ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เรื่อง กำหนดมาตรฐานควบคุมการระบายน้ำทิ้งจากโรงงานอุตสาหกรรม นิคมอุตสาหกรรมและเขตประกอบการอุตสาหกรรม ประกาศในราชกิจจานุเบกษา 6 มิถุนายน 2559
สรุปสาระสำคัญ ยกเลิก ประกาศกระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม ฉบับที่ 3 (พ.ศ. 2539) เรื่อง กำหนดมาตรฐานควบคุมการระบายน้ำทิ้งจากแหล่งกำเนิดประเภทโรงงานอุตสาหกรรมและนิคมอุตสาหกรรม ลงวันที่ 3 มกราคม พ.ศ. 2539 1. ประกาศนี้ให้ใช้บังคับเมื่อพ้นกำหนด 1 ปีนับจากแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
สรุปสาระสำคัญ 2. ประกาศคณะกรรมการควบคุมมลพิษ เรื่อง กำหนดประเภทของโรงงานอุตสาหกรรมที่อนุญาตให้ระบายน้ำทิ้งให้มีค่ามาตรฐานแตกต่างจากค่ามาตรฐานควบคุมการระบายน้ำทิ้งที่กำหนดไว้ในประกาศ กระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม ฉบับที่ 3 (พ.ศ. 2539) เรื่อง กำหนดมาตรฐานควบคุมการระบายน้ำทิ้งจากแหล่งกำเนิดประเภทโรงงานอุตสาหกรรมและนิคมอุตสาหกรรม ลงวันที่ 20 สิงหาคม พ.ศ. 2539 ยังคงมีผลใช้บังคับต่อไปจนกว่าจะมีการออกประกาศกำหนดมาตรฐานควบคุมการระบายน้ำทิ้งจากโรงงานอุตสาหกรรม นิคมอุตสาหกรรม และเขตประกอบการอุตสาหกรรมเฉพาะประเภทฉบับใหม่
สรุปสาระสำคัญ กำหนดค่ามาตรฐานดังนี้ (1) pH not more than 5.5-9.0 (2) Temperature not more than 40 °C (3) Color not more than 300 ADMI (4) TDS not more than 3,000 mg/l (5) TSS not more than 50 mg/l (6) BOD not more than 20 mg/l (7) COD not more than 120 mg/l (8) ซัลไฟด์ Sulfide not more than 1 mg/l (9) ไซยาไนด์ Cyanides HCN not more than 0.2 mg/l (10) น้ำมันและไขมัน Oil and Grease not more than 5 mg/l (11) ฟอร์มาลดีไฮด์ Formaldehyde not more than 1 mg/l (12) สารประกอบฟีนอล Phenols not more than 1 mg/l (13) คลอรีนอิสระ Free Chlorine not more than 1 mg/l (14) สารฆ่าศัตรูพืชและสัตว์ Pesticide ต้องไม่พบ (15) TKN not more than 100 mg/l
สรุปสาระสำคัญ (16) ค่าของโลหะชนิดต่างๆ มีค่าดังนี้ สังกะสี (Zn) not more than 5.0 mg/l โครเมียมเฮกซะวาเลนท์ (Hexavalent Chromium) not more than 0.25 mg/l โครเมียมไตรวาเลนท์ (Trivalent Chromium) not more than 0.75 mg/l สารหนู (As) not more than 0.25 mg/l ทองแดง (Cu) not more than 2.0 mg/l ปรอท (Hg) not more than 0.005 mg/l แคดเมียม (Cd) not more than 0.03 mg/l แบเรียม (Ba) not more than 1.0 mg/l ซีลีเนียม (Se) not more than 0.02 mg/l ตะกั่ว (Pb) not more than 0.2 mg/l นิกเกิล (Ni) not more than 1.0 mg/l แมงกานีส (Mn) not more than 5.0 mg/l
สรุปสาระสำคัญ การเก็บตัวอย่างน้ำทิ้ง 3. จุดเก็บตัวอย่าง ให้เก็บในจุดระบายทิ้งลงสู่แหล่งน้ำสาธารณะหรือออกสู่สิ่งแวดล้อมหรือจุดอื่นที่สามารถใช้เป็นตัวแทนของน้ำทิ้งที่ระบายออกจากโรงงานอุตสาหกรรม นิคมอุตสาหกรรมและเขตประกอบการอุตสาหกรรม ในกรณีมีการระบายทิ้งหลายจุดให้เก็บทุกจุด 4. วิธีการเก็บตัวอย่างน้ำทิ้ง ณ จุดเก็บตัวอย่างตาม 7.1 ให้เก็บแบบจ้วง (Grab Sample)
สรุปสาระสำคัญ 5. ควบคุมคุณภาพน้ำทิ้ง การระบายน้ำทิ้งจากโรงงานลงสู่การส่วนกลางของนิคมอุตสาหกรรม ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่การนิคมอุตสาหกรรมกำหนด 6. การตรวจสอบค่ามาตรฐานน้ำทิ้งจากโรงงานอุตสาหกรรม นิคมอุตสาหกรรม และเขตประกอบการอุตสาหกรรม ให้เป็นไปตามวิธีการที่ประกาศนี้กำหนด 7. ดำเนินการเก็บตัวอย่างน้ำทิ้ง ด้วยวิธีที่ประกาศนี้กำหนด
จบการนำเสนอ