หายนะพลังงานไทย ?.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
แนวทางการจัดทำบัญชีสมดุลผลไม้
Advertisements

ประกาศกรมธุรกิจพลังงาน เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการ คำนวณปริมาณน้ำมันเชื้อเพลิง คงเหลือสุทธิ พ. ศ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา วันที่ 6 กุมภาพันธ์ พ. ศ
บทที่ 1 การรวมธุรกิจ.
เขมกร เที่ยงทางธรรม สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ ๑ กรุงเทพฯ
การจัดสรรตำแหน่งและการ คัดเลือก เพื่อบรรจุลูกจ้างชั่วคราวเข้า รับราชการ.
ความรู้เรื่องประชาคมอาเซียน
LOGO การคำนวณต้นทุนผลผลิต ของปีงบประมาณ 2553 โดย นายธีรชาติ พันธุ์หอม หัวหน้าฝ่ายแผนงานและ งบประมาณด้านก่อสร้าง คณะทำงานต้นทุนผลผลิตสำนัก ชลประทานที่ 11.
พันธกรณีการเจรจาต่อภายใต้ความตกลง TAFTA TNZCEP และ JTEPA:
การบริหารการค้าปลีกและการค้าส่ง
ประชาคมอาเซียน.
ขยายโอกาสสร้างขีดความสามารถในการแข่งขัน
รายงานสรุปผลการปฏิบัติงาน กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 3 ประจำเดือน มีนาคม 2558.
ทัศนะเกี่ยวกับการกำหนดอัตราค่าจ้างขั้นต่ำ ประจำปี 2559
สำนักประสานและติดตามนโยบาย สำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี
ของเทศบาลตำบลหนองไผ่ อ.เมือง จ.อุดรธานี
การวิเคราะห์ข้อมูล เขตพัฒนาเศรษฐกิจ พิเศษ เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์ จังหวัด จังหวัด นราธิวาส 1.
น้ำมัน. ภาพรวมน้ำมัน น้ำมันดิบ น้ำมันสำเร็จรูป การจัดหา น้ำมันดิบ ในประเทศ นำเข้า 83% 17% ตะวันออกกลาง 56% ตะวันออกไกล 12% อื่นๆ 15% 1,015,005 บาร์เรล/วัน.
การคลังสุขภาพ การวัดประสิทธิภาพของสถานีอนามัย และเตรียมการถ่ายโอนสถานีอนามัย ให้ท้องถิ่น ดิเรก ปัทมสิริวัฒน์ คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ การประชุมสัมมนา.
แนวทางการบริหารจัดการเขต พัฒนาเศรษฐกิจพิเศษโดย สหกรณ์ นายเชิดชัย พรหมแก้ว ผู้อำนวยการกองพัฒนาสหกรณ์ภาคการเกษตร และกลุ่มเกษตรกร กรมส่งเสริมสหกรณ์ วันที่
ผลการดำเนินงาน ปีงบ ๒๕๕๘ ( ร่าง ) แผนปฏิบัติการฯ ปี งบ ๒๕๕๙ กลุ่มงานบริหารทั่วไป สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดตราด.
วิสัยทัศน์ ประเด็น ยุทธศาสตร์ สิ่งสำคัญที่ต้องทำ ให้บรรลุ เพื่อตอบสนอง วิสัยทัศน์ เป้าประสง ค์ หลัก ประสิทธิภ าพ ผลสำเร็จ สูงสุดของ องค์กรซึ่ง ประชาชน.
๕ เรื่องเด่นในร่างรัฐธรรมนูญ
แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ )
คณะกรรมการปรับปรุงยุทธศาสตร์ฯ
ไฟฟ้า.
เคมีอุตสาหกรรม 1. อุตสาหกรรมขั้นพื้นฐาน: อุตสาหกรรมปิโตรเคมี
ระบบ ISO 9001:2015 สำหรับธุรกิจบริหารจัดการเรือ
ปัจจัยแห่งความสำเร็จ
การสัมมนาวิชาการ สมาคมนักวิจัยและเพาะเห็ดหอมแห่งประเทศไทย เรื่อง เห็ดไทย ... กับการก้าวสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน วันศุกร์ที่ 11 พฤษภาคม 2555 ณ โรงแรมเอเชียแอร์พอร์ต.
ไฟฟ้า.
Design by Agri - Map สำนักงานชลประทานที่ ๘.
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ
ความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการประหยัดพลังงาน
การเร่งรัดการเบิกจ่ายงบประมาณ
แผนการขายลูกค้า SMEs พื้นที่ บน.3.1 ขบน ก.พ
กรมตรวจบัญชีสหกรณ์.
แนวทาง/เกณฑ์การประเมินโครงการฯ
1.
ข้อเสนอต่อการพัฒนา ระบบการสร้างเสริมสุขภาพ ของประเทศไทย
ณ ห้องประชุมกำธร สุวรรณกิจ
“Thailand’s Sustainable Business” ณ โรงแรมเชอราตัน แกรนด์ สุขุมวิท
แผนการตลาดสำหรับ [ชื่อผลิตภัณฑ์]
มูลค่าพลังงาน.
ดัชนีชี้วัดพลังงาน.
สถานการณ์พลังงาน ปี 2560 และแนวโน้มปี 2561.
สถานการณ์พลังงานปี 2560 และแนวโน้มปี 2561
เราคือ ‘One PPG’ We protect and beautify the world วัตถุประสงค์ของเรา
การปรับปรุงพื้นที่ทุรกันดาร 2559 นายแพทย์สงกรานต์ ไหมชุม
ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง
กฎกระทรวงสถานีบริการก๊าซปิโตรเลียมเหลว พ.ศ.....
การวิเคราะห์ข้อมูล การท่องเที่ยว เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด
ภาพรวมพลังงาน.
แนวทางการแก้ไขปัญหาก๊าซ LPG
การวิเคราะห์ข้อมูล การท่องเที่ยว เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด
ISO ย่อมาจาก International Organization for Standardization คือ องค์การมาตรฐานสากล หรือองค์การระหว่างประเทศว่าด้วยการมาตรฐาน เป็นองค์กรที่ออกมาตรฐานต่างๆ.
การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชี และข้อผิดพลาด
การจัดการความรู้ Knowledge Management
นโยบายของรัฐด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม สมุดปกขาว BCG in Action การพัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมของประเทศไทย เพื่อเศรษฐกิจชีวภาพ.
Supply Chain Management
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
กรมมีผลการปฏิบัติงานที่ดี เกษตรกรได้รับประโยชน์
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
4.2.3แผนการปฏิบัติงานประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562
โดย นายธนารัฐ สายเทพ กลุ่มงานวางแผนฯ กองการเจ้าหน้าที่ นอ
โครงการถ่ายทอดเทคโนโลยีถนนรีไซเคิลเพื่อลดขยะพลาสติกใน 4 ภูมิภาค
การประชุมผู้บริหารระดับสูง
Welcome.. ข่าวประชาสัมพันธ์ กองคลัง สาระน่ารู้
ใบสำเนางานนำเสนอ:

หายนะพลังงานไทย ?

ภาพรวมสถานการณ์พลังงานไทยและแนวโน้มในอนาคต (Thailand Energy Outlook) เป็นผู้นำเข้าพลังงานสุทธิ (net importer) - มีแนวโน้มจะเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ทรัพยากรธรรมชาติด้านพลังงานมีจำกัด มีแต่จะหมดไปและหาทดแทนได้ยากขึ้น - ก๊าซธรรมชาติอ่าวไทยมีแนวโน้มจะหมดไปในอีกไม่เกิน 15-18 ปีข้างหน้า - ควรจะใช้อย่างประหยัดและมีคุณค่ามากที่สุด เพื่อให้อนุชนรุ่นหลังมีโอกาสได้ใช้ประโยชน์บ้าง ประเทศชาติต้องสูญเสียเงินตราต่างประเทศอย่างมหาศาลในการนำเข้าพลังงาน - ปึละ 1-1.2 ล้านล้านบาท ซึ่งส่วนใหญ่เป็นการนำเข้าเพื่อการบริโภค ประสิทธิภาพในการใช้พลังงานของไทยยังไม่ดีพอ - เราบริโภคพลังงานสูงเป็นอันคับสองในกลุ่มอาเซียนรองจากอินโดนีเซีย - ทั้งๆที่เรามีจำนวนประชากรเป็นอันดับสี่ในกลุ่มอาเซียน (อินโดนีเซีย/ฟิลิปปินส์/เวียตนาม) - สัดส่วนการบริโภคพลังงานของคนไทยต่อ GDP สูงกว่าทุกประเทศในกลุ่มอาเซียน - และสูงกว่าค่าเฉลี่ยของโลก

ภาพรวมสถานการณ์พลังงานไทยและแนวโน้มในอนาคต (Thailand Energy Outlook) มีความเสี่ยงสูงในการต้องพึ่งพาพลังงานจากภายนอกประเทศมากขึ้นเรื่อยๆ - โดยเฉพาะจากประเทศเพื่อนบ้าน - ทั้งก๊าซธรรมชาติและไฟฟ้า นำเข้าก๊าซธรรมชาติเพิ่มจาก 21% ในปัจจุบันเป็น 52% ในปีพ.ศ. 2573 - เริ่มนำเข้าก๊าซธรรมชาติอัดเหลว (LNG) ตั้งแต่ปีนี้เป็นต้นไป - ในระคับ 5 ล้านตัน/ปี และเพิ่มเป็น 30.2 ล้านตัน/ปี ในปีพ.ศ. 2573 - นำเข้าก๊าซ LPG จาก 1.8 ล้านตัน/ปี เป็น 8 ล้านตัน/ปี ในปีพ.ศ. 2573 - นำเข้าไฟฟ้าจากประเทศพื่อนบ้านเพิ่มจาก 3% เป็น 21% ในปีพ.ศ. 2573 (สูงกว่า15%ในแผนPDP) - ล่าสุดรมว.พลังงานสั่งการให้ปรับแผนซื้อไฟฟ้าจากประเทศเพื่อนบ้านเพิ่ม - พม่า: จาก 1,500 MW เป็น 10,000 MW - ลาว: จาก 7,000 MW เป็น 10,000 MW - มากกว่าที่กำหนดไว้ในแผน PDP 2010 Rev.3 ที่ให้ซื้อไฟจากประเทศเพื่อนบ้าน 6,572 MW - เนื่องจากปรากฏการณ์ NIMBY

สถานการณ์พลังงานปี 2555 ประเทศไทยใช้น้ำมันเพิ่มขึ้น 4.7% ก๊าซธรรมชาติเพิ่มขึ้น 9.2% ถ่านหินนำเข้าเพิ่มขึ้น 14.6% มูลค่าการนำเข้าพลังงานรวม 1.44 ล้านล้านบาท (+16.1%) - เป็นการนำเข้าน้ำมันดิบมากที่สุด 8.6 แสนบาร์เรล/วัน - มูลค่า 1.1 ล้านล้านบาท เพิ่มขึ้น 8% - ราคาเฉลี่ยอยู่ที่ 114 $/bbl. - เพิ่มขึ้นจากปี 2554 ที่ราคาฉลี่ยอยู่ที่ 110 $/bbl.

ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับเรื่องก๊าซธรรมชาติในประเทศไทย ประเทศไทยผลิตก๊าซธรรมชาติได้เป็นอันดับที่ 24 ของโลก - คิดเป็นปริมาณเท่ากับ 1.1% ของการผลิตก๊าซทั้งโลก - ในขณะที่สหรัฐฯผลิตได้ 19.3% และรัสเซียผลิตได้ 18.4% แต่เราใช้ก๊าซธรรมชาติมากเป็นอันดับที่ 20 ของโลก และเป็นผู้นำเข้าก๊าซฯเป็นอันดับที่ 21 ของโลก ที่มา: Website ของ EIA-Energy Information Administration, กระทรวงพลังงาน สหรัฐฯ

ผลกระทบและความเสี่ยง รายจ่ายด้านพลังงานของประเทศจะขยายตัวในอัตราที่สูงกว่าการขยายตัวของรายได้ของประเทศ - ทำให้ฐานะทางเศรษฐกิจและการคลังของประเทศอ่อนแอลง - อาจขาดดุลทั้งการค้า/ดุลการชำระเงิน/และขาดดุลงบประมาณในอัตราสูง การพึ่งพาการนำเข้าพลังงานในระดับสูง ทำให้พลังงานมีราคาแพง - ค่าไฟฟ้าฐานอาจขึ้นไปถึง 5-6 บาท/หน่วยในปีพ.ศ. 2573 - จากการนำเข้า LNG และใช้พลังงานหมุนเวียนในการผลิตไฟฟ้า อุคสาหกรรมปิโตรเคมีซึ่งสร้างรายได้ให้กับประเทศจะขาดแคลนวัตถุดิบในอนาคต - ประมาณ 36 ล้านตัน (ปีพ.ศ. 2562-2573) - สูญเสียรายได้ประมาณ 2 ล้านล้านบาท - ต้องเปลี่ยนจาก Gas Base เป็น Liquid Base - ทำให้ความสามารถในการแข่งขันลดลง จนอาจต้องย้ายฐานการผลิตหรือเลิกกิจการ - มูลค่าธุรกิจภาคปิโตรเคมีต่อเศรษฐกิจไทยสูงถึง 700,000 ล้านบาทต่อปี - กระทบการส่งออกซึ่งติดอันดับ 3 ของประเทศ และการจ้างงานมากกว่า 3 แสนคน การพึ่งพาพลังงานชนิดเดียวในการผลิตไฟฟ้ามากเกินไป และพึ่งพาการนำเข้าในอัตราที่สูง - ทำให้มีความเสี่ยงต่อการที่จะเกิดไฟฟ้าดับเป็นบริเวณกว้าง (Black Out) สูงมาก การพึ่งพาประเทศเพื่อนบ้านในด้านพลังงานมากจนเกินไป - ทำให้ขาดความเป็นอิสระในการดำเนินนโยบายด้านการเมืองระหว่างประเทศ

โครงสร้างราคาน้ำมันเชื้อเพลิงในประเทศไทย มีการเก็บภาษีซ้ำซ้อนในอัตราสูงในบางผลิตภัณฑ์ - ภาษีสรรพสามิต/ภาษีเทศบาล/ภาษีมูลค่าเพิ่ม - กองทุนน้ำมันฯ/กองทุนอนุรักษ์พลังงาน - เบนซิน 95/91 เสียภาษี + กองทุน = 19-20 บาท/ลิตร ( 42-43% ของราคาขายปลีก) - แก๊สโซฮอล 95/91 เสียภาษี + กองทุน = 11-13 บาท/ลิตร ( 31-35% ของราคาขายปลีก) - ในขณะที่น้ำมันดีเซล เสียภาษี + กองทุน = 4.42 บาท/ลิตร ( 14% ของราคาขายปลีก) โครงสร้างราคาไม่เป็นธรรม - เก็บจากผู้ใช้กลุ่มหนึ่งไปอุดหนุนผู้ใช้อีกกลุ่มหนึ่ง (Cross Subsidization) โครงสร้างราคาไม่ส่งเสริมการใช้อย่างมีประสิทธิภาพเพื่อลดการนำเข้า - อุดหนุนราคาพลังงานบางชนิดจนต่ำกว่าต้นทุนที่แท้จริง (LPG) โครงสร้างภาษีสรรพสามิตน้ำมันดีเซลถูกบิดเบือน - ทำให้มีการใช้น้ำมันดีเซลเพิ่มมากขึ้น - ส่งผลเสียต่อภาวะโลกร้อน - ไม่เป็นธรรมต่อผู้ใช้น้ำมันประเภทอื่น

รัฐบาลใช้เงินจำนวนมากในการอุดหนุนราคาพลังงาน ใช้เงินกองทุนน้ำมันปี 55 ประมาณ 48,300 ล้านบาท (108,000 ล้านตั้งแต่ปี 51) - ชดเชยราคานำเข้า LPG จากต่างประเทศ ปีละ 1.4-1.7 ล้านตัน - ที่ราคาตลาดโลก 600-1,200 $/ton (910 $/ton - ก.พ. 56) - ราคาหน้าโรงแยกก๊าซ 333 $/ton - เป็นเงิน 34,600 ล้านบาท - ชดเชยราคาให้โรงกลั่นน้ำมันอีก 13,700 ล้านบาท ใช้เงินภาษีสรรพสามิตอุดหนุนราคาน้ำมันดีเซลไม่ให้เกินลิตรละ 30 บาท - สูญเสียรายได้ที่ควรเป็นงบประมาณเอาไปพัฒนาประเทศปีละ 108,000 ล้านบาท - ตั้งแต่ 21 เม.ย. ’54 รวม 1 ปี 9 เดือน เป็นเงิน 186,000 ล้านบาท - ยังไม่นับเงินกองทุนน้ำมันฯที่เอาไปอุดหนุนราคาไม่ให้เกิน 30 บาท/ลิตรก่อนหน้านี้อีก 23,000 ล้านบาท รวมเป็น 210,000 ล้านบาท รวมเป็นเงินที่ใช้อุดหนุนราคาพลังงานทั้งสิ้น 318,000 ล้านบาท ภายในระยะเวลา 5 ปี

ยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศไม่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ด้านพลังงาน นโยบายโครงสร้างพื้นฐานด้านโลจิสติกส์ไทยในช่วง 50 ปีผ่านมา - เน้นการพัฒนาระบบคมนาคมทางถนนมากจนเกินไป - ละเลยระบบขนส่งมวลชนที่ขนคนได้ในปริมาณมากๆ สะดวกและรวดเร็ว - ไม่สนับสนุนระบบขนส่งทางราง ปล่อยให้ดำเนินการอย่างไร้ประสิทธิภาพ - ไม่พัฒนาการขนส่งทางน้ำที่มีต้นทุนที่ต่ำกว่า - ไม่ส่งเสริมให้มีการขนส่งระบบท่อที่มีประสิทธิภาพสูง ลดการสูญเสีย และอุบัติเหตุ ส่งผลให้ต้นทุนด้านโลจิสติกส์ต่อ GDP ของไทยสูงถึง 15.2% - เพราะมีการขนส่งสินค้าและบริการทางถนนสูงถึง 82.6% - มีการใช้น้ำมันในภาคการขนส่งเป็นสัดส่วนสูงถึง 35% - คิดเป็นเงินถึง 7 แสนล้านบาท/ปี ความสามารถในการแข่งขันลดลงอย่างต่อเนื่อง - โดยเฉพาะด้านโครงสร้างพื้นฐานล้าหลังประเทศเพื่อนบ้าน - ไม่ว่าจะเป็นคุณภาพถนน/ระบบราง/ท่าเรือ/ท่าอากาศยาน - ล้วนแต่ล้าหลังสิงคโปร์และมาเลเซียทั้งสิ้น

ข้อเสนอเพื่อพิจารณาในการปรับโครงสร้างราคาพลังงาน ทบทวนสูตรราคาหน้าโรงกลั่นใหม่เพื่อความเหมาะสม - ระหว่าง import parity/export parity ปรับราคา LPG หน้าโรงกลั่นให้เป็นไปตามราคาในตลาดโลก ปรับโครงสร้างราคา LPG หน้าโรงแยกก๊าซให้เป็นไปตามต้นทุนที่แท้จริง ยกเลิกการอุดหนุนการนำเข้าก๊าซ LPG ปรับโครงสร้างราคาขายก๊าซ LPG ตามแผนที่กระทรวงพลังงานกำหนด กำหนดสูตรราคาซื้อขายก๊าซระหว่างธุรกิจปิโตรเคมีกับโรงแยกก๊าซให้ชัดเจนและโปร่งใส ลดภาระของกองทุนน้ำมันฯให้พ้นจากการติดลบโดยเร็วที่สุด และรักษาสถานะกองทุนให้เป็นบวกอย่างน้อย 20,000 ล้านบาทตลอดเวลา ปรับโครงสร้างภาษีสรรพสามิตน้ำมัน โดยลดการจัดเก็บในส่วนของเบนซิน/แก๊สโซฮอลและเพิ่มในส่วนของน้ำมันดีเซลเพื่อความเป็นธรรมและลดมลภาวะ

ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายเพื่อแก้ไขปัญหาพลังงาน เร่งปรับโครงสร้างราคาพลังงานทั้งระบบโดยรีบด่วนโดยเฉพาะ LPG/ดีเซล - เพื่อลดภาระเงินอุดหนุนของกองทุนน้ำมันฯ - เพิ่มรายได้ให้กับภาครัฐในส่วนของภาษีสรรพสามิตน้ำมันดีเซล - เพิ่มประสิทธิภาพในการใช้พลังงานอย่างประหยัด - ลดการนำเข้าพลังงานจากต่างประเทศ ส่งเสริมการใช้พลังงานทดแทนและพลังงานหมุนเวียนตามแผนพัฒนาพลังงานทดแทนและพลังงานทางเลือก 10 ปี (AEDP) อย่างจริงจัง ปฏิบัติการตามแผนอนุรักษ์ 20 ปี (EE) เพื่อลดการใช้พลังงานฟอสซิลลง - หันไปพัฒนาระบบขนส่งมวลชนในระบบรางที่ใช้ไฟฟ้าแทน - ส่งเสริมให้มีการผลิตและใช้รถยนต์/รถจักรยานยนต์ไฟฟ้าให้มากขื้น - โดยเฉพาะในเขตกรุงเทพปริมณฑล/ในเมืองใหญ่ๆและในเขตเทศบาล เร่งรัดการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานตามยุทธศาสตร์ Thailand 2020