อนุกรมวิธาน (Taxonomy) และ ความหลากหลายทางชีวภาพ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
พืชตระกูลสน Gymnospermae
Advertisements

การเพาะเลี้ยงกุ้งก้ามกราม
การเลี้ยงปลาบึก ABC DEFG รหัส 47xxxxxx คณะเกษตรศาสตร์ สาขาประมง.
SCC : Suthida Chaichomchuen
แก้ไขข้อมูลที่ไม่สามารถกรอกเป็นภาษาไทยได้
สัมมนาทางชีวิทยา เสนอ อ. ดอเล๊าะ ดาลี จัดทำโดย น. ส
ภาพรวมของระบบ. ERP Saeree โดย สำนักงานส่งเสริมอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน)
Bacterial Taxonomy จัดทำโดย อาจารย์สมศักดิ์ อยู่บริบูรณ์
ACCESS Control.
การจำแนกลักษณะเต่านามลายู
MECH 0230 MECHANICAL DRAWING
Thai Health Informatics Academy Thai Health Information Standard Development Center(THIS) โปรแกรมจับคู่รหัสรายการตรวจทาง ห้องปฏิบัติการฯ กับรหัสมาตรฐาน.
1 คณะที่ 5 การตรวจราชการแบบบูรณา การ ร่วมกับสำนักนายกรัฐมนตรี
มาตรฐานกำหนดตำแหน่ง กับการบรรจุแต่งตั้ง.
ประวัติเมืองน่าน โดย นาย กันตพล วาทกุลชร
และการรับแจ้งข้อมูลลิขสิทธิ์ กรมทรัพย์สินทางปัญญา
โครงการประเมินคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน
การพัฒนาระบบ e-GP ในระยะที่ 3
15 กันยายน 2559.
ความคืบหน้าการจัดทำ ร่าง-ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ นพ.ยงยศ ธรรมวุฒิ ที่ปรึกษาระดับกระทรวง นายแพทย์ทรงคุณวุฒิ
ความสำคัญของ ความหลากหลายทางชีวภาพ 1
ความหลากหลายทางชีวภาพ และ การอนุรักษ์
แหล่งสารสนเทศ ดร.นฤมล รักษาสุข.
การวัดและประเมินการปฏิบัติ
การวัดและประเมินผลการศึกษา
การผลิตหม่อนไหม Sericulture.
การบริหารงานสอบบัญชี
บทที่ 5 ความต้องการ วิศวกรรมความต้องการ แบบจําลองการวิเคราะห์
ปฐพีศาสตร์ทั่วไป (General soil)
การพัฒนาระบบ e-GP ในระยะที่ 3
ภัยธรรมชาติและการระวังภัยในทวีปเอเชีย ออสเตรเลีย และโอเชียเนีย
บทที่ 2 การบริหารจัดการข้อมูลและลำดับชั้นของการจัดเก็บข้อมูล
Network programming Asst. Prof. Dr. Choopan Rattanapoka
แนวโน้มประเด็นสำคัญของ การจัดการทรัพยากรมนุษย์
ความหลากหลายทางชีวภาพ และ การอนุรักษ์
ความหลากหลายทางชีวภาพ
Cassava Family: Euphorbiaceae (พืชมีน้ำยาง)
4.2.4 แผนปฏิบัติงานประจำปีงบประมาณ พ.ศ
ความหลากหลายทางชีวภาพ
เครือข่ายพันธมิตรมหาวิทยาลัยเพื่อการวิจัย
วิชาการทำฟาร์มสุกร บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเลี้ยงสุกร.
การกำหนดและการใช้คุณลักษณะเฉพาะสิ่งอุปกรณ์ หลักสูตร นายทหารฝ่ายการส่งกำลังบำรุง (ฝอ.๔) ณ รร.กบ.ทบ. ๕ มิ.ย. ๖๐.
ดำรงตำแหน่ง : 18 ธ.ค. 59 อายุ : 59 ปี การศึกษา :
“มิติใหม่ของ QR Code กับ งานสุขศึกษา” อุบัติเหตุ 1
การเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจ
เรื่อง การปรับปรุงค่าตอบแทนภาคราชการ
การจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุ
กระบวนการเรียกร้องสิทธิและการดำเนินคดีผู้บริโภค
ครอบครัว กับการคืนสู่สุขภาวะ
ดำรงตำแหน่ง : 18 ธ.ค. 59 อายุ : 59 ปี การศึกษา :
ความรู้พื้นฐานการให้รหัสโรค BASIC ICD-10
โครงการสร้างสรรค์ทัศนศิลป์ขั้นสูง Terminal Project in Advanced Visual Arts 
ขั้นตอนและระยะเวลาการบริการ
Biochemistry II 2nd Semester 2018
Sweet Potato Family: Convolvulaceae Genus: Ipomoea Species: batatas
ซิสเทมาติกส์ (Systematics)
การตรวจสอบย้อนกลับ TRACEABILITY
การใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติและการจัดการ
การกำหนดเลขหมายโทรศัพท์
แบบฟอร์มที่ 2 1. ชื่อวิชา THM 3307 การจัดการงานฝ่ายห้องพัก
ศูนย์วิทยพัฒนา มสธ. นครศรีธรรมราช
โครงการปรับปรุง และสร้างฐานข้อมูลหลักมาตรฐานสากล
ประชากร นำเสนอโดย ผศ.ดร.สมาน แก้วไวยุทธ.
เพื่อให้ความรู้เกี่ยวกับความหมายของ Meetings
Genus: Hevea Species: brasiliensis Family: Euphorbiaceae
แนวทางการดำเนินงาน โครงการสาธารณสุข ๑๐๐ ปี หมออนามัยห่วงใยประชาชน สร้างชุมชนปลอดขยะ ร่วมขจัดภัยไข้เลือดออกและไข้มาลาเรีย ปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๑.
โครงการให้บริการที่ดีที่สุดประจำปีงบประมาณ พ.ศ ที่มีความโดดเด่น
ความสัมพันธ์ระหว่างโครงสร้างองค์การ โครงสร้างตำแหน่งและโครงสร้างค่าจ้างเงินเดือน บทที่ 4. ดร.จันทร์เพ็ญ มีนคร.
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข
ครั้งที่ ๒/๒๕๖๒ วันศุกร์ที่ ๑๒ กรกฏาคม ๒๕๖๒
ใบสำเนางานนำเสนอ:

อนุกรมวิธาน (Taxonomy) และ ความหลากหลายทางชีวภาพ นำเสนอโดย ผศ.ดร.สมาน แก้วไวยุทธ

ความหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity) ความหลากหลายในระดับพันธุกรรม (Genetic diversity) ความหลากหลายในระดับสิ่งมีชีวิต (Organismal diversity) ความหลากหลายในระดับระบบนิเวศ (Ecological diversity)

อนุกรมวิธาน (Taxonomy) 1. การจัดจำแนกสิ่งมีชีวิตเป็นหมวดหมู่ต่างๆ (Classification) การจัดหมวดหมู่ของสิ่งมีชีวิต คือ การจัดหมวดหมู่ของสิ่งมีชีวิตเป็นลำดับขั้นตอน (Taxon) ตามลำดับ (Taxonomic categories) จากลำดับสูงมาต่ำ หรือต่ำไปสูง ได้แก่ โดเมน (Domain) -> ไฟลัม (Phylum) -> ชั้น (class) -> อันดับ (Order) -> ครอบครัวหรือวงศ์ (Family) -> สกุล (Genus) -> ชนิด (Species)

2. การตรวจสอบชื่อวิทยาศาสตร์ของสิ่งมีชีวิต (Identification) การตรวจสอบชื่อวิทยาศาสตร์เป็นการค้นหาชื่อวิทยาศาสตร์ของสิ่งมีชีวิตนั้นๆ ว่ามีการค้นพบและตั้งชื่อวิทยาศาสตร์ (Scientific names) ไว้แล้วหรือยัง ซึ่งต้องใช้กุญแจหรือรูปวิธาน (Dichotomous key) จำแนก อาจจะต้องจำแนกตั้งแต่วงศ์หรือสูงกว่านั้น จนถึงขั้นสปีชีส์หรือชนิด https://uoitbio2013.files.wordpress.com/2013/02/dichobirds.jpg

ดังนั้น Taxonomy = Classification + Identification + Nomenclature การกำหนดชื่อหรือการตั้งชื่อวิทยาศาสตร์สำหรับสิ่งมีชีวิตชนิดที่ตรวจสอบหรือค้นคว้าจนแน่ชัดแล้วว่าไม่มีการค้นพบหรือตั้งชื่อสิ่งมีชีวิตนั้นๆ มาก่อน ก็จะทำการตั้งชื่อวิทยาศาสตร์ตามกฏเกณฑ์สากลของแต่ละสิ่งมีชีวิต เช่น แบคทีเรียใช้ International Code of Bacterial Nomenclature พืชใช้ ICBN (International Code of Botanical Nomenclature) สัตว์ใช้ ICZN (International Code of Zoological Nomenclature) ไวรัสใช้ ICVN (International Code of Viral Nomenclature) ดังนั้น Taxonomy = Classification + Identification + Nomenclature

ลำดับในการหมวดหมู่ของสิ่งมีชีวิตทางอนุกรมวิธาน (Taxonomic categories หรือ Taxon) โดเมน (Domain) อาณาจักร (Kingdom) คลาส (Class) ออร์เดอร์ (Order) แฟมิลี (Family) จีนัส (Genus) สปีชีส์ (Species) หมายเหตุ: แต่เดิมใช้ดิวิชัน (Division) สำหรับขั้นไฟลัม (Phylum) แต่ในปัจจุบัน ICBN ได้ยกเลิกการใช้ดิวิชันในพืช โดยใช้ไฟลัมเหมือนอาณาจักรอื่นๆ ตั้งแต่ ค.ศ. 1993 เป็นต้นมา

ระดับความคล้ายคลึงกัน ในหมวดหมู่ใหญ่เดียวกันจะมีปริมาณสิ่งมีชีวิตมากกว่าในหมวดหมู่ย่อยเดียวกัน น้อยที่สุด โดเมน ระดับความคล้ายคลึงกัน ปริมาณสิ่งมีชีวิต มากที่สุด สปีชีส์