หลักสูตร ครูฝึกใหม่ รุ่น 63 เอกสารประกอบการบรรยาย หลักสูตร ครูฝึกใหม่ หลักสูตร ครูฝึกใหม่ รุ่น 63 วิสัยทัศน์ กําลังแรงงานไทยมีสมรรถนะได้มาตรฐานสากล (Workforce with world class competency) รวบรวมโดยนายสุทัศน์ เชื้ออินทร์ นักวิชาการพัฒนาฝือแรงงานขำนาญการ
การพัฒนาฝีมือ ฝึกเตรียมเข้าทำงาน ฝึกยกระดับฝีมือแรงงาน ฝึกเปลี่ยนสาขา
Implementation การนำไปใช้ วิทยากรกล่าวนำ : สวัสดี ...ครับ/ค่ะ..... ผู้เข้ารับการอบรมทุกท่าน เป็นอย่างไรบ้าง หลังจากที่ผ่านการอบรมมาตลอด … วัน ซึ่งหลังจากที่ผ่านมาตอนนี้เราได้อะไรมา .. ครับ/ค่ะ..... . ? มีใครตอบได้ใหม ครับ/ค่ะ....... ? วิทยากรเข้าเรื่อง : โมดุล Implement (การนำไปใช้) เป็นการนำเอาหลักสูตรที่ได้รับการวิเคราะห์ ออกแบบ พัฒนา จากโมดูลก่อนหน้านี้
ความหมายของการสอน การสอน หมายถึง การถ่ายทอดความรู้ การสอน หมายถึง การถ่ายทอดความรู้ การสอน หมายถึง การจัดให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ การสอน หมายถึง การฝึกให้ผู้เรียนคิดแก้ปัญหาต่าง ๆ การสอน หมายถึง การแนะแนวทางแก่ผู้เรียนเพื่อให้ศึกษาหาความรู้ การสอน หมายถึง การสร้างหรือการจัดสถานการณ์เพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้
ความหมายของการสอน การสอน หมายถึง กระบวนการที่ช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ เกิดความคิดที่จะนำความรู้ไปใช้เกิดทักษะหรือความชำนาญที่จะแก้ปัญหาได้อย่างเหมาะสม การสอน หมายถึง การจัดประสบการณ์ที่เหมาะสมให้นักเรียนได้ปะทะเพื่อที่จะให้เกิดการเรียนรู้หรือเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมไปในทางที่ดีขึ้น การสอนจึงเป็นกระบวนการสำคัญที่ก่อให้เกิดการเจริญงอกงาม
ความหมายของการฝึกอบรม การฝึกอบรม คือ " การถ่ายทอดความรู้เพื่อเพิ่มพูนทักษะ ความชำนาญความสามารถ และ ทัศนคติในทางที่ถูกที่ควร เพื่อช่วยให้การปฏิบัติงานและภาระหน้าที่ต่าง ๆ ในปัจจุบันและอนาคตเป็นไป อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น การฝึกอบรม คือ " กระบวนการในอันที่จะทำให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมเกิดความรู้ ความเข้าใจ ทัศนคติ และความชำนาญ ในเรื่องหนึ่งเรื่องใด และเปลี่ยนพฤติกรรมไปตามวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้
การสอน - การฝึกอบรม กระบวนการอย่างมีแบบแผน ซึ่งผู้สอนจะใช้เป็นวิธีการถ่ายทอดหรือจัดกิจกรรม ส่งเสริมให้เกิดความรู้ ทักษะ และ เจตคติ เพื่อให้ผู้เข้าอบรม เรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
การเลือกรูปแบบการฝึกอบรม
การเลือกรูปแบบการฝึกอบรม วัตถุประสงค์ สามารถเลือกรูปแบบการฝึกอบรมสำหรับ ผู้เข้ารับการฝึกที่เป็นผู้ใหญ่
ผู้เข้ารับการฝึกอบรมที่เป็นผู้ใหญ่ การว่างงาน โอกาสทางการศึกษาหลังจากจบการศึกษาภาคบังคับ ปัญหาทางการเงิน ค่าตอบแทนการจ้างงานค่อนข้างต่ำ ผ่านการศึกษา/การฝึกอบรมมานานหลายปี เพื่อนำไปใช้กับงานที่ทำอยู่ Implement
ลักษณะของผู้เข้ารับการฝึกอบรมที่เป็นผู้ใหญ่ เน้นการสร้างความร่วมมือ การมีส่วนร่วม การนำประสบการณ์เรียนรู้โดยตรงมาใช้ มีความเป็นตัวเองสูง จะลดความสนใจเมื่อเห็นว่าเนื้อหาในการฝึกไม่สามารถนำมาประยุกต์ใช้ มักจะนำปัญหา หรือข้อจำกัดมาขบคิด Implement
ลักษณะของผู้เข้ารับการฝึกอบรมที่เป็นผู้ใหญ่ (ต่อ) เชื่อมโยงเนื้อหากับประสบการณ์ที่ตนเองมีอยู่ ตอบสนองตรงตามความต้องการของตนเอง ใช้กิจกรรมในการฝึกอบรม มีความสามารถเชื่อมโยงเนื้อหาการเรียนรู้ใหม่ กับประสบการณ์ที่ตนเองมีอยู่ ตอบสนองตรงตามความต้องการของตนเอง อาจต้องใช้กิจกรรมในการฝึกอบรมช่วยสร้างความสนใจในการฝึกอบรม Implement
รูปแบบการเรียนรู้ วิทยากรเป็นศูนย์กลาง วิทยากรเป็นผู้ถ่ายทอด ความรู้ และทักษะ ผู้เข้ารับการฝึกเป็นศูนย์กลาง การเรียนรู้ตามลักษณะของผู้ใหญ่ วิทยากรทำหน้าที่ สร้างกระบวนการเรียนรู้ และผู้รับการฝึกเป็นผู้เลือกเนื้อหา สามารถนำรูปแบบการเรียนรู้ทั้งสองแบบมาใช้ในการฝึกอบรม นำมาใช้ในการถ่ายทอดให้กับผู้รับการฝึกอบรม ได้แก่ รูปแบบที่เน้นวิทยากรเป็นศูนย์กลาง โดยวิทยากรเป็นผู้ถ่ายทอด ความรู้ และทักษะให้กับผู้รับการฝึกอบรม รูปแบบที่เน้นผู้เข้ารับการฝึกเป็นศูนย์กลาง เป็นลักษณะการเรียนรู้ตามลักษณะของผู้เข้ารับการฝึกที่มีความเป็นผู้ใหญ่ บทบาทของวิทยากรทำหน้าที่ สร้างกระบวนการเรียนรู้ และผู้รับการฝึกเป็นผู้เลือกเนื้อหา โดยทั่วไปวิทยากร จะนำรูปแบบการเรียนรู้ทั้งสองแบบมาใช้ในการฝึกอบรม Implement
รูปแบบการฝึกอบรม วิทยากรเป็นศูนย์กลาง (Instructor-Centered) ผู้เข้ารับการฝึกอบรมเป็นศูนย์กลาง (Learner-Centered) ไม่มีความเป็นอิสระ กำหนดบทบาทของตนเอง การตัดสินใจในระดับต่ำ การตัดสินใจในระดับสูง เน้นการถ่ายทอดเนื้อหาจากผู้เชี่ยวชาญ เน้นวิธีการฝึกอบรมของผู้เข้ารับการฝึกอบรมเป็นหลัก สภาพแวดล้อมของการฝึกอบรมเป็นทางการ สภาพแวดล้อมของการฝึกอบรมไม่เป็นทางการ เน้นไปที่วิทยากรเป็นสำคัญ เน้นไปที่ผู้เข้ารับการฝึกอบรมเป็นสำคัญ วิทยากรเป็นผู้นำเสนอเนื้อหาเป็นหลัก วิทยากรทำหน้าที่เป็นวิทยากรกระบวนการ ไม่มีการใช้ประสบการณ์ แลกเปลี่ยนประสบการณ์ ไม่มีการการจัดรูปแบบการฝึกอบรม ให้ความสำคัญกับการจัดรูปแบบ วิทยากรเป็นศูนย์กลาง (Instructor-Centered) ผู้เข้ารับการฝึกอบรมรู้ไม่มีความเป็นอิสระ ผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีความอิสระในการเลือก หรือตัดสินใจในระดับต่ำ การฝึกอบรมโดยเน้นการถ่ายทอดเนื้อหาจากผู้เชี่ยวชาญไปยังผู้เข้ารับการฝึกอบรม สภาพแวดล้อมของการฝึกอบรมเป็นทางการ และมีลักษณะการแข่งขัน ตลอดจนการตัดสินในเชิงคุณค่า เน้นไปที่วิทยากรเป็นสำคัญ วิทยากรเป็นผู้นำเสนอเนื้อหาเป็นหลัก ไม่มีการใช้ประสบการณ์ของผู้เข้ารับการฝึกอบรมมาสร้างกระบวนการฝึกอบรม แทบจะไม่มีการพิจารณา หรือให้ความสำคัญกับการจัดรูปแบบการฝึกอบรมที่แตกต่างหลากหลายของกลุ่มผู้เข้ารับการฝึกอบรม การนำเสนอเนื้อหาโดยส่วนใหญ่เน้นการบรรยาย การอ่าน และการตั้งประเด็นคำถาม วิทยากรทำหน้าที่เป็นผู้ทบทวน ผู้เข้ารับการฝึกอบรมเป็นศูนย์กลาง (Learner-Centered) ผู้เข้ารับการฝึกอบรมสามารถกำหนดบทบาทของตนเอง ผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีความอิสระในการเลือก หรือตัดสินใจในระดับสูง การฝึกอบรมโดยเน้นผู้เข้ารับการฝึกอบรมเป็นสำคัญ เนื้อหาต่างๆ เน้นไปไปที่วิธีการฝึกอบรมของผู้เข้ารับการฝึกอบรมเป็นหลัก สภาพแวดล้อมของการฝึกอบรมไม่เป็นทางการ ในขณะที่มีลักษณะเป็นการให้ความร่วมมือ และการสร้างความเคารพซึ่งกันและกัน เน้นไปที่ผู้เข้ารับการฝึกอบรมเป็นสำคัญ วิทยากรทำหน้าที่เป็นวิทยากรกระบวนการ ในขณะที่ผู้เข้ารับการฝึกอบรมเป็นผู้สร้างกระบวนการฝึกอบรมด้วยตนเองมากกว่า วิทยากรทำหน้าที่กระตุ้นให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมแลกเปลี่ยนประสบการณ์ หรือนำประสบการณ์มาใช้ในการฝึกอบรม มีการพิจารณา หรือให้ความสำคัญกับการจัดรูปแบบการฝึกอบรมที่แตกต่างหลากหลายของกลุ่มผู้เข้ารับการฝึกอบรม รูปแบบการถ่ายทอดความรู้ เน้นการสร้างความตื่นเต้น ความน่าสนใจ ความแตกต่างหลากหลาย และสร้างปฏิสัมพันธ์ร่วมกันในกระบวนการฝึกอบรม ทั้งผู้เข้ารับการฝึกอบรม และวิทยากรทำหน้าที่เป็นผู้ทบทวน Implement
การเรียนรู้ของผู้ใหญ่
สรุป การเลือกรูปแบบในการฝึกอบรม สรุป การเลือกรูปแบบในการฝึกอบรม เน้นวิทยากรเป็นศูนย์กลาง เน้นผู้รับการฝึกอบรมเป็นศูนย์กลาง ผสมผสาน ตาม พื้นฐานความต้องการวิทยากร และของผู้เข้าอบรม การเลือกรูปแบบในการฝึกอบรมที่เป็นผู้ใหญ่ ที่มีความแตกต่างหลากหลาย ตลอดจนกระบวนการเรียนรู้ที่เน้นวิทยากรเป็นศูนย์กลาง และรูปแบบที่เน้นผู้รับการฝึกอบรมเป็นศูนย์กลาง นอกจากนี้พื้นฐานความต้องการวิทยากร และของผู้เรียนที่เป็นผู้ใหญ่ก็เป็นสิ่งสำคัญ Implement
Question
การดำเนินการฝึกอบรมภาคทฤษฎี การจัดทำกิจกรรมการฝึกอบรมในภาคทฤษฎี คือกระบวนการฝึกอบรมในลักษณะของการบรรยาย การจัดทำแผนการฝึกอบรมภาคเชิงทฤษฎี และการดำเนินการจัดกิจกรรมการฝึกอบรมภาคทฤษฏี
การดำเนินการฝึกอบรมภาคทฤษฎี วัตถุประสงค์ ตรวจสอบความพร้อมในการฝึกอบรมภาคทฤษฎีได้ ดำเนินการฝึกอบรมภาคทฤษฎีได้
ก่อนเริ่มดำเนินการ ควรทำอะไรบ้าง การดำเนินการฝึกอบรมภาคทฤษฎี ก่อนเริ่มดำเนินการ ควรทำอะไรบ้าง จัดเตรียมแผนการฝึกอบรม เตรียมความพร้อมของทรัพยากรต่างๆ
การดำเนินการฝึกอบรมภาคทฤษฎี การเตรียมแผนการฝึกอบรม คำนึงถึง ::: วัตถุประสงค์ของการเรียนรู้ ข้อกำหนดในการประเมินผล บุคลิกลักษณะของผู้รับการฝึกที่เป็นผู้ใหญ่ ลักษณะรูปแบบการเรียนรู้ การใช้รูปแบบการฝึกอบรม
ตัวอย่างของบัญชีการตรวจสอบรายการต่างๆ ก่อนที่จะจัดกิจกรรมการฝึกอบรม
เริ่มต้นทำกระบวนการฝึกอบรมอย่างไร ?
เริ่มต้นทำกระบวนการฝึกอบรม อย่างไร? สร้างบรรยากาศที่ดี สำหรับการฝึกอบรม. การสร้างสัมพันธ์ภาพที่ดี, การใช้ วัจนภาษา และอวัจนภาษา การสื่อสารที่จัดเจน. ละลายพฤติกรรม ‘ice-breakers’.
หลักการจัดกิจกรรมการฝึกอบรมใน 9 กิจกรรม โรเบิร์ต กาเย่ (Robert Gange')
1. เร่งเร้าความสนใจ (Gain Attention) 2. บอกวัตถุประสงค์ (Specify Objective)
3. ทบทวนความรู้เดิม ( Activate Prior Knowledge ) 4. นำเสนอเนื้อหาใหม่ (Present New Information)
5. ชี้แนะแนวทางการเรียนรู้ (Guide Learning) 6. กระตุ้นการตอบสนองบทเรียน (Elicit Response)
7. ให้ข้อมูลย้อนกลับ (Provide Feedback) 8. ทดสอบความรู้ใหม่ (Assess Performance)
9. สรุปและนำไปใช้ (Review and Transfer)
9 กิจกรรม กับการดำเนินการฝึกอบรม 9 กิจกรรม กับการดำเนินการฝึกอบรม กิจกรรมการฝึกอบรม กระบวนการด้านจิตวิทยาภายใน 1.สร้างความสนใจ การสร้างแรงกระตุ้น 2.นำเสนอวัตถุประสงค์ การสร้างความคาดหวัง 3.กระตุ้น ย้ำ การทบทวน การดึง/รื้อฟื้นหน่วยความจำในระยะสั้น 4.นำเสนอเนื้อหา และจัดระบบ การเลือกสรร/การบริหารจัดการเพื่อการจดจำเนื้อหา
กระบวนการด้านจิตวิทยาภายใน 9 กิจกรรม กับการดำเนินการฝึกอบรม กิจกรรมการฝึกอบรม กระบวนการด้านจิตวิทยาภายใน 5.นำเสนอ “ข้อแนะนำในการฝึกอบรม” กระบวนการสำหรับการจดจำ เนื้อหาในระยะยาว 6.การซักไซ้ หรือกระตุ้นพฤติกรรม สนับสนุนกระบวนการคิด วิเคราะห์ ผ่านการตั้งคำถาม และกิจกรรมการอื่นๆ 7.การนำเสนอความเห็นตอบกลับ การเน้นย้ำ และการสร้างกรอบการประเมิน ทดสอบสำหรับการฝึกอบรม
กระบวนการด้านจิตวิทยาภายใน 9 กิจกรรม กับการดำเนินการฝึกอบรม กิจกรรมการฝึกอบรม กระบวนการด้านจิตวิทยาภายใน 8.การประเมินพฤติกรรม/การปฏิบัติ การสรุปผลการประเมิน ทดสอบ 9. สนับสนุนการคิดวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ การดึง/รื้อฟื้น และการปรับ ประยุกต์ใช้กับสถานการณ์ใหม่ๆ กิจกรรมการฝึกอบรม กระบวนการด้านจิตวิทยาภายใน 8.การประเมินพฤติกรรม/การปฏิบัติ การสรุปผลการประเมิน ทดสอบสำหรับการฝึกอบรม 9. สนับสนุนการคิดวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ พร้อมกับการนำความรู้ และทักษะต่างๆ ไปใช้กับสถานการณ์การปฏิบัติงาน หรือการใช้ชีวิตจริง การดึง/รื้อฟื้น และการปรับ ประยุกต์ใช้การฝึกอบรมกับสถานการณ์ใหม่ๆ
บทสรุป การดำเนินการฝึกอบรมที่มีประสิทธิภาพ วางแผนการสอนที่ดี นำเสนอที่น่าสนใจ ใช้สื่อต่างๆ เหมาะสมทั้งภาพและเสียง ใช้ทักษะการตั้งคำถามและการประเมินผลระหว่างการฝึกอบรม เพื่อเสริมสร้างการเรียนรู้ วางแผนการสอนที่ดี นำเสนอที่น่าสนใจ ใช้สื่อต่างๆ เหมาะสมทั้งภาพและเสียง ใช้ทักษะการตั้งคำถามและการประเมินผลระหว่างการฝึกอบรม เพื่อเสริมสร้างการเรียนรู้
กิจกรรมการเรียนรู้ การดำเนินการฝึกอบรมภาคทฤษฎี แบ่งหน้าที่ให้สมาชิกในกลุ่ม 1. ผู้ดำเนินการ จำนวน 1 คน 2. วิทยากรผู้สอนภาคทฤษฎี จำนวน 1 คน 3. ผู้เข้ารับการฝึกอบรม จำนวน 2-4 คน 4. ผู้สังเกตการณ์ จำนวน 1 คน 5. ผู้ประเมินวิทยากร จำนวน 1 คน
Question
หลักการพูดและการบรรยาย เอกสารประกอบการบรรยาย หลักสูตร ครูฝึกใหม่ หลักการพูดและการบรรยาย รวบรวมโดยนายสุทัศน์ เชื้ออินทร์ นักวิชาการพัฒนาฝือแรงงานขำนาญการ
การจัดลำดับขั้นตอนการบรรยาย ขั้นเตรียมการและนำเข้าสู่บทเรียน ขั้นดำเนินการฝึกอบรม ขั้นทดสอบ หรือ ทดลองปฏิบัติ ขั้นมอบหมายงาน
การกำหนดช่วงเวลาในการฝึกอบรม ช่วงเริ่มต้น หรือ นำเข้าสู่บทเรียน ( 10 – 20 % ) ช่วงดำเนินการฝึกอบรม ( 60 - 80 % ) ช่วงสรุป ( 10 – 20 % )
1.ขั้นเตรียมการและนำเข้าสู่บทเรียน เตรียมการก่อนเริ่มดำเนินการฝึกอบรม แนะนำตนเอง ( อาจเป็นการเพิ่มเติม ) สร้างความเป็นกันเองกับผู้เรียน ( ละลายพฤติกรรม ) สอบถามประสบการณ์เกี่ยวกับเรื่องที่จะสอน บอกวัตถุประสงค์ในการฝึกอบรม บอกประโยชน์ หรือ ความสำคัญ
2.ขั้นดำเนินการฝึกอบรม บอกขอบเขต หรือ หัวข้อเรื่องที่จะฝึกอบรม ดำเนินการฝึกอบรมตามขอบเขต หรือ หัวข้อ ที่กำหนด อธิบายเกี่ยวกับหลักการ หรือ ทฤษฎี อธิบายขั้นตอนการปฏิบัติ ( ถ้ามี ) ให้ผู้เรียนทดลองปฏิบัติ ( ถ้ามี ) ทบทวน และ ให้โอกาสผู้เรียนทำการซักถาม สรุปเรื่องที่สำคัญ
3.ขั้นทดสอบ หรือ ทดลองปฏิบัติ ให้ผู้เรียนทดลองปฏิบัติจนเกิดความชำนาญ ให้ความช่วยเหลือและแนะนำผู้เรียนอย่างใกล้ชิด กำหนดรายละเอียดและเวลาในการทดสอบ ดำเนินการทดสอบ เปรียบเทียบผลการทดสอบกับมาตรฐานที่กำหนด อธิบายให้ผู้เรียนได้ทราบถึงจุดบกพร่อง ต่าง ๆ
4.ขั้นมอบหมายงาน สรุปจุดสำคัญ หรือ ข้อควรระวัง ต่าง ๆ มอบหมายงานให้ผู้เรียนไปปฏิบัติ แนะนำช่องทางการติดต่อ แนะนำผู้ช่วย ( ถ้ามี )
ปัจจัยที่ทำให้การสอนมีประสิทธิภาพ
การใช้น้ำเสียงและภาษา ระดับเสียง ความดัง ความเร็ว ความเงียบ การพูดที่ชัดถ้อยชัดคำ การพูดอย่างต่อเนื่อง
การแสดงออกทางบุคลิกภาพ การสบสายตา ความมั่นใจ การใช้แขนและมือ การแสดงออกทางใบหน้า การแต่งกาย การสร้างความเหมาะสมให้กับร่างกาย
สิ่งที่ไม่พึงกระทำ เขย่าสิ่งของในกระเป๋า ใช้คำพูดซ้ำซาก เช่น นะครับ การโยกตัวไปมา หรือ การเดินกลับไปกลับมา การล้วง แคะ แกะ เกา เสยผม การถูมือไปมา ( แสดงความคึกคะนอง ) การเล่นกับเครื่องประดับ หรือ อุปกรณ์
ประเภทของผู้พูด พูดมาก ไม่พูด หรือ พูดน้อย พูดไม่รู้เรื่อง ปากเสีย
ภาษาผู้ฟัง พยาบาลบอกคนไข้ว่า ... พรุ่งนี้ ป้าต้องมาเอ็กซ์เรย์นะ ป้าอย่าทานข้าว จากบ้านมานะ ผลปรากฏว่า ... วันรุ่งขึ้น ป้าก็ห่อข้าวมากินที่โรงพยาบาล เพราะพยาบาลบอกว่าอย่าทานมาจากบ้าน
4 ส. พยายามอย่าให้เกิด เสียความรู้สึก เสียหน้า เสียหาย เสียใจ
3 ส. พยายามทำให้เกิด สนใจ สะใจ สบายใจ
ขั้นตอนในการพูดจูงใจ ตามหลักของ มอนโร สร้างความสนใจ สร้างความต้องการ สร้างความพอใจ สร้างมโนภาพ พร้อมที่จะทำตาม
ผลเสียของความประหม่าตื่นเต้น ขาดบุคลิกภาพน่าเชื่อถือ พลังความคิดไม่โลดแล่น หลุดคำพูดที่ไม่เหมาะสมโดยไม่เจตนา
10 ยุทธวิธีในการลดความประหม่า นับ 1 ถึง 10 แล้วค่อยก้าวขึ้นเวที ใส่เสื้อผ้าชุดเก่ง เพื่อเพิ่มความมั่นใจยิ่งขึ้น เดินไปเดินมาก่อนเจรจาถ่ายทอด ถอดหัวใจออกมาพูดด้วยการยิ้มและมองให้ทั่วถึง สบตาใครสักคน ที่คอยให้กำลังใจเราอยู่
10 ยุทธวิธีในการลดความประหม่า 6. ค้นคิดความฝัน ด้วยการสร้างภาพแห่งความสำเร็จหรือเจิดจ้าไว้ในใจ 7. ยืนกดปลายเท้า โดยใช้นิ้วหัวแม่เท้ากดที่พื้นเพื่อเพิ่มสมาธิในการพูด 8. มองจุดใดจุดหนึ่ง เพื่อลดความฟุ้งซ่านของอารมณ์ 9. ให้กำลังใจกับตัวเองว่า “ ไม่ต้องกลัว เราทำได้ ” 10. คิดไว้เลยว่าผู้ฟังเป็น ต้นไม้ ใบหญ้า หรืออะไรก็ได้
อุปสรรคในการใช้ภาษาเพื่อการพูดสื่อสาร ใช้คำที่ยากเกินไป เข้าใจต่างกัน รูปประโยคซับซ้อน เรียงลำดับสับสน ใช้ถ้อยคำไม่เหมาะสม
หลักสำคัญในการใช้คำพูดเพื่อการสื่อสาร ความชัดเจน ความถูกต้อง ความเหมาะสมของภาษา ความมีน้ำหนัก ขยายคำย่อ การบรรลุเป้าหมาย
เทคนิคการใช้ภาษาเพื่อการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ ใช้อักษร ร , ล คำควบกล้ำ ให้ชัดเจน ใช้จังหวะการพูด การเว้นวรรค จังหวะหยุดเสียงให้ถูกต้อง ใช้ประโยคคำพูดให้ชัดเจน ไม่คลุมเครือหรือกำกวม ใช้คำสุภาพและเหมาะกับกลุ่มผู้ฟัง ใช้ภาษาที่ผู้รับเข้าใจมากที่สุด หากใช้ศัพท์วัยรุ่น ศัพท์แสลงต้องขออนุญาต หรือ ออกตัวก่อน
เทคนิคการใช้ภาษาเพื่อการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ ใช้สรรพนามให้ถูกต้อง ใช้ภาษาท่าทางให้สอดคล้องกับภาษาพูด ใช้ระดับเสียงให้เหมาะสม มีเสน่ห์ และเน้นให้ดูน่าเชื่อถือ ใช้ขยะคำพูดให้น้อยที่สุด และงดใช้คำซ้ำๆ เมื่อจะใช้คำย่อหรือภาษาต่างประเทศต้องแปลหรือขยายความ ไม่พูดแบบท่องจำหรือพูดโดยขาดความเป็นธรรมชาติ
หลัก 14 ประการของการเป็นนักพูดที่ดี เตรียมพร้อม ซ้อมดี ท่าทีสง่า วาจาสุขุม ทักที่ประชุมไม่วกวน เริ่มต้นโน้มน้าว เรื่องราวกระชับ ตาจับผู้ฟัง เสียงดังพอดี อย่ามี เอ้อ อ้า เวลาพอครบ สรุปจบจับใจ ยิ้มแย้มแจ่มใส ใส่ใจผู้ฟัง
Question