ซิสเทมาติกส์ (Systematics)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
บทที่ 5 การดำรงชีวิตของพืช
Advertisements

การสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาห้องสมุดกับการรู้สารสนเทศของ นักศึกษาระดับชั้น ปวส.1 ด้วยการจัดการเรียนรู้โดยใช้สื่อประสม นางสาวพัชรี นาคทอง วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
หน่วยที่ 3 ความคลาดเคลื่อน ความถูกต้อง ความเที่ยงตรง และความไว.
เป็นหลักสำคัญในการนำเสนอเนื้อหา ของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนก็คือ ควร นำเสนอภาพที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหา ประกอบ กับคำอธิบายสั้นๆ ง่ายๆ แต่ได้ใจความ การใช้ภาพประกอบจะทำให้ผู้เรียน.
สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน
กระบวนการของการอธิบาย
การรักษาดุลยภาพในร่างกาย
เซลล์ (Cell).
การใช้งาน Microsoft Excel
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
บทที่ 3 นักวิเคราะห์ระบบและการ วิเคราะห์ระบบ. 1. นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis) 1.1 ความหมายของนักวิเคราะห์ระบบ นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis:
องค์ประกอบของร่างกายมนุษย์ เนื้อหา 1.1 โครงสร้างร่างกายมนุษย์ 1.2 ระบบอวัยวะ.
ศาสนาคริสต์111
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
กระบวนการ สังเคราะห์ด้วยแสง
สื่อการเรียนรู้เพื่อเพื่อนนักเรียน
หน้าที่ของประโยค. ประโยคต่างๆ ที่ใช้ในการสื่อสารย่อมแสดงถึงเจตนา ของผู้ส่งสาร เช่น บอกกล่าว เสนอแนะ อธิบาย ซักถาม ขอร้อง วิงวอน สั่งห้าม เป็นต้น หากจะแบ่งประโยคตามหน้าที่หรือลักษณะที่ใช้
หน้าที่ของประโยค. ประโยคต่างๆ ที่ใช้ในการสื่อสารย่อมแสดงถึงเจตนา ของผู้ส่งสาร เช่น บอกกล่าว เสนอแนะ อธิบาย ซักถาม ขอร้อง วิงวอน สั่งห้าม เป็นต้น หากจะแบ่งประโยคตามหน้าที่หรือลักษณะที่ใช้
นางสาวศิวพร แพทย์ขิม เอกสุขศึกษา กศ. บ. คณะพลศึกษา.
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
บทที่ 1 สถาปัตยกรรมของระบบฐานข้อมูล (Database Architecture)
โครงสร้างของพืชดอก (ใบ)
โครงสร้างและ หน้าที่ของราก
การเสริมไวตามิน อี ในสูตรอาหารสุกร
บทที่ 2 การศึกษาชีววิทยา
ทฤษฎีการวางเงื่อนไข แบบการกระทำ (Operant Conditioning Theory)
Presentation การจัดการข้อร้องเรียนในธุรกิจบริการ Customer Complaint Management for Service.
เรื่อง ความพึงพอใจต่อการให้บริการห้องสมุด
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
ข้อกำหนด/มาตรฐาน ด้านสุขาภิบาลอาหาร
ความหลากหลายทางชีวภาพ
เครื่องมือทางภูมิศาตร์
โดย อาจารย์เสาวณีย์ พุ่มท้วม
เรื่อง ศึกษาตัวกลางที่เหมาะสมกับการชุบแข็งของเหล็กกล้าคาร์บอน
กิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ งานบริหารและธุรการ คณะบริหารธุรกิจ
พฤติกรรม (Behavior) สิ่งเร้า ภายนอก ภายใน
ฝึกวิเคราะห์ย่อหน้า 1 การศึกษาทำให้มีคุณภาพชีวิตที่ดี ทั้งยังช่วยพัฒนาทางด้านความคิด สติปัญญา และสังคม ทั้งนี้การศึกษายังมีความสำคัญต่อการเป็นอยู่ เพราะรากฐานของความมั่นคงมาจากการได้รับการศึกษา.
พื้นฐานการออกแบบ กราฟิก หมายถึง ศิลปะแขนงหนึ่งซึ่งใช้การสื่อความหมาย ด้วยเส้น สัญลักษณ์ รูปวาด ภาพถ่าย กราฟ แผนภูมิ การ์ตูน ฯลฯ เพื่อให้สามารถสื่อความหมายของข้อมูลได้ถูกต้องตรง.
การสร้างโมเดลจำลองความสัมพันธ์ ระหว่างข้อมูล E-R Model
บทที่ 12 โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
บทที่ 6 แนวคิดเทคโนโลยีเสมือนจริง
คาร์โบไฮเดรต (Carbohydrate)
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีทาง DNA ในเชิง นิติวิทยาศาสตร์
โปรตีน กรดอะมิโนหลายโมเลกุล จะยึดเหนี่ยวกันด้วยพันธะเพปไทด์
วัฏจักรหิน วัฏจักรหิน : วัดวาอาราม หินงามบ้านเรา
การสร้างแบบสอบถาม และ การกำหนดเงื่อนไข.
การวัดและประเมินผลด้านพุทธิพิสัย (ตามลำดับขั้นการเรียนรู้ของ Benjamin Bloom) รศ. บรรพต พรประเสริฐ.
เสียงในภาษา วิชาภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ ครูกิ่งกาญจน์ สมจิตต์
ความหมาย ความสำคัญ และจุดมุ่งหมายของการศึกษา
อ.ณัฐวัฒน์ ธนสารโชคพิบูลย์
วัสดุและเทคนิค ทางการออกแบบ อ.สุวิธธ์ สาดสังข์ ( Material and
จุดมุ่งหมายทางการศึกษา และ จุดประสงค์การเรียนรู้
การวัดพฤติกรรมทางด้านทักษะพิสัย
ระเบียบวิธีการศึกษาคติชนวิทยา
การวิจัยทางการท่องเที่ยว
Structure of Flowering Plant
การแบ่งเซลล์ (CELL DIVISION)
กฎหมายกับเพศภาวะ Law & gender
งานวิจัยในชั้นเรียน ผู้วิจัย นางสาวนนทกานต์ ลีอุดมวงษ์ .
การวัดและประเมินผลด้านพุทธิพิสัย (ตามลำดับขั้นการเรียนรู้ของ Benjamin Bloom) รศ. บรรพต พรประเสริฐ.
หัวข้อการเรียน ENL 3701 Week 5
กราฟการเติบโตของสิ่งมีชีวิต
อ.ชิดชม กันจุฬา (ผู้สอน)
การสื่อสารข้อมูล ผู้สอน...ศริยา แก้วลายทอง.
ความหลากหลายทางชีวภาพ
แนวทางการออกแบบนิตยสาร
อ. อรนพัฒน์ เหมือนเผ่าพงษ์ สาขาวิชาการจัดการโรงแรมและธุรกิจที่พัก
การจัดการภาครัฐ และภาคเอกชน Public and private management
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
แผ่นดินไหว เกิดจากการเคลื่อนตัวของเปลือกโลกบริเวณแนวรอยเลื่อนของเปลือกโลก หรือการปะทุของภูเขาไฟ ทำให้เกิดการสั่นสะเทือนของแผ่นดิน ซึ่งหากเกิดการสั่นสะเทือนอย่างรุนแรง.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ซิสเทมาติกส์ (Systematics) ซิสเทมาติกส์ตามความหมายของ Simpon (1961) หมายถึง การศึกษาทางวิทยาศาสตร์เกี่ยวกับชนิดและความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตเหล่านั้น (Systematic is the scienfic study of the kind and diversity of organisms and of any and all relationships among them) ดังนั้นอนุกรมวิธาน (Taxonomy) จึงเป็นพื้นฐานที่สำคัญของซิสเทมาติกส์ และกระบวนการพื้นฐานที่นำไปสู่ซิสเทมาติกส์คือการจัดหมวดหมู่ของสิ่งมีชีวิต (Classification)

การจัดหมวดหมู่ของสิ่งมีชีวิตสามารถแบ่งวิธีการจัดหมวดหมู่เป็น 2 วิธีใหญ่ คือ 1. การจัดหมวดหมู่แบบผิวเผิน (Phenetic classification) เป็นการจัดหมวดหมู่โดยการสังเกตลักษณะ แล้วรวมจำนวนความเหมือน (Similarity) และความแตกต่าง (Difference) ของลักษณะของสิ่งมีชีวิตที่มองเห็นจากภายนอกเป็นหลัก โดยไม่คำนึงถึงสายพันธ์ในเชิงวิวัฒนาการของลักษณะที่นำมาใช้เป็นเกณฑ์ แต่การจัดกลุ่มจะนำสิ่งมีชีวิตที่มีจำนวนลักษณะที่เหมือนกันมากที่สุดไว้ด้วยกัน โดยนำมาสร้างแผนภูมิแสดงการจัดกลุ่ม 2. การจัดหมวดหมู่แบบอิงความสัมพันธ์ทางวิวัฒนาการ (Cladistic หรือ Phylogenetic classification) เป็นการจัดหมวดหมู่ของสิ่งมีชีวิตโดยอาศัยสายสัมพันธ์ความใกล้ชิดทางวิวัฒนาการ โดยเน้นลักษณะเชิงวิวัฒนาการ เช่น ลักษณะสัณฐานภายนอก (Morphology) กายวิภาคศาสตร์ (Anatomy) และลักษณะโครงสร้างของสารชีวโมเลกุล (Molecular biology) เช่น โปรตีน หรือ DNA เป็นต้น แล้วนำสิ่งมีชีวิตที่มีลักษณะเชิงวิวัฒนนาการร่วมกัน (Shared phylogenetic characters) หรือมาจากบรรพบุรุษเดียวกัน (Shared common ancester) มาจัดสร้างเป็นแผนภูมิการจัดจำแนกที่เรียกว่า คลาโดแกรม (Cladogram)

ในการอ่านรายละเอียดในคลาโดแกรมนั้นจะเริ่มอ่านจากด้านล่าง (ดังลูกศรชี้) แล้วอ่านขึ้นไปตามกิ่งต่างๆ ในคลาโดนแกรม - เครื่องหมาย จะแสดงตำแหน่งที่เกิดการเปลี่ยนแปลงของลักษณะ - ตำแหน่งที่มีเครื่องหมาย แสดงบรรพบุรุษร่วมกันของสิ่งมีชีวิตที่นำมาศึกษา เช่น ตำแหน่ง b3 ในคลาโดแกรมแสดงบรรพบุรุษร่วมกันของนก หนู และค้างคาว เป็นต้น

การจัดจำแนกหมวดหมู่ที่ได้รับการยอมรับอย่างกว้างขวางในปัจจุบัน เป็นการจัดสิ่งมีชีวิตออกเป็น 3 โดเมน (Domain) 5 อาณาจักร (Kingdom) ดังนี้ ลักษณะเปรียบเทียบ Eubacteria Archaea Eukarya 1. ประเภทของเซลล์ Prokaryotic cell Eukaryotic cell 2. จำนวนเซลล์และเนื้อเยื่อ เซลล์เดียวและหลายเซลล์แต่ไม่ทำหน้าที่ร่วมกันเป็นเนื้อเยื่อ เซลล์เดียวและไม่มีเนื้อเยื่อ เซลล์เดียวและหลายเซลล์ มีทั้งพวกที่ไม่มีเนื้อเยื่อ (โพรโทซัว สาหร่าย เห้ด รา ราเมือก) และมีเนื้อเยื่อ (Tissue) ได้แก่ พืชและสัตว์ 3. โครโมโซม DNA + Nonhistone protein เช่น Hu protein DNA + histone protein ตารางแสดง Domain และ Kingdom ของสิ่งมีชีวิต

Cellulose หรือ Chitin (ในรา) ลักษณะเปรียบเทียบ Eubacteria Archaea Eukarya 4. ลักษณะโมเลกุล DNA Circular DNA (วงแหวน) Linear DNA (ปลายเปิด) 5. Ribosome 70s 80s 6. ผนังเซลล์ (cell wall) Peptidoglycan ไม่ใช่ Peptidoglycan Cellulose หรือ Chitin (ในรา) 7. การตอบสนองต่อสารปฏิชีวนะของโครโมโซม มี ไม่มี ตารางแสดง Domain และ Kingdom ของสิ่งมีชีวิต

Protista Plantae Fungi Animalia Domain Eubacteria Archaea Eukarya Kingdom Bacteria Protista Plantae Fungi Animalia Monera   1. bacteria 1. Euryarcheota 1. archezoa 1. Hapaticophyta 1. Chytridiomycato 1. Porifera 2. cyanobacteria (Blue-green algue) 2. Crenarcheota 2. Diplomonadiad และ Parabasala 2. Anthoceraphyta 2. Zygomycota 2. Cnidaria 3. Eugelnozoa 3. Bryophyta 3. Ascomycoya 3. Platyhelminthes 4. Alveolata 4. Lycophyta 4. Basidomycota 4. Mollusca 5. Rhodophyta 5. Pterophyta 5. Deuteromycota 5. Annelida 6. Chlorophyta 6. Gnetophyta 6. Nematoda 7. Rhizopoda 7. Cycadophyta 7. Arthopoda 8. Ginkgophyta 8. Echinodermata 9. Coniferophyta 9. Chordata 10. Anthophyta หมายเหตุ Domain Eubacteria อาจจัดอยู่ใน Kingdom Bacteria, Domain Archaea อาจจัดอยู่ใน Kingdom Archeae หรือทั้ง Domain Eubacteria และ Domain Archaea จัดอยู่ใน Kingdom Monera เดียวกัน ขึ้นกับแนวคิดและเกณฑ์ที่ใช้ในการจัดหมวดหมู่

1. ประเภทโครงสร้างของเซลล์ Prokaryotic cell (ไม่มีเยื่อหุ้มนิวเคลียส) สิ่งเปรียบเทียบ Monera Protista Fungi Plantae Animalia Bacteria Archaea 1. ประเภทโครงสร้างของเซลล์ Prokaryotic cell (ไม่มีเยื่อหุ้มนิวเคลียส) Eukaryotic cell (มีเยื่อหุ้มนิวเคลียส) 2. ออร์แกเนลล์ที่มีเยื่อหุ้ม ไม่มี มี 3. ไรโบโซม 4. จำนวนเซลล์และเนื้อเยื่อ 1 เซลล์ หรือมากกว่า แต่ไม่ทำหน้าที่ร่วมกันเป็นเนื้อเยื่อ มากกว่า 1 เซลล์และทำหน้าที่ร่วมกันเป็นเนื้อเยื่อ 5. ตัวอ่อน (Embryo) ตารางเปรียบเทียบลักษณะสำคัญของสิ่งมีชีวิตใน 5 Kingdom

มากกว่า 1 อัน และมีโปรตีนฮีสโตน สิ่งเปรียบเทียบ Monera Protista Fungi Plantae Animalia Bacteria Archaea 6. จำนวนโครโมโซมและโปรตีนฮีสโตน โครโมโซม 1 อัน และไม่มีโปรตีนฮีสโตน โครโมโซม 1 อัน และมีโปรตีนฮีสโตน มากกว่า 1 อัน และมีโปรตีนฮีสโตน 7. ผนังเซลล์ (cell wall) มี แต่ไม่ใช่ cellulose มี ในพวกสาหร่ายเป็นสารเซลลูโลส มี เป็นสารไคติน มี เป็นสาร cellulose ไม่มี 8. ประเภทการดำรงชีวิต ผู้ผลิต (ไม่มีคลอโรพลาสต์) หรือผู้ย่อยอินทรียสาร ผู้ผลิต (มีคลอโรพลาสต์) หรือผู้บริโภค หรือผู้ย่อยอินทรียสาร ผู้ย่อยอินทรียสาร ผู้ผลิต (มีคลอโรพลาสต์ ผุ้บริโภค (ไม่มีคลอโรพลาสต์ ตารางเปรียบเทียบลักษณะสำคัญของสิ่งมีชีวิตใน 5 Kingdom