โดย นายแพทย์ประดิษฐ์ วินิจจะกูล รองอธิบดีกรมอนามัย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
กองก่อสร้างโครงการย่อย กองก่อสร้างโครงการกลาง กองก่อสร้างโครงการใหญ่
Advertisements

กองคลัง ประเด็นยุทธศาสตร์กรมฯ ยุทธศาสตร์กองคลัง
นักวิชาการสาธารณสุข ๙ ชช ศูนย์อนามัยที่ ๑๐ ชึชียงใหม่
การชี้แจงรายละเอียดและเกณฑ์การประเมินผล ตัวชี้วัดของหน่วยงาน ตามคำรับรองฯ ปีงบประมาณ พ.ศ.2557.
นายโอฬาร พิทักษ์ อธิบดีกรมส่งเสริมการเกษตร
ความก้าวหน้าในการจัดทำแผนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และแผนปฏิบัติการกำหนดขั้นตอนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (ฉบับที่
หมวด4 10 คำถาม.
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
รูปแบบการนำเสนอ หน่วยงาน
การพัฒนา องค์กร ประสิทธิภาพของ การปฏิบัติราชการ ประสิทธิผล ตามยุทธศาสตร์ เพิ่มขีดความสามารถใน การ ป้องกันและลดผลกระทบ จากสาธารณภัย สำนักนโยบายป้องกันและ.
ความเป็นมาของการจัดการ ความรู้ในกรมชลประทาน ตามพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์ และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ. ศ หมวดที่ 3 มาตราที่ 11 ระบุว่า.
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
แผนพัฒนาองค์การ ปี 2553 แผนการปรับปรุงระบบการเรียนรู้ความต้องการและ
ระบบประเมินผลผู้บริหาร
LOGO การคำนวณต้นทุนผลผลิต ของปีงบประมาณ 2553 โดย นายธีรชาติ พันธุ์หอม หัวหน้าฝ่ายแผนงานและ งบประมาณด้านก่อสร้าง คณะทำงานต้นทุนผลผลิตสำนัก ชลประทานที่ 11.
ผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ กรมอนามัย ปีงบประมาณ พ
ณ โรงแรมทีเค พาเลซ ถนนแจ้งวัฒนะ หลักสี่ กทม ธันวาคม 2557
กระบวนการถ่ายทอดความรู้
ชี้แจงเกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด
พยาบาลวิชาชีพชำนาญการพิเศษ
การประเมินผลการนำนโยบาย การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี ไปปฏิบัติของ กรมพินิจและคุ้มครองเด็กและ เยาวชน ผู้วิจัย กรมพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน กระทรวงยุติธรรม.
การจัดทำแผนปฏิบัติการ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ พ.ศ กันยายน 2557.
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
KPI 8 : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาบุคลากร น้ำหนัก :ร้อยละ 5 KPI ๑๐ : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาปรับปรุง วัฒนธรรมองค์การ น้ำหนัก : ร้อยละ 3 กองการเจ้าหน้าที่
นางวราพันธ์ ลังกาวงศ์ ผู้อำนวยการกลุ่มนโยบายและแผน.
การเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับระบบการควบคุมภายใน ระดับสถานศึกษา ประจำปี 2559.
ภาพรวมและความเชื่อมโยงการดำเนินการ ตามตัวชี้วัด ระดับความสำเร็จของการพัฒนา คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ ส่วนราชการระดับกรม.
องค์ความรู้ที่จำเป็นในการปฏิบัติราชการ แบบฟอร์มที่ 1 การจำแนกองค์ความรู้ที่จำเป็นต่อการผลักดันตามประเด็นยุทธศาสตร์ ของส่วนราชการ ชื่อส่วนราชการ : กรมทรัพยากรน้ำบาดาล.
โดย นายแพทย์ณัฐพร วงษ์ศุทธิภากร รองอธิบดีกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข “เรียนรู้ สิ่งแวดล้อม สร้างสรรค์” นโยบายการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย.
การขับเคลื่อนงานสุขภาพจิต วัยทำงาน ประจำปี 2559 โดย โรงพยาบาลจิตเวชนครสวรรค์ราช นครินทร์
การกำกับ ติดตาม ประเมินผล สำนักตรวจและประเมินผล Bureau of Inspection and Evaluation.
เยี่ยมเสริมพลัง การจัดการความรู้ วันที่ 14 ก. ย
แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ )
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ(PMQA)
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
บทสรุปผู้บริหาร การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) สำนักงานสาธารณสุขอำเภอบรบือ จังหวัดมหาสารคาม ปีงบประมาณ ๒๕๖๑ สำนักงานสาธารณสุขอำเภอบรบือ จังหวัดมหาสารคาม.
การสร้างแผนปฏิบัติการระดับตำบลหรือท้องถิ่น
การเพิ่มประสิทธิภาพ ระบบบริหารจัดการความเสี่ยง
กลุ่มงานบริหารทรัพยากรบุคลากร
กรอบการประเมิน 4 มิติ DPIS (1/59)
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
100 ตำบลต้นแบบในการบูรณาการ ด้านส่งเสริมสุขภาพ 5 กลุ่มวัย และอนามัยสิ่งแวดล้อม โดย กรมอนามัย.
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
แนวทางการปฏิบัติงานตามข้อสั่งการ ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ร่าง ยุทธศาสตร์ สป.พม. พ.ศ
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ประชุมติดตามความก้าวหน้าการดำเนินการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๕ วันที่ ๔ เมษายน ๒๕๕๕ เวลา ๑๓.๐๐ น. ณ ห้องประชุม ๔/๑ ศาลากลางจังหวัด.
EB9 หน่วยงานของท่านมีการดำเนินการเพื่อป้องกันผลประโยชน์ทับซ้อนในหน่วยงานอย่างไร (1) มีการวิเคราะห์ความเสี่ยงเกี่ยวกับการปฏิบัติงานที่อาจเกิดผลประโยชน์ทับซ้อน.
นโยบายการขับเคลื่อน การสร้างเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพของคนไทย ยุค 4.0
การประเมินคุณภาพการศึกษา สำนักงานอธิการบดี
KMA หมวด 6 การจัดการกระบวนการ.
ข้อเสนอต่อการพัฒนา ระบบการสร้างเสริมสุขภาพ ของประเทศไทย
ณ ห้องประชุมกำธร สุวรรณกิจ
ข้อสังเกตโดยรวมของผลงานที่ได้คะแนน ระดับดีมาก - ดี
แผนงาน การพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ
แผนงานการพัฒนาองค์กรคุณภาพ
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทย (พ.ศ )
ความปลอดภัยด้านอาหารและน้ำ
การประชุมกรมอนามัย ครั้งที่ 10/2557 วันเสาร์ที่ 11 ตุลาคม 2557
มุ่งเน้น การประเมินระดับการดำเนินงาน “หน่วยงานคุณธรรม”
การทำวิทยฐานะ แนวทางใหม่
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
ปัจจัยที่ทำให้การดำเนินงานสำเร็จบรรลุเป้าหมาย
ระบบบริการปฐมภูมิและสุขภาพอำเภอ
การดำเนินงานต่อไป.
การขับเคลื่อน การจัดทำแผนการพัฒนากำลังคน รายจังหวัด
มารู้จักและมีส่วนร่วมในกิจกรรม CSR ของ สศช. กันเถอะ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โดย นายแพทย์ประดิษฐ์ วินิจจะกูล รองอธิบดีกรมอนามัย นโยบายการพัฒนาระบบราชการ กรมอนามัย ประจำปี 2552 โดย นายแพทย์ประดิษฐ์ วินิจจะกูล รองอธิบดีกรมอนามัย

1) ต้องบรรลุเป้าหมายยุทธศาสตร์กรมอนามัย โจทย์ที่กรมอนามัยต้องดำเนินการ ปัญหา คือ ยุทธศาสตร์ การพัฒนาระบบ(มิติ 2-4) ไม่ได้มีความสัมพันธ์กับเป้าหมายยุทธศาสตร์ที่ต้องการให้บรรลุ รวมทั้ง PMQA ก็ไม่สามารถรองรับยุทธศาสตร์ได้ 2) ต้องดำเนินการตามเกณฑ์การประเมินผลการปฏิบัติราชการของ ก.พ.ร. ตาม “คำรับรอง” KPI 12 3) ต้องพัฒนาระบบบริหารจัดการภาครัฐให้ได้ตาม เกณฑ์ PMQA กพร. กรมอนามัย

ปัญหารูปธรรมในการดำเนินการ เมื่อปรากฏว่า ผลงานด้าน VIA ไม่บรรลุผล เราไม่สามารถวิเคราะห์หาสาเหตุในเชิงระบบได้ และไม่รู้ว่ามีปัญหาเรื่องศักยภาพบุคลากรหรือ เป็นเรื่องระบบการสนับสนุน กรณีเรื่อง โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ มีผู้รับผิด ชอบน้อย และ ไม่ทราบว่ามีระบบงานรองรับอย่างไร กรณีเรื่อง เมืองน่าอยู่ มีปัญหาด้านระบบฐานข้อมูลรองรับที่ไม่ชัดเจน ตัวชี้วัดส่วนใหญ่ มุ่งที่ผลลัพธ์ (ซึ่งก็ไม่ผิด) แต่ยังขาดการกำหนดตัวชี้วัดเชิงกระบวนการ (อย่างที่ อ .อมรฯเสนอแนะ) กพร. กรมอนามัย

ปัญหาอุปสรรคของการดำเนินการ การพัฒนาระบบ PMQA กรมอนามัย มีปัญหา เรื่อง 1.1 การเชื่อมโยงการปฏิบัติงานประจำ กับ การพัฒนา PMQA ยังไม่เป็นเนื้อเดียวกัน 1.2 การดำเนินการแต่ละคณะหมวด ขาดการเชื่อมโยง และบูรณาการระหว่างหมวดเรื่อง ทำให้เกิดความ ซ้ำซ้อนในการจัดประชุมของแต่ละหมวด 1.3 บทบาทของผู้บริหารขององค์การมีส่วนรวมในการ ดำเนินการน้อย 1.4 การขับเคลื่อน PMQA แบบทั่วทั้งองค์กรในทุก หน่วยงานย่อย เป็นภาระหนักมาก โดยเฉพาะ หน่วยงานเล็ก 2. การจัดทำแผนที่ยุทธศาสตร์ ยังไม่นิ่ง และ ไม่สามารถเชื่อมโยงการพัฒนาองค์กร(PMQA) ให้ตอบสนองกับเป้าหมายยุทธศาสตร์อย่างเป็นรูปธรรม กพร. กรมอนามัย

สถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลง กรมอนามัยต้องมีแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาองค์กร (ปี 2551-2555) 1) สำนักงาน ก.พ.ร. จัดทำแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทย(ปี 2551-2555) 2) สำนักงาน ก.พ.ร. ปรับปรุงระบบการพัฒนา PMQA ใหม่ การพัฒนาระบบงานตาม PMQAทั้ง6หมวดง่ายขึ้น 3) กระทรวงสาธารณสุข เข้าเป็นกระทรวงนำร่อง เรื่อง การเจรจาเป้าหมายระดับกรม กรมฯกำหนดเป้าหมาย 4 มิติใน “คำรับรอง”ที่สอด คล้องกับ กท./ก.ภารกิจ 4) กรมอนามัยจะใช้เครื่องมือ SLM. (ของ อ.อมรฯ)จัดทำ แผนที่ยุทธศาสตร์ กรมฯจะต้องประสาน SLM.เข้ากับ SM.กรม โดยมีการถ่ายทอดเป้าหมายด้วย กพร. กรมอนามัย

นโยบายการพัฒนาระบบ PMQA ปี 2552 การดำเนินการ PMQA ต้องให้ผู้บริหารระดับกลางมีส่วนร่วมในการตัดสินใจและกำหนดทิศทางร่วมกัน เช่น การพัฒนา PMQA จะดำเนินการแบบทั่วทั้งองค์กร / เฉพาะยุทธศาสตร์ / เพียง 1-2 ประเด็นยุทธศาสตร์ ให้เน้นการนำ PMQA มาเป็นเครื่องมือในการพัฒนาระบบงานเพื่อให้บรรลุเป้าหมายตามพันธกิจ และ ยุทธศาสตร์ โดยต้องประสานการพัฒนา PMQA เข้ากับงานประจำขององค์กร ต้องมีกลไกที่ดำเนินการที่เป็นเอกภาพและมีการบูรณาการ (ทั้งหน่วยงานเจ้าภาพยุทธศาสตร์ /หน่วยงานเจ้าภาพระบบบริหารงาน) ปรับปรุงบทบาทของทีม Fast Track ให้เป็น Facilitator ที่คอยสนับสนุนช่วยเหลือหน่วยงานหลัก รวมทั้งทำหน้าที่ M&E ในเรื่อง PMQA ด้วย กพร. กรมอนามัย

นโยบายการพัฒนาระบบ PMQA ปี 2552 เพื่อให้เกิดการประสานงานที่ดี จึงให้กำหนดบทบาทหน้าที่(Role and Function) ของหน่วยงานให้ชัดเจน - หน่วยงานเจ้าภาพยุทธศาสตร์ - หน่วยงานเจ้าภาพระบบบริหารงานกลาง หน่วยงานเจ้าภาพยุทธศาสตร์ ต้องเป็นหลักในการใช้ PMQA ในดำเนินการงาน โดยวิเคราะห์ความเสี่ยง วางระบบงาน กระบวนงานหลัก กำลังคนที่ต้องพัฒนา และระบบ IS เพื่อให้มั่นใจว่า ยุทธศาสตร์จะบรรลุผล หน่วยงานเจ้าภาพระบบบริหารงาน ต้องกำหนด“ระบบงานเป้าหมาย”ที่จะพัฒนาในแผนพัฒนาองค์กร (โดยวิเคราะห์จากเกณฑ์ PMQA และ OFI ของหมวด1-6) และจัดทำแผนพัฒนา“ระบบงานเป้าหมาย” โดยจำแนกบทบาทของหน่วยงานเจ้าภาพ(PO) กับ หน่วยงานย่อยที่ประสานงสอดคล้องกัน กพร. กรมอนามัย

3) ต้องพัฒนาระบบบริหารจัดการภาครัฐให้ได้ตาม เกณฑ์ PMQA 1) ต้องบรรลุเป้าหมายยุทธศาสตร์กรมอนามัย แนวคิดใหม่ที่ กรมอนามัยจะตอบโจทย์ 2) ต้องดำเนินการตามเกณฑ์การประเมินผลการปฏิบัติราชการของ ก.พ.ร. ตาม “คำรับรอง” 3) ต้องพัฒนาระบบบริหารจัดการภาครัฐให้ได้ตาม เกณฑ์ PMQA หมวด 7 กพร. กรมอนามัย

สวัสดี