช้
หน้าที่ของประโยค. ประโยคต่างๆ ที่ใช้ในการสื่อสารย่อมแสดงถึงเจตนา ของผู้ส่งสาร เช่น บอกกล่าว เสนอแนะ อธิบาย ซักถาม ขอร้อง วิงวอน สั่งห้าม เป็นต้น หากจะแบ่งประโยคตามหน้าที่หรือลักษณะที่ใช้
ลายผ้าของแม่ โดย มัณฑนา สันติคุณากร.
กลุ่มคำและประโยค ภาษาไทย ม. ๓
การศึกษาประเภทเสียงและความหมายของคำในกลุ่มภาษาต่างประเทศ
รูปแบบรายการวิทยุกระจายเสียง
One Point Lesson (OPL).....บทเรียนประเด็นเดียว
หลักการแต่ง คำประพันธ์ประเภท โคลง. หลักการแต่ง คำประพันธ์ประเภท โคลง.
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๐ ผู้สอน : คุณครูภาคภูมิ คล้ายทอง
โดย ครูสมจินตนา เทียมวิไล
พฤติกรรม (Behavior) สิ่งเร้า ภายนอก ภายใน
การวิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
ฝึกวิเคราะห์ย่อหน้า 1 การศึกษาทำให้มีคุณภาพชีวิตที่ดี ทั้งยังช่วยพัฒนาทางด้านความคิด สติปัญญา และสังคม ทั้งนี้การศึกษายังมีความสำคัญต่อการเป็นอยู่ เพราะรากฐานของความมั่นคงมาจากการได้รับการศึกษา.
ผังมโนทัศน์สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
พื้นฐานการออกแบบ กราฟิก หมายถึง ศิลปะแขนงหนึ่งซึ่งใช้การสื่อความหมาย ด้วยเส้น สัญลักษณ์ รูปวาด ภาพถ่าย กราฟ แผนภูมิ การ์ตูน ฯลฯ เพื่อให้สามารถสื่อความหมายของข้อมูลได้ถูกต้องตรง.
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
การพูดเพื่องานวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์
การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพบุคลากรทางการศึกษาด้านการสอบด้วยคอมพิวเตอร์ (Computer-based Assessment) การรู้เรื่องการอ่าน ด้านคณิตศาสตร์และด้านวิทยาศาสตร์
ศัพท์เทคนิค...ในศิลปะการละคร
2. ประโยคเงื่อนไข ข้อความที่ประกอบด้วย 2 ข้อความที่เชื่อมต่อกันด้วย ถ้า... แล้ว... เรียกข้อความในลักษณะเช่นนี้ว่า ประโยคเงื่อนไข - เรียกข้อความที่ตามหลัง.
โดย นายอนุชา ศรีเริงหล้า นักอุตุนิยมวิทยาปฏิบัติการ
ความหมายของเรียงความ
วิชาวรรณกรรมปัจจุบัน
มาฝึกสมองกันครับ.
กฎกระทรวง ฉบับที่ 66 (พ.ศ. 2559) ออกตามความในพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ วันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษา
เสียงในภาษา วิชาภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ ครูกิ่งกาญจน์ สมจิตต์
THE4404 คติชนวิทยาสำหรับครู
วิชากฎหมายอาญาภาคทั่วไป (177181)
เริ่มทำแบบทดสอบ แบบทดสอบก่อนเรียน หนังสืออิเล็กทรอนิกส์
เงื่อนไขความเข้าใจความหมาย
ระเบียบวิธีการศึกษาคติชนวิทยา
THL3404 คติชนวิทยา อ.กฤติกา ผลเกิด.
Storyboard คืออะไร.
บทที่ ๑ การพูดและการนำสนอเพื่องานนิเทศศาสตร์
ภูมิศาสตร์การท่องเที่ยว
การวิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
การวิจัยทางการท่องเที่ยว
KUSUMA TEPPHARAK (Ph.D.)
Storyboard คืออะไร.
ประเภทรายการและรูปแบบรายการวิทยุกระจายเสียง
งานนำเสนอสำหรับโครงการ นิทรรศการวิทยาศาสตร์
ศาสนาเชน Jainism.
คำศัพท์การแสดงที่ควรรู้(2)
หัวข้อการเรียน ENL 3701 Week 5
แนวทางการออกแบบนิตยสาร
บัญชีเงินเดือนขั้นต่ำขั้นสูงของข้าราชการพลเรือนสามัญ
การใช้ระบบสารสนเทศในการวิเคราะห์ข่าว
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เงื่อนไขความเข้าใจความหมาย

เงื่อนไขต่างๆ ที่ช่วยให้เข้าใจความหมาย การรับรู้ความหมายจากการอ่านย่อมขึ้นอยู่กับเงื่อนไขหลายอย่าง ดังนั้นเรื่องความเข้าใจความหมายที่บันทึกเอาไว้โดยใช้อักษรเป็นสื่อกลางจึงเป็นปัจจัยสำคัญ

เงื่อนไขของการรับรู้และแปลสัญลักษณ์ได้ตรงกัน ลักษณะการแปลความ ประกอบด้วย การแปลความหมาย การแปลสัญลักษณ์ การแปลถอดความ

การแปลความหมาย การแปลความหมาย ได้แก่ การแปลคำหรือความจากระดับหนึ่งให้สูงขึ้นหรือต่ำลงไปสู่อีกระดับหนึ่ง เช่น แปลศัพท์เฉพาะ ไปเป็น ภาษาสามัญ หรือแปลข้อความยาวๆ ให้เป็นศัพท์เฉพาะ

การแปลสัญลักษณ์ การแปลสัญลักษณ์ ได้แก่ การแปลความหมายจากรูปภาพอากัปกิริยาท่าทาง ภาพการ์ตูน ว่าสิ่งนั้นหมายถึงอะไร เช่น ให้แปลความหมายของข้อความไปเป็นแผนภูมิ แผนผัง หรือรูปภาพ

การแปลถอดความ การแปลถอดความ ได้แก่ การแปลความหมายของคติพจน์ สำนวน พังเพย สุภาษิต ให้เป็นภาษาสามัญ หรือแปลความหมายในบทกวีเป็นภาษาร้อยแก้ว หรือ ให้แปลจากภาษาหนึ่งไปสู่ภาษาหนึ่ง เช่น การแปลภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษ

อุปสรรคในการแปลความ ปัญหาสำคัญที่เป็นอุปสรรคในการแปลความนั้น ได้แก่ การเข้าใจสัญลักษณ์ที่ใช้นั้นได้ตรงกันเสียก่อน ถ้าผู้อ่านไม่เข้าใจสัญลักษณ์ที่ผู้เขียนใช้ หรือผู้ฟังไม่เข้าใจสัญลักษณ์ที่ผู้พูดพูด ย่อมเป็นอุปสรรคในการสื่อความหมาย

เงื่อนไขแห่งมโนทัศน์ของผู้ส่งสารกับผู้รับสาร

จากเรื่องนี้จะเห็นได้ว่ามีบทสนทนาที่ต้องแปลความควบคู่ไปกับการตีความ มโหสถและนางอมรจะต้องเข้าใจชั้นเชิงของภาษา (เข้าใจสัญลักษณ์) และปริศนาที่แฝงอยู่ในภาษา (เข้าใจความหมายที่อยู่นอกเหนือตัวอักษร) การที่มโหสถและนางอมรเข้าใจตรงกัน เพราะมี มโนทัศน์เกี่ยวกับปริศนาเหล่านี้ตรงกัน

เจตนา นาควัชระ กล่าวว่า “อันที่จริงเป็นหน้าที่ของผู้อ่านจะต้องตีความหมายของวรรณกรรมที่ตนอ่าน ผู้อ่านแต่ละคนอาจไม่จำเป็นต้องตีความหมายวรรณกรรมเรื่องเดียวกันหรือบทเดียวกันไปในแนวทางเดียวกัน”

ดังภาษิตบทหนึ่งกล่าวว่า Two men look through the same bar; One see mud, the other sees star. “สองคนยลตามช่อง คนหนึ่งมองเห็นเปือกตม อีกคนตาแหลมคม มองเห็นดาวอยู่พราวพราย”

เงื่อนไขของภูมิหลังเหตุการณ์ เงื่อนไขภูมิหลังของเหตุการณ์เป็นผลสืบเนื่องมาจาก “เงื่อนไขของมโนทัศน์” กล่าวคือ ปกติผู้อ่านใช้มโนทัศน์ของตนแปลความหมายจากสิ่งที่ได้อ่าน แต่บางครั้งขาดความรู้หรือประสบการณ์เกี่ยวกับสิ่งที่อ่าน จึงทำให้เกิดความเข้าใจที่คลาดเคลื่อนได้

เงื่อนไขเกี่ยวกับรูปแบบและกลวิธี เนื้อหา สารคดี Non – fiction Feature เน้นข้อเท็จจริง แสดงความคิดเห็นแปลกใหม่ บันเทิงคดี Fiction เรื่องสมมุติ / สมจริง

รูปแบบ เนื้อหา ก. นิยาย แนวเรื่อง แก่นเรื่อง เนื้อเรื่อง ลักษณะนิสัยตัวละคร อารมณ์ของผู้แต่ง

รูปแบบ เนื้อหา ข. บทละคร แนวเรื่อง แก่นเรื่อง เนื้อเรื่อง ลักษณะนิสัยตัวละคร อารมณ์ของผู้แต่ง บทเจรจา

รูปแบบ เนื้อหา ค. บทกวีต่างชนิด แนวเรื่อง แนวคิดของผู้แต่ง อารมณ์ของผู้แต่ง ง. บทเพลง แนวความคิด ปรัชญาของผู้แต่ง

https://www. youtube. com/watch https://www.youtube.com/watch?v=qfT7Cve1j0k&list=RDqfT7Cve1j0k&index=1