ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาเชิงพื้นที่และระดับอุดมศึกษา เฉลิมพงษ์ คงเจริญ คณะเศรษฐศาสตร์ ม.ธรรมศาสตร์ 28 มิถุนายน 2561
สัดส่วนของประชากรที่อยู่ในโรงเรียนแยกตามกลุ่มอายุ ช่วงอายุ ไม่ได้อยู่ใน โรงเรียน อยู่ในโรงเรียน 6-11 ปี 0.6% 99.4% 12-14 ปี 3.0% 97.0% 15-17 ปี 21.5% 78.5% 18-21 ปี 58.6% 41.4% ที่มา: ผู้เขียนคำนวณจาก SES 2554
ความเหลื่อมล้ำในเชิงพื้นที่ สัดส่วนของเด็กอายุ 15-17 ปี ที่อยู่ในโรงเรียน SES ปี 2535 2543 2554 กรุงเทพ 60.89 77.99 81.59 ไม่ใช่กรุงเทพ 47.16 77.72 79.76 ทั้งประเทศ 49.98 77.74 79.85 เมือง 60.78 80.33 82.28 ชนบท 35.61 73.85 76.71
การศึกษาความเหลื่อมล้ำด้านการศึกษาระดับมัธยมศึกษา มุมมองในเชิงพื้นที่ เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีกำหนดความแตกต่างระหว่าง การคงอยู่ในระบบการศึกษาของประชากรอายุ ระหว่าง 15-17 ปี เปรียบเทียบในกรณีกรุงเทพ และต่างจังหวัด และระหว่างเมืองกับชนบท
ทบทวนวรรณกรรม ลักษณะของครัวเรือนเป็นปัจจัยสำคัญในการตัดสินใจด้านการศึกษา รายได้ของครัวเรือน การศึกษาของพ่อแม่ จำนวนผู้ใหญ่ในครัวเรือน จำนวนของเด็กในครัวเรือน ปัจจัยส่วนบุคคล ปัจจัยด้านทรัพยากรด้านการศึกษา
ข้อมูลที่ใช้ SES 2011 (2554) กลุ่มเป้าหมายของการศึกษา ประชากรอายุ 15-17 ปี มีสถานะเป็นลูก หลาน ของหัวหน้าครอบครัว
ข้อมูลสถิติเบื้องต้น
ผลการศึกษา (เปรียบเทียบกรุงเทพและต่างจังหวัด) ผลการประมาณค่าแบบจำลอง Logit
ผลการศึกษา (เปรียบเทียบกรุงเทพและต่างจังหวัด) Nonlinear Decomposition
ผลการศึกษา (เปรียบเทียบเมืองและชนบท)
ผลการศึกษา (เปรียบเทียบเมืองและชนบท)
ความเหลื่อมล้ำในโอกาสการศึกษาระดับอุดมศึกษา
การจบการศึกษาระดับปริญญาตรีส่งผลให้เงินเดือนที่ได้รับเพิ่มขึ้นประมาณ 2 เท่าจากระดับมัธยมศึกษา ที่มา: คำนวณจาก LFS 2558 (เงินเดือนของแรงงานที่มีอายุระหว่าง 35-40 ปี,หน่วยบาทต่อเดือน)
ความแตกต่างระหว่างเงินเดือนของบัณฑิตที่จบการศึกษาจากมหาวิทยาลัยในส่วนกลาง (B) กับภูมิภาค (A) ที่มา: http://www.unigang.com/Article/41212 (เงินเดือนเฉลี่ยปี 2559)
ใครจะมีโอกาสเข้าเรียนในมหาวิทยาลัย B?
จังหวัดที่คะแนนสูง จะมีจำนวนนักศึกษาในมหาวิทยาลัย B เพิ่ม ที่มา: สศช., ข้อมูลรายจังหวัด
จังหวัดที่มีรายได้สูง ส่งผลให้คะแนน ONET เฉลี่ยของจังหวัดสูงด้วย (นักเรียนในครัวเรือนรายได้สูงย่อมคะแนนสอบสูง) ที่มา: สศช., ข้อมูลรายจังหวัด ปี 2558
จำนวนนักศึกษา(ปรับด้วยจำนวนประชากร)ในมหาวิทยาลัย B จากจังหวัดต่าง ๆ แปรผันตามรายได้เฉลี่ยของจังหวัด ที่มา: สศช., ข้อมูลรายจังหวัด ปี 2558
มหาวิทยาลัยในส่วนกลาง (B,C, มธ สัดส่วนของนักศึกษาที่บิดาที่มีรายได้น้อยกว่า 150,000 บาท เงินเดือนของบิดาเฉลี่ย มหาวิทยาลัย C 11.2% 30,570 มหาวิทยาลัย B 20.8% 26,261 มหาวิทยาลัย B (วิทยาเขต1) 36.5% 21,573 มหาวิทยาลัย B (วิทยาเขต2) 26.3% 24,495 ธรรมศาสตร์ (ท่าพระจันทร์) 19.5% 26,169 ธรรมศาสตร์ (รังสิต) 24.3% 24,106 มหาวิทยาลัย A 46.8% 16,824 มหาวิทยาลัยกลุ่ม ก 65.8% 12,410 มหาวิทยาลัยกลุ่ม ข 71.8% 11,437 ที่มา: www.info.mua.go.th, นักศึกษาปีการศึกษา 2556
ความเหลื่อมล้ำในการรับเข้าการศึกษามหาวิทยาลัย การศึกษาระดับอุดมศึกษามีส่วนที่ช่วยผลิตซ้ำความเหลื่อมล้ำ ทางรายได้ และการศึกษา โอกาสในการเข้าศึกษา (สอบเข้า) ระบบการรับเข้าที่ผ่านมา และปัจจุบันที่ให้น้ำหนักกับผลการสอบ มิได้ส่งเสริมให้ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาลดลง TCAS มิได้ช่วยลดความเหลื่อมล้ำ เนื่องจากต้นทุนในการสอบที่ ลดลงเกิดขึ้นกับทั้งนักเรียนจากครัวเรือนในกลุ่มรายได้สูงและรายได้ ต่ำ Affirmative Action จากฐานของรายได้ ความสามารถในการเรียนในระดับอุดมศึกษา (ค่าเล่าเรียน ค่าใช้จ่ายต่าง ๆ)
การรับเข้านักศึกษาใหม่ของธรรมศาสตร์