วิวัฒนาการของทฤษฎีการบริหาร

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การติดตามและ ประเมินผลโครงการ
Advertisements

สรุปประเด็นสำคัญเรื่องเล่า
ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ (Business Information Systems)
แนวทางการบริหารงบประมาณ
โดย... กอง บริหารงาน บุคคล วันพุธที่ 12 พฤษภาคม พ. ศ ณ ห้อง ประชุมสภาชั้น 4 อาคารทีปวิชญ์
ชุมชนนักปฏิบัติ CoP “ การปฏิบัติงานพัสดุไม่ ยากอย่างที่คิด ” เริ่มก่อตั้งแต่ปี
การฝึกอบรมและพัฒนาพนักงานขาย
ภาคีรวมใจคนไทยไร้พุง จ.ลพบุรี Lopburi’s Slimming Academy
อัตราบรรจุ ข้าราชการ 2625 พนักงานราชการ 99 ลูกจ้างประจำ 77 รวม 4241 อัตราว่าง จำนวน 1 อัตรา ตำแหน่งนักทรัพยากรบุคคลชำนาญการ มาช่วย ราชการ น. ส. สุริยา.
อัตราบรรจุ ข้าราชการ 2623 พนักงานราชการ 99 ลูกจ้างประจำ 77 รวม 4239 อัตราว่าง จำนวน 3 อัตรา ( ชำนาญการพิเศษ = 2 ชำนาญการ = 1) มาช่วย ราชการ น. ส. สุริยา.
กระบวนการถ่ายทอดความรู้
พยาบาลวิชาชีพชำนาญการพิเศษ
กลุ่ม 6 ผลการประชุมระดมความ คิดเห็น เพื่อกำหนดทิศทางก้าวใหม่ ในการให้บริการ : ฝึกอบรมนักวิทยาศาสตร์ ห้องปฏิบัติการ.
การเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับระบบการควบคุมภายใน ระดับสถานศึกษา ประจำปี 2559.
การวางแผน การศึกษาระดับ จุลภาค Micro Planning.  ความเชื่อพื้นฐานทางการวางแผน การศึกษา  การวางแผนก็เปรียบเสมือนการจัดให้มี แนวปฏิบัติว่าในระยะเวลาหนึ่งจะต้องทำ.
หลักสูตรการอบรมวิทยากรตัวคูณ ระดับจังหวัด ครั้งที่ 1 ภาคกลางตอนบน ( วันที่สอง ) ณ โรงแรมริชมอนด์ จังหวัดนนทบุรี ระหว่างวันที่ 9 – 11 มีนาคม 2558.
ผลการดำเนินงาน ปีงบ ๒๕๕๘ ( ร่าง ) แผนปฏิบัติการฯ ปี งบ ๒๕๕๙ กลุ่มงานบริหารทั่วไป สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดตราด.
การขอมีหรือขอเลื่อนวิทยฐานะโดยใช้รางวัล สูงสุดระดับชาติ ตามหลักเกณฑ์ ว 13 / 2556 ดร. ชูชาติ ทรัพย์มาก ที่ปรึกษาด้านการบริหารงานบุคคลและนิติ การ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้น.
๑.มีคุณวุฒิไม่ต่ำกว่าปริญญาตรีทางการบริหาร การศึกษาหรือเทียบเท่าหรือคุณวุฒิอื่นที่คุรุ สภารับรอง โดยมีความรู้ ดังต่อไปนี้ ( ๑ ) หลักและกระบวนการบริหารการศึกษา.
องค์ความรู้ที่จำเป็นในการปฏิบัติราชการ แบบฟอร์มที่ 1 การจำแนกองค์ความรู้ที่จำเป็นต่อการผลักดันตามประเด็นยุทธศาสตร์ ของส่วนราชการ ชื่อส่วนราชการ : กรมทรัพยากรน้ำบาดาล.
เก่ง. ความรู้และทักษะ คุณลักษณะที่เน้น ความรู้ ทักษะเชิง วิชาชีพ และศาสตร์ที่ เกี่ยวข้อง.
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
Material requirements planning (MRP) systems
การแพร่กระจายนวัตกรรม Diffusion of Innovation
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
ประเด็นที่เปลี่ยนแปลง
ระบบ ISO 9001:2015 สำหรับธุรกิจบริหารจัดการเรือ
ความหมายของการจัดการ
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
Presentation การจัดการข้อร้องเรียนในธุรกิจบริการ Customer Complaint Management for Service.
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
One Point Lesson (OPL).....บทเรียนประเด็นเดียว
กรอบอัตรากำลังของบุคลากรทางการศึกษาอื่นตามมาตรา 38 ค. (2)
วิธีการกรอกแบบเสนอโครงการในไฟล์ Power point นี้
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
ทิศทางการบริหารสำหรับผู้บริหาร มืออาชีพ
การประเมินผลการปฏิบัติงาน
เป้าหมายจังหวัด TO BE NUMBER ONE
โครงการกำจัดปัญหาโรคพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี ถวายเป็นพระราชกุศลฯ
กิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ งานบริหารและธุรการ คณะบริหารธุรกิจ
การประเมินวิทยฐานะ (ว 21/2560)
เพื่อการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ทศวรรษ
EB9 หน่วยงานของท่านมีการดำเนินการเพื่อป้องกันผลประโยชน์ทับซ้อนในหน่วยงานอย่างไร (1) มีการวิเคราะห์ความเสี่ยงเกี่ยวกับการปฏิบัติงานที่อาจเกิดผลประโยชน์ทับซ้อน.
การบริหารโครงการซอฟต์แวร์
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้จ่ายงบประมาณและการดำเนินงานของสถาบันอุดมศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ มีนาคม 2560.
บทบาทหน้าของฝ่าย HR ในงานพัฒนาบุคคลและฝึกอบรม
บทที่ 4 หลักทฤษฎีและปฏิบัติการธุรกิจ ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ
สัมมนาเชิงปฏิบัติการหลักสูตรการฝึกยกระดับฝีมือแรงงาน
เราคือ ‘One PPG’ We protect and beautify the world วัตถุประสงค์ของเรา
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
การวิเคราะห์ข้อมูล การท่องเที่ยว เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด
Supply Chain Management
ชัยพฤกษ์รัตนาธิเบศร์ - วงแหวน
การปกครองท้องถิ่น ในปัจจุบัน
การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 15
ขอบเขตของงานการจัดซื้อ
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
บทบาทหน้าของฝ่าย HR ในงานพัฒนาบุคคลและฝึกอบรม
นพ.อภิศักดิ์ วิทยานุกูลลักษณ์ รพ.ธัญญารักษ์เชียงใหม่ กรมการแพทย์
การจัดการภาครัฐ และภาคเอกชน Public and private management
การสรรหาข้าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษา
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
การวิเคราะห์ศักยภาพองค์กรกองแผนงาน โดย SWOT Analysis
แบบฟอร์มที่ 2ลักษณะสำคัญขององค์การ
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
วิวัฒนาการทฤษฎีการจัดการ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

วิวัฒนาการของทฤษฎีการบริหาร

ทัศนะการบริหารเชิงวิทยาศาสตร์(1910-1935) (The Scienctific Management Point of View) ทัศนะเชิงมนุษย์สัมพันธ์ (1935-1950) (The Human Relationship Point of View) ทัศนะเชิงพฤติกรรมศาสตร์(1950-1970) (The Behavioral Scienc Point of Veiw) ทัศนะวิธีเชิงระบบ(1970-ปัจจุบัน) (The Systems Approach Point of View)

1. ทัศนะการบริหารเชิงวิทยาศาสตร์ Federic W. Taylor(1942) 1. ความเป็นเลิศของการบริหารอยู่ที่กี่รู้อย่างแน่นอนว่า เราต้องการให้คนทำอะไร และดูแลว่าเขาได้ทำงานอย่างดีที่สุดและประหยัดค่าใช้จ่ายที่สุด 2. ไม่ควรนำแผนการบริหาร ซึ่งในระยะยาว ก่อให้เกิดความไม่พอใจทั้งฝ่ายนายจ้างและลูกจ้างมาใช้

3. สิ่งที่คนงานต้องการจากนายจ้างนอกเหนือจากสิ่งอื่นๆก็คือค่าจ้างที่สูง และสิ่งที่นายจ้างต้องการจากคนงานมากที่สุดก็คือ ค่าใช้จ่ายในการผลิตต่ำ

หลักการบริหารของ Talor 1. หลักเรื่องเวลา (Time – Study Principle) ถือว่า การวัดความสามารถในการผลิตโดยการจับเวลาในการผลิต และการตั้งเวลามาตรฐานสำหรับการผลิตทั้งหมด 2. หลักการกำหนดหน่วยค่าจ้าง (Price-Rate Priciple)ถือว่าอัตราค่าจ้างควรตั้งอยู่บนฐานที่ได้กำหนดโดยเวลาตามหลักข้อ 1 กล่าวคือ ค่าจ้างควรจะได้สัดส่วนกับความสามารถในการผลิตของแต่ละคน

3. หลักการแยกงานวางแผนออกจากการปฏิบัติ (Seperation of Planning from Performance Principle) ฝ่ายวางแผนและฝ่ายปฏิบัติการควรแยกออกจากกัน 4. หลักการทำงานโดยวิธีการทางวิทยาศาสตร์ (Scientivic – Methods of Work Principle) หลักการทำงานควรตั้งอยู่บนวิธีการทางวิทยาศาสตร์ และฝ่ายบริหารควรดำฝึกอบรมให้แก่คนงาน โดยให้คนงานปรับตัวในการทำงานที่อาศัยวิธีการทางวิทยาศาสตร์เพื่อให้ได้ผลผลิตสูง

5.หลักการควบคุมโดยฝ่ายบริหาร(Managerial Control Principle) ฝ่ายบริหารควรได้รับการอบรมในด้านการบริหารโดยอาศัยหลักการของวิทยาศาสตร์ 6. หลักการจัดระเบียบการปฏิบัติงาน(The Functional Management Principle)

หลักการบริหารของ Fayol มีองค์ประกอบดังนี้ การวางแผนงาน(To Plan) หมายถึงการวิเคราะห์อนาคตและจัดวางแผนปฏิบัติงานล่วงหน้า การจัดหน่วยงาน(To Organize) หมายถึงการเสริมสร้างองค์การด้านคนและวัสดุสิ่งของ เพื่อการปฏิบัติการตามแผน การบังคับบัญชา(To Command) หมายถึงการควบคุมบังคับบัญชาให้คนงานปฏิบัติงานตามหน้าที่

4. การประสานงาน (To Coordinate) หมายถึงการประสานกิจกรรมต่างๆของหน่วยงานให้ดำเนินไปตามเป้าหมาย 5. การควบคุม (To Control) หมายถึงการควบคุมดูแลให้การปฏิบัติงานเป็นไปตามระเบียบข้อบังคับและกฎเกณฑ์

กูลิค(Gulik, 1937:50) มีความเห็นว่าหลักการบริหารควรประกอบด้วยองค์ประกอบดังนี้ P-Planning หมายถึง การวางแผน O-Organizing หมายถึง การจัดองค์การ S-Staffing หมายถึง การจัดคนเข้าทำงาน D-Directing หมายถึง การสั่งการ Co-Co-ordinating หมายถึง ความร่วมมือ R-Reporting หมายถึง การรายงาน B-Budgeting หมายถึง งบประมาณ

2.ทัศนะเชิงมนุษยสัมพันธ์ ฟอลเล็ตต์ (Follett , 1924:77) ไม่เห็นด้วยกับการบริหารเชิงวิทยาศาสตร์ กล่าวว่าปัญหาของการบริหารขององค์การใดๆรวมถึงโรงเรียนจะต้องมองไปที่มนุษยสัมพันธ์

การสร้างมนุษยสัมพันธ์ในองค์การ การแก้ไขความแตกต่างสามารถกระทำได้โดยผ่านทางการประชุมและความร่วมมือมากกว่าจะใช้กฎระเบียบที่เคร่งครัด แนวทางความคิดของแต่ละกลุ่มสามารถสร้างขึ้นจากข้อเท็จจริงของสถานการณ์ กลุ่มคนแต่ละกลุ่มจะต้องเข้าใจทัศนะซึ่งกันและกัน กลุ่มคนใดในองค์การใดๆ จะมีเป้าหมายร่วนกันและดำเนินงานด้วยความสามัคคี เพื่อให้เป้าหมายนั้นประสบกับความสำเร็จ

หลักความร่วมมือ แต่ละแผนกขององค์การใดๆ จะต้องมีความร่วมมือในแนวราบ(Horizontal) แทนที่จะเป็นความร่วมมือในแนวตั้ง(Vertical Co-Ordination) โดยผ่านทางผู้บริหารสูงสุดขององค์การนั้นๆ ความร่วมมือจะต้องมีทั้งในขั้นวางแผนและขั้นนำแผนออกปฏิบัติ ความร่วมมือไม่ใช่ทำเป็นครั้งคราว แต่จะต้องทำอย่างต่อเนื่อง

การประยุกต์ใช้หลักมนุษยสัมพันธ์ในการบริหารการศึกษา อาจารย์ใหญ่ควรสร้างมนุษยสัมพันธ์อันดีกับครูเป็นรายบุคคลและเป็นกลุ่ม ปัญหาเรื่องมนุษยสัมพันธ์ ซึ่งในเบื้องต้นไม่ค่อยมีความสำคัญแต่ต่อมาได้รับการยอมรับมากขึ้น อาจารย์ใหญ่สามารถสร้างภาวะผู้นำแบบประชาธิปไตยได้มากกว่าเพราะตำแหน่งเอื้ออำนวยให้

4. ครูทุกคนรวมเป็นกลุ่มสังคมที่ซับซ้อน อาจารย์ใหญ่จะต้องร่วมงานกับครูเหล่านี้ด้วยความระมัดระวัง 5. ครูและเจ้าหน้าที่ทุกคนที่ได้รับผลกระทบกระเทือนต่อการตัดสินใจควรจะมีส่วนร่วมในการตัดสินใจนั้นด้วย

3.ทัศนะเชิงพฤติกรรมศาสตร์ ประสิทธิภาพกับการบริหาร การบริหารที่ต้องการให้งานขององค์การดำเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพต้องมีทางเลือกในการแก้ปัญหา(Alternative)หลายๆทางและควรเลือกทางในการแกปัญหาที่เสียค่าใช้จ่ายน้อยที่สุดแต่สามารถทำงานบรรลุผล

สิ่งที่เป็นอุปสรรคต่อประสิทธิภาพการทำงานที่ควรกำจัด 1. การจำกัดความสามารถในการทำงานของคน 2. การจำกัดความสามารถในการตัดสินใจที่ถูกต้อง 3. กระบวนการต่างๆที่เป็นอุปสรรคต่อการทำงาน

การประยุกต์ใช้พฤติกรรมศาสตร์ในการบริหารการศึกษา การบริหารประกอบด้วยความรู้เฉพาะ(Specialised Knowledge) ทักษะและความเข้าใจ การดำเนินการบริหาร โดยยึดทัศนะความจริงขององค์การที่ดำเนินอยู่ในปัจจุบัน

3. พื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ของการบริหารอยู่ในพฤติกรรมศาสตร์ดังนั้นความเข้าใจในจิตวิทยา สังคมวิทยา มานุษยวิทยา และการเมืองจึงเป็นสิ่งจำเป็นในการเข้าใจธรรมชาติที่เป็นจริง 4. การเปลี่ยนแปลงเป็นสิ่งที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ในการบริหารการศึกษาและเปลี่ยนแปลงใหม่ๆ(Innovation) เป็นสิ่งจำเป็นอย่างรีบด่วน

4.ทัศนะวิธีการเชิงระบบ การดำเนินงานตามวิธีการของ Systems Approaches ค้นหาสาเหตุของความจำเป็น ตรวจสอบดูสาเหตุของความจำเป็น ตั้งมาตรการในการดำเนินโครงการ

4. วางแผนให้สอดคล้องกับโครงการ 5. ตรวจสอบความสำเร็จตามขั้นตอนนั้น 6. หาวิธีการแก้ไขปัญหาแต่เนิ่นๆ

7.ใช้วิธีการแก้ปัญหาที่มีประสิทธิภาพสูงสุด 8.อบรมบุคลากรต่างๆ 9.สร้างมาตรฐานการวัดผล