กำหนดการประชุมเชิงปฏิบัติการ “การกำหนดทิศทาง และการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์สู่การปฏิบัติ ของสถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ 2560” วันที่ 7-9 พฤศจิกายน 2559 ณ โรงแรมกรุงศรีริเวอร์ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา โครงการพัฒนาศักยภาพห้องปฏิบัติการเครือข่ายและเฝ้าระวังเชื้อดื้อยาต้านจุลชีพ (Lab Network Capacity Building and AMR) วันทนา ปวีณกิตติพร ฝ่ายแบคทีเรียทั่วไป
โครงการพัฒนาศักยภาพห้องปฏิบัติการเครือข่ายและเฝ้าระวังเชื้อดื้อยาต้านจุลชีพ คำรับรองปฏิบัติราชการ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ ปีงบประมาณ 2560 ตัวชี้วัดที่ 1.1 ความสำเร็จของการพัฒนาระบบเฝ้าระวัง เชื้อดื้อยาต้านจุลชีพ ผู้ดำเนินการ: สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข และศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ 14 แห่ง งบประมาณ: รวมทั้งสิ้น 3,924,000 บาท (งบดำเนินการ 2,464,000 บาท, งบจัดอบรม 1,460,000 บาท)
ศูนย์เฝ้าระวังเชื้อดื้อยาต้านจุลชีพแห่งชาติ 1. ประเมินสถานการณ์เชื้อดื้อยา ในภาพรวมระดับประเทศ 2. เพื่อรวบรวมข้อมูลการดื้อยา ระดับประเทศ และเผยแพร่ ให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ศูนย์เฝ้าระวังเชื้อดื้อยาต้านจุลชีพแห่งชาติ 3. เพื่อพัฒนาห้องปฏิบัติการชันสูตร ให้มีมาตรฐานและคุณภาพเดียวกัน - ปี พ.ศ. 2548: WHO Collaborating Center for Antimicrobial Resistance Surveillance and Training 4. สนับสนุนการทดสอบความชำนาญของห้องปฏิบัติการระดับประเทศในระบบ เฝ้าระวังเชื้อแบคทีเรียดื้อยา ตามคำขอของWHO ปัญหาที่ผ่านมา 1. ความแตกต่างด้านคุณภาพของห้องปฏิบัติการเครือข่าย 2. ความครอบคลุมของข้อมูล (รพ.มหาวิทยาลัย)
วัตถุประสงค์ 1 เพื่อพัฒนาศักยภาพห้องปฏิบัติการโรงพยาบาลเครือข่าย ในการเฝ้าระวังเชื้อดื้อยาต้านจุลชีพ 2 เพื่อตรวจยืนยันเชื้อดื้อยาที่อาจเป็นเชื้ออุบัติใหม่ และได้ข้อมูลแนวโน้มการดื้อยา 3 เพื่อจัดทำ antibiogram ในระดับเขตบริการสุขภาพ ระดับ รพ.มหาวิทยาลัย และระดับประเทศ เป็นข้อมูลประกอบการ เลือกใช้ยาในการรักษา
ตัวชี้วัดผลการดำเนินงานตามคำรับรอง ระดับคะแนน การดำเนินงานในแต่ละขั้นตอน ปีงบประมาณ 2560 1 มีแผนปฏิบัติการเพื่อเฝ้าระวังเชื้อดื้อยาต้านจุลชีพประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2560 2 มีการจัดอบรมเพื่อพัฒนาศักยภาพโรงพยาบาลเครือข่ายได้ในการทดสอบ ความไวของเชื้อต่อยาปฏิชีวนะ ทั้งด้านเทคนิคและคุณภาพ
ตัวชี้วัดผลการดำเนินงานตามคำรับรอง ระดับคะแนน การดำเนินงานในแต่ละขั้นตอน ปีงบประมาณ 2560 3 - มี antibiogram ระดับประเทศรายไตรมาส 4 ฉบับ (ม.ค.-ก.ย. 2559, ม.ค.-ธ.ค. 2559, ม.ค.-มี.ค. 2560 และ ม.ค.-มิ.ย. 2560) - มี antibiogram ระดับเขตบริการสุขภาพที่ 4 และ 13 รายหกเดือน จำนวน 2 ฉบับ/เขต (ม.ค.-ธ.ค. 2559 และ ม.ค.-มิ.ย. 2560) - มี antibiogram ของเครือข่ายโรงพยาบาลกลุ่ม สถาบันการแพทย์แห่งประเทศไทย (UHOSNET) รายหกเดือน จำนวน 2 ฉบับ (ม.ค.-ธ.ค. 2559 และ ม.ค.-มิ.ย. 2560)
ตัวชี้วัดผลการดำเนินงานตามคำรับรอง ระดับคะแนน การดำเนินงานในแต่ละขั้นตอน ปีงบประมาณ 2560 4 มีการทดสอบความชำนาญให้กับห้องปฏิบัติการของโรงพยาบาลเครือข่าย อย่างน้อย 2 ครั้ง พร้อมสรุปผล 5 มีการทดสอบความชำนาญให้กับห้องปฏิบัติการของประเทศกลุ่มสมาชิกอาเซียน อย่างน้อย 1 ประเทศ พร้อมสรุปผล
แผนการปฏิบัติ/กิจกรรม แผนปฏิบัติงาน ลำดับ แผนการปฏิบัติ/กิจกรรม ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. 1 อบรมเชิงปฏิบัติการและชี้แจง รายละเอียดโครงการกับ เครือข่ายศวก. 2 ประสานกับ ศวก. เพื่อให้ รพ.ส่ง ข้อมูลผลการทดสอบ เชื้อดื้อยา 3 ประชุมคณะกรรมการ อํานวยการ/คณะทำงาน เฝ้าระวังและควบคุมเชื้อ ดื้อยาต้านจุลชีพ 4 จัดอบรมห้องปฏิบัติการ โรงพยาบาลเครือข่าย
แผนการปฏิบัติ/กิจกรรม แผนปฏิบัติงาน ลำดับ แผนการปฏิบัติ/กิจกรรม ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. 5 - จัดทํา antibiogram ระดับประเทศ ราย 3 เดือน - จัดทํา antibiogram รายหกเดือนสําหรับเขต 4 และ 13 6 ตรวจยืนยันเชื้อดื้อยาที่เป็น ปัญหาของโรงพยาบาล 7 ทดสอบความชำนาญ รพ.เครือข่าย 8 ทดสอบความชํานาญ ห้องปฏิบัติการประเทศสมาชิก อาเซียน 9 ประชุมเพื่อสรุปงานกับ เครือข่าย ศวก.
ประโยชน์ แพทย์ใช้ข้อมูลในการเลือกใช้ยารักษาได้อย่างเหมาะสม ได้ข้อมูลแนวโน้มเชื้อดื้อยาเป็นแนวทางในการกำหนดนโยบายการควบคุมการแพร่กระจาย ตรวจจับเชื้อดื้อยาอุบัติใหม่ได้ทันเหตุการณ์
ขอบคุณค่ะ
ขอบคุณค่ะ