ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการรับฟังความคิดเห็นของประชาชน พ.ศ.2548
ระเบียบฯ มอบให้ สปน. มีหน้าที่ กำกับดูแล ส่งเสริม สนับสนุน ช่วยเหลือ และแนะนำหน่วยงานของรัฐในการดำเนินการตามระเบียบนี้ จึงได้มีการตั้ง “คณะกรรมการรับฟังความคิดเห็นของประชาชน” ขึ้น
ขั้นตอนและกระบวนการเผยแพร่ข้อมูลและการรับฟังความคิดเห็นของประชาชน
โครงการ กรณีที่จะต้องดำเนินการ 1. ของหน่วยงานของรัฐ 1. ของหน่วยงานของรัฐ 2. การพัฒนาเศรษฐกิจหรือสังคม 3. รัฐเป็นผู้ดำเนินการเอง/ให้สัมปทาน/อนุญาต 4. เกิดผลกระทบอย่างกว้างขวาง
ประชาชนสามารถรับทราบและมีความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับโครงการของรัฐ ข้อมูลที่ต้องเผยแพร่แก่ประชาชน 1. เหตุผลความจำเป็น และวัตถุประสงค์ของโครงการ 2. สาระสำคัญของโครงการ 3. ผู้ดำเนินการ 4. สถานที่ที่จะดำเนินการ 5. ขั้นตอนและระยะเวลาการดำเนินการ 6. ผลผลิตและผลลัพธ์ของโครงการ 7. ผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นแก่ประชาชน รวมทั้งมาตรการป้องกัน แก้ไข หรือเยียวยา 8. ประมาณการค่าใช้จ่ายและที่มาของเงิน และประกาศใน ระบบเครือข่าย สารสนเทศ วิธีการเผยแพร่ข้อมูล ขึ้นอยู่กับดุลยพินิจของหน่วยงาน โดยหลักการ ประชาชนสามารถรับทราบและมีความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับโครงการของรัฐ
ต้องเผยแพร่ที่ http://www.publicconsultation.opm.go.th ระเบียบข้อ ๗
วัตถุประสงค์ของการรับฟังความคิดเห็น ประชาชนมีความเข้าใจที่ถูกต้อง รวบรวมความคิดเห็น / ความเดือดร้อน / ความเสียหาย ระเบียบข้อ ๘
การประกาศให้มีการรับฟังความคิดเห็น ก่อน การรับฟังความคิดเห็น 15 วัน ต้องประกาศให้ประชาชนทราบถึง 1. วิธีการรับฟังความคิดเห็น 2. ระยะเวลา 3. สถานที่ 4. รายละเอียดอื่น ๆ โดยต้องปิดไว้อย่างเปิดเผย และประกาศในระบบเครือข่ายสารสนเทศ ระเบียบข้อ ๑๑
วิธีการรับฟังความคิดเห็นของประชาชน 4. การสนทนากลุ่มย่อย 1. การสัมภาษณ์รายบุคคล การสำรวจ ความคิดเห็น 3. การเปิดโอกาสให้ประชาชนมารับข้อมูลและแสดงความคิดเห็นต่อหน่วยงานของรัฐที่รับผิดชอบโครงการ 2. การเปิดให้แสดงความคิดเห็นโดยทางไปรษณีย์ โทรศัพท์ โทรสาร ระบบอิเล็กทรอนิกส์ หรือทางอื่นใด ระเบียบข้อ ๙
วิธีการรับฟังความคิดเห็นของประชาชน (ต่อ) การประชุมปรึกษาหารือ 1. การประชาพิจารณ์ 2. การอภิปรายสาธารณะ 3. การแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร 4. การประชุมเชิงปฏิบัติการ 5. การประชุมระดับตัวแทนของกลุ่มบุคคลที่เกี่ยวข้องหรือมีส่วนได้เสีย ระเบียบข้อ ๙
หลังจากมีการรับฟังความคิดเห็นแล้ว จัดทำสรุปผล และประกาศให้ทราบภายใน 15 วัน และถ้าหากปรากฏว่า ผลกระทบมากกว่าข้อมูลที่เผยแพร่ ดำเนินโครงการต่อ ต้องกำหนดมาตรการป้องกัน / แก้ไข / เยียวยา (เพิ่มเติม)และประกาศให้ทราบ ระเบียบข้อ ๑๒ และข้อ ๑๓
หน่วยงานต้องทำอะไร ต้องใช้ดุลพินิจ (ผลกระทบอย่างกว้างขวาง/รุนแรง และจำเป็นหรือไม่) ต้องเผยแพร่ข้อมูล (1 ครั้ง) กรณีต้องรับฟังความคิดเห็น ต้องทำ ประกาศรายละเอียด ของการรับฟัง สรุปผลการรับฟัง/ประกาศ ประกาศมาตรการ ป้องกัน/เยียวยา ต้องรับอุทธรณ์
ประชาชนต้องทำอะไร รู้แล้วทำความเข้าใจให้ถูกต้องเกี่ยวกับข้อมูล อุทธรณ์เป็นหนังสือ เสนอความคิดเห็น / ความเดือดร้อนและความเสียหาย ร้องศาลปกครอง กรณีไม่ปฏิบัติตามระเบียบ กรณีไม่เป็นโครงการของรัฐ ร้องขอข้อมูลจากคณะกรรมการข้อมูลข่าวสารของราชการได้
สปน. ต้องทำอะไร กำกับดูแล ส่งเสริม สนับสนุน ช่วยเหลือ และแนะนำหน่วยงานของรัฐ จัดทำและเผยแพร่แนวทางการเผยแพร่ข้อมูลและการรับฟังฯ จัดทำฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์และระบบเครือข่ายสารสนเทศ ศึกษาและวิจัยเพื่อปรับปรุงและพัฒนาวิธีการให้ข้อมูล และการรับฟังฯ
ระดับของการมีส่วนร่วม ระดับที่ 5 การมีส่วนร่วมในระดับให้อำนาจแก่ประชาชน (Empower) ระดับที่ 4 การมีส่วนร่วมในระดับสร้างความร่วมมือ (Collaboration) ระดับที่ 3 การมีส่วนร่วมในระดับการเข้ามีบทบาท (Involve) ระดับที่ 2 การมีส่วนร่วมในระดับหารือ (Consult) ระดับที่ 1 การมีส่วนร่วมในระดับให้ข้อมูลข่าวสาร (Inform)
สำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี ด้วยความขอบคุณ ศูนย์บริการประชาชน สำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี โทร. 0 2282 3549 สายด่วนของรัฐบาล 1111 http://www.publicconsultation.opm.go.th