แนวทางการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย สำหรับศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สังกัด อปท. เข็มชาติ พิมพิลา รองผู้อำนวยการชำนาญการพิเศษ โรงเรียน เวียงเชียงรุ้งวิทยา.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
Advertisements

ความก้าวหน้าในการจัดทำแผนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และแผนปฏิบัติการกำหนดขั้นตอนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (ฉบับที่
องค์ประกอบหลักสูตรสถานศึกษา
งานบริการการศึกษา.
ระบบประเมินผลผู้บริหาร
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
ยุทธศาสตร์ลดปัจจัยเสี่ยง ในเด็กวัยเรียนและวัยรุ่น ปี 2551
พยาบาลวิชาชีพชำนาญการพิเศษ
ร่องรอยหลักฐานการกำหนดมาตรฐานและการจัดระบบบริหาร
โครงการ “ พัฒนาคุณภาพ การจัดการศึกษา เรียนร่วมและเรียนรวม”
นางวราพันธ์ ลังกาวงศ์ ผู้อำนวยการกลุ่มนโยบายและแผน.
โครงการพัฒนา ศักยภาพบุคลากร เพื่อยกระดับการ บริหารจัดการเชิงกล ยุทธ์และพัฒนาอัต ลักษณ์ผู้เรียนภาค บังคับ สู่ผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน ๒๐ - ๒๑ สิงหาคม ๒๕๕๘.
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษา เขต 39 สำนักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน 16 พฤษภาคม 2558 ณ โรงแรมน่านเจ้า จังหวัดพิษณุโลก การประชุมชี้แจง เรื่อง.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
ศูนย์พัฒนา เด็กเล็ก เทศบาล ตำบลปัว ยินดี ต้อนรับ ยินดี ต้อนรับ.
ข้อที่เกณฑ์การประเมินการดำเนินงาน ข้อ 1 พัฒนาแผนกลยุทธ์จากผลการวิเคราะห์ SWOT โดยเชื่อมโยงกับวิสัยทัศน์ของคณะและ สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของคณะ สถาบัน.
รายงานการ ดำเนินงาน ศูนย์แนะแนวต้นแบบประจำสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา รายงานการ ดำเนินงาน ศูนย์แนะแนวต้นแบบประจำสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา.
ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ โรงเรียนอนุบาลนาแกผดุงราชกิจเจริญ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา นครพนม เขต ๑ ตามนโยบายกระทรวงศึกษาธิการ.
1. ด้าน หลักสูตร. จุดเน้นกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ คุณภาพผู้เรียน “ คุณภาพผู้เรียน ที่ระบุในจุดเน้นมีอยู่ แล้วในหลักสูตร.
มาตรฐานที่ ๓ ผลการบริหารและ การจัดการศึกษาของ สำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษา ผลการบริหารและ การจัดการศึกษาของ สำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษา.
ปรานอม ประทีปทวี 25/09/591 หน้าที่ของครูผู้นิเทศ สพม.5.
การบริหารหลักสูตร.
เครื่องมือการตรวจติดตามการประเมินผลการจัดการศึกษา
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
ระบบ ISO 9001:2015 สำหรับธุรกิจบริหารจัดการเรือ
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
กลุ่มเป้าหมาย สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด 76 จังหวัด ค่าเป้าหมาย
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
กรอบอัตรากำลังของบุคลากรทางการศึกษาอื่นตามมาตรา 38 ค. (2)
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การประเมินผลการปฏิบัติงาน
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
หลักเทคนิคการเขียน SAR
ถวิล สร่ายหอม ผู้อำนวยการสถานศึกษา โรงเรียนขุนหาญวิทยาสรรค์
กิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ งานบริหารและธุรการ คณะบริหารธุรกิจ
การจัดทำหลักสูตรสถานศึกษา การศึกษาปฐมวัย
การประเมินวิทยฐานะ (ว 21/2560)
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน ปี 2561
ศูนย์อนามัยที่ 5 ราชบุรี
การขอรับรองมาตรฐานฝีมือแรงงาน ตามมาตรา 26
การพัฒนาระบบการประเมิน และการประกันคุณภาพการศึกษา
การประเมินคุณภาพการศึกษา สำนักงานอธิการบดี
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
เครือข่ายความร่วมมือ เพื่อการพัฒนาห้องสมุดและ แหล่งเรียนรู้
การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพบุคลากรทางการศึกษาด้านการสอบด้วยคอมพิวเตอร์ (Computer-based Assessment) การรู้เรื่องการอ่าน ด้านคณิตศาสตร์และด้านวิทยาศาสตร์
ปี 2560 ปฏิทินการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส
การกำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา และการประกาศค่าเป้าหมาย
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
Professional Learning Community ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ
งานแนะแนว กับระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน
ประวัติวิทยากร ปริญญาเอก ศึกษาศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต ดร.วัชรศักดิ์ สงค์ปาน
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 สรุปบทเรียน และแนวทางการนำไปใช้
หลักเกณฑ์การประเมินกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
โครงการยกระดับคุณภาพผู้เรียน ในการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ (NT/O-NET)
การประเมินผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ตัวชี้วัดที่ 4 ร้อยละของเด็ก 0-5 ปี สูงดีสมส่วน ” สำนักโภชนาการ.
โครงการโรงเรียนคุณภาพประจำตำบล (1 ตำบล 1 โรงเรียนคุณภาพ)
การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 15
การให้ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา มีวิทยฐานะและเลื่อนวิทยฐานะ
“ทิศทางการขับเคลื่อน คุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน” ของสำนักงานคณะกรรมการ
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา Self – Assessment Report
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
โดย นายธนารัฐ สายเทพ กลุ่มงานวางแผนฯ กองการเจ้าหน้าที่ นอ
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
แบบฟอร์มที่ 2ลักษณะสำคัญขององค์การ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แนวทางการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย สำหรับศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สังกัด อปท. เข็มชาติ พิมพิลา รองผู้อำนวยการชำนาญการพิเศษ โรงเรียน เวียงเชียงรุ้งวิทยา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา เชียงรายเขต ๑

1. แต่งตั้งคณะกรรมการจัดทำหลักสูตร แนวทางการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย สำหรับศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สังกัด อปท. 1. แต่งตั้งคณะกรรมการจัดทำหลักสูตร - คณะกรรมการบริหารศูนย์ - ผู้ทรงคุณวุฒิ - รก.หน.ศพด. - ครู - ตัวแทน ผู้ปกครอง - ตัวแทน ชุมชน

๒. คณะกรรมการที่ได้รับการแต่งตั้ง แนวทางการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย สำหรับศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สังกัด อปท. ๒. คณะกรรมการที่ได้รับการแต่งตั้ง - ศึกษา ทำความเข้าใจหลักสูตร คู่มือ หลักสูตร ฯลฯ - รวบรวมข้อมูลพื้นฐาน สภาพปัจจุบัน ปัญหา ความต้องการของชุมชนและท้องถิ่น ตลอดจนนโยบาย จุดเน้น วิสัยทัศน์ อัตลักษณ์ เอกลักษณ์ ของ ศพด. ตามแผนพัฒนาคุณภาพฯ

๓. ดำเนินการจัดทำหลักสูตร แนวทางการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย สำหรับศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สังกัด อปท. ๓. ดำเนินการจัดทำหลักสูตร ๑) ปก หลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลเวียงเชียง รุ้ง พุทธศักราช 2561 ตามหลักสูตรการศึกษา ปฐมวัย พุทธศักราช 2560

๔) ปรัชญาการศึกษาปฐมวัยของศูนย์ พัฒนาเด็กเล็ก ๕) ประกาศใช้หลักสูตร แนวทางการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย สำหรับศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สังกัด อปท. ๒) คำนำ ๓) สารบัญ ๔) ปรัชญาการศึกษาปฐมวัยของศูนย์ พัฒนาเด็กเล็ก ๕) ประกาศใช้หลักสูตร

๖) วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าหมาย แนวทางการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย สำหรับศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สังกัด อปท. ๖) วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าหมาย - วิสัยทัศน์ต้องสอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของ หลักสูตร ๒๕๖๐ ชัดเจน-เหมาะสม- มีระยะเวลา ที่แน่นอน - พันธกิจ เป็นการกำหนดภาระงานหรือ วิธีดำเนินงาน ที่จะต้องทำ เพื่อให้บรรลุ วิสัยทัศน์ - เป้าหมาย เป็นการกำหนดความคาดหวังที่ เกิดขึ้นจากการ ดำเนินงานตามพันธกิจ ทั้งเชิงปริมาณและ คุณภาพ

แนวทางการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย สำหรับศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สังกัด อปท. ๗) จุดหมาย เป็นการกำหนดความคาดหวังที่จะเกิด กับเด็กหลังจากจบหลักสูตร

๘) มาตรฐานคุณลักษณะที่ พึงประสงค์ แนวทางการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย สำหรับศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สังกัด อปท. ๘) มาตรฐานคุณลักษณะที่ พึงประสงค์ นำมาตรฐานคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ตัวบ่งชี้ และสภาพที่พึงประสงค์ของ หลักสูตรฯ ทั้งหมดมากำหนด(เพิ่มเติม ได้)

๑๐) สาระการเรียนรู้ รายปี แนวทางการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย สำหรับศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สังกัด อปท. ๙) การจัดเวลา เรียน ไม่น้อยกว่า 180 วันต่อ 1 ปี ในแต่ละวันใช้เวลาไม่น้อยกว่า 5 ชั่วโมง (ปรับได้ตามบริบท) ๑๐) สาระการเรียนรู้ รายปี ยึดตามที่กำหนดไว้ในหลักสูตรฯ ๒๕๖๐ (อาจเพิ่มเติมสาระที่ควรรู้ได้)

แนวทางการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย สำหรับศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สังกัด อปท. ตารางวิเคราะห์สาระการ เรียนรู้

แนวทางการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย สำหรับศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สังกัด อปท. ๑๑) การจัดประสบการณ์ มีรูปแบบ แนวทางและวิธีการที่ หลากหลาย

๑๒) การจัดสภาพแวดล้อม สื่อ และ แหล่งเรียนรู้ แนวทางการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย สำหรับศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สังกัด อปท. ๑๒) การจัดสภาพแวดล้อม สื่อ และ แหล่งเรียนรู้ ด้านกายภาพ ในห้องเรียน ควรมีมุมเล่น 3-5 มุม และภายนอกห้องเรียน ด้านจิตภาพ เพื่อให้เด็กรู้สึกอบอุ่น ปลอดภัย กล้าแสดงออก และมั่นใจในตนเอง

แนวทางการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย สำหรับศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สังกัด อปท. ด้านสังคม ควรจัดทำแผนที่แหล่งเรียนรู้ทั้งภายใน ภายนอก ตลอดจนสถานที่สำคัญในชุมชนภูมิปัญญา ท้องถิ่น พร้อมทั้งอธิบายแนวทางการใช้ เพื่อ เป็นแนวทางให้ครูผู้สอน ยึดเป็นหลักปฏิบัติ

แนวทางการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย สำหรับศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สังกัด อปท. ๑๓) การประเมินพัฒนาการ เขียนแนวปฏิบัติการประเมินพัฒนาการให้ ชัดเจน - หลักการประเมิน - ขอบเขตของการประเมิน - วิธีการและเครื่องมือ ประเมิน - เกณฑ์การประเมิน และระดับ คุณภาพ

๑๔) การบริหารจัดการหลักสูตร แนวทางการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย สำหรับศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สังกัด อปท. ๑๔) การบริหารจัดการหลักสูตร - กำหนดบทบาทหน้าที่ของผู้ที่ เกี่ยวข้อง - พัฒนาผู้สอน สนับสนุนงบประมาณ และทรัพยากร - นิเทศติดตามการนำหลักสูตร สถานศึกษา สู่การปฏิบัติ - การประเมินหลักสูตร สถานศึกษา

๑๕) การเชื่อมต่อของการศึกษาระดับ ปฐมวัย แนวทางการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย สำหรับศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สังกัด อปท. ๑๕) การเชื่อมต่อของการศึกษาระดับ ปฐมวัย - กำหนดบทบาทของบุคลากรฯ ในการ สร้างรอยเชื่อมต่อ - หลีกเลี่ยงที่จะเน้นเฉพาะทักษะอ่าน เขียน เรียนเลข และเรียนรู้แบบท่องจำให้กับเด็ก ซึ่ง อาจส่งผลกระทบ ต่อพัฒนาการที่จำเป็นสำหรับ ความสำเร็จ ทางวิชาการของเด็กในอนาคต

๑๖) ภาคผนวก ๑๗) เอกสารอ้างอิง แนวทางการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย สำหรับศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สังกัด อปท. ๑๖) ภาคผนวก - คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการจัดทำ หลักสูตร ๑๗) เอกสารอ้างอิง - บรรณานุกรม

๔. ตรวจสอบหลักสูตรสถานศึกษา ปฐมวัย แนวทางการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย สำหรับศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สังกัด อปท. ๔. ตรวจสอบหลักสูตรสถานศึกษา ปฐมวัย เพื่อให้มีสารสนเทศในการปรับปรุง หลักสูตรให้มีความเหมาะสมและมีคุณภาพ โดยใช้วิธีการสอบถามความคิดเห็นหรือ เครื่องมือในการตรวจสอบจากบุคคลที่ เกี่ยวข้อง

๕. ขออนุมัติการใช้หลักสูตร สถานศึกษาปฐมวัย แนวทางการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย สำหรับศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สังกัด อปท. ๕. ขออนุมัติการใช้หลักสูตร สถานศึกษาปฐมวัย ผ่านความเห็นชอบของคณะกรรมการ บริหารศูนย์ โดยบันทึกไว้ในสมุดบันทึกการประชุม คณะกรรมการฯ ในระเบียบวาระที่ 4 เรื่องที่เสนอให้ที่ ประชุมพิจารณา

๖. ประกาศให้ใช้หลักสูตรสถานศึกษา ปฐมวัย แนวทางการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย สำหรับศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สังกัด อปท. ๖. ประกาศให้ใช้หลักสูตรสถานศึกษา ปฐมวัย เพื่อให้ผู้ที่เกี่ยวข้องรับทราบและดาเนิน การตามบทบาทหน้าที่ของตน

๗. นำหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัยไป ใช้ แนวทางการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย สำหรับศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สังกัด อปท. ๗. นำหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัยไป ใช้ - ครูผู้สอนวางแผนและออกแบบการจัด ประสบการณ์ การเรียนรู้ เพื่อพัฒนาเด็กให้บรรลุตาม มาตรฐาน คุณลักษณะที่พึงประสงค์ - ผู้บริหาร สนับสนุน ส่งเสริม นิเทศ ติดตาม และประเมินผล

แนวทางการตรวจสอบองค์ประกอบหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย ตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560 การให้ระดับคุณภาพ ระดับคุณภาพ 3 หมายถึง ครบถ้วน ถูกต้อง เหมาะสมทุกรายการ ระดับคุณภาพ 2 หมายถึง มีครบทุกรายการ แต่มีบางรายการควรปรับปรุง แก้ไข ระดับคุณภาพ ๑ หมายถึง ไม่มี หรือมีไม่ครบทุก รายการ ไม่สอดคล้อง ต้องปรับปรุงแก้ไขหรือ เพิ่มเติม

องค์ประกอบหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย ตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560 1. ปรัชญาการศึกษาปฐมวัยของ สถานศึกษา 2. วิสัยทัศน์ 3. พันธกิจ/ ภารกิจ 4. เป้าหมาย 5. จุดหมาย 6. โครงสร้างของ หลักสูตร 6.1 กำหนดสาระการ เรียนรู้รายปี 6.2 กำหนดเวลาเรียน

องค์ประกอบหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย ตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560 7. การจัดประสบการณ์ 8. การสร้างบรรยากาศการ เรียนรู้ 9. สื่อและแหล่งเรียนรู้ 10. การประเมินพัฒนาการ 11. การบริหารจัดการ หลักสูตร

การสรุปและแปลผล ช่วง คะแนน การแปล ผล 23 – 33 คะแนน ช่วง คะแนน การแปล ผล 23 – 33 คะแนน ดี/เหมาะสม/ สอดคล้อง 12 – 22 คะแนน พอใช้ /ควรปรับปรุง บางรายการ 1 – 11 คะแนน ไม่สอดคล้อง/ต้อง ปรับปรุง/แก้ไข

ข้อสังเกตการตรวจสอบหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย (การประเมินก่อนนำหลักสูตรไปใช้) ๑. ควรประเมินหลายคน คนเดียวอาจ ลำเอียง/เข้าข้างตัวเอง ๒. ควรประเมินเพื่อให้ได้ข้อมูลสารสนเทศ ที่จะ นำไปใช้ในการปรับปรุงแก้ไขหลักสูตรให้มีความ เหมาะสม มีคุณภาพ ก่อนนำเสนอเข้าที่ประชุม คณะกรรมการบริหารศูนย์ เพื่อให้ความเห็นชอบ และที่ประชุมสามารถให้ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม ก่อนให้ความเห็นชอบได้