การขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (ด้านสาธารณสุข)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
จุดเน้นการพัฒนางานสาธารณสุขที่สำคัญ ปีงบประมาณ 2559.
Advertisements

สรุปผลการตรวจราชการฯ รอบที่ 2 เขตสุขภาพที่ 10 อุบลราชธานี ศรีสะเกษ ยโสธร อำนาจเจริญ มุกดาหาร.
สรุปผลการตรวจราชการติดตามและประเมินผล กระทรวงสาธารณสุข คณะที่ ๑ : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัยและระบบ ควบคุมโรค ภาพรวมเขต 8 ( รอบ 2/2558) กรมอนามัย กรมสุขภาพจิต.
สรุปผลการติดตามผลการดำเนินงาน คปสอ
ระบบการกำกับ ติดตามประเมินผล กรมควบคุมโรค ปีงบประมาณ พ.ศ.2560
(P7S10P1G2) การประชุมถ่ายทอดนโยบายและตัวชี้วัดด้านสาธารณสุข
ตรวจราชการรอบที่ 2/2559 โรงพยาบาลศรีสังวาลย์ จังหวัดแม่ฮ่องสอน.
สรุปผลการประชุมคณะทำงานกำหนดแนวทาง การใช้จ่ายเงินกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ของหน่วยบริการสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข.
โดย ... ทีมนิเทศงานสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดน่าน
นโยบายการดำเนินงาน ปี 2561
รองอธิบดีกรมควบคุมโรค นายแพทย์อัษฎางค์ รวยอาจิณ
รองผู้อำนวยการฝ่ายการแพทย์ โรงพยาบาลยะลา
การประชุมพิจารณาแผนปฏิบัติการ ปี 2561 เขตสุขภาพที่ 2
สรุปผลการตรวจราชการครั้งที่ 2 คณะ 2 ปีงบประมาณ 2560
แผนการลงทุนด้านสุขภาพระยะ 5 ปี (Long Term Invesment Plan)
แนวทางการดำเนินงาน ปีงบประมาณ 2561
ยุทธศาสตร์ 20 ปี 5 ปี และปี 2561.
บริบทอำเภอเมือง ในเขตเทศบาลนครเชียงใหม่ ประชากร 131,091คน
การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ จังหวัดกาญจนบุรี
การดำเนินงานService Plan จ.กำแพงเพชร ปี 2561
แผนงาน ที่ 3 การป้องกันควบคุมโรคและลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ
การนิเทศ ติดตาม ควบคุม กำกับงานสาธารณสุข ครั้งที่ 1 ประจำปี 2561 คพสอ
แผนกลยุทธ์โรงพยาบาลบ้านโป่ง
การดำเนินงาน คณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ
ความท้าทายในการป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อ
การดำเนินงานป้องกันและ แก้ไขปัญหาโรคมะเร็ง
สรุปผลการดำเนินงาน กลุ่มงานควบคุมโรคไม่ติดต่อ สุขภาพจิตและยาเสพติด
การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ Service Plan จังหวัดเชียงใหม่
แผนงานควบคุมโรคไม่ติดต่อและปัจจัย เสี่ยง
แผนงานป้องกันและลดการตายจากบาดเจ็บทางถนน ในทศวรรษแห่งความปลอดภัยทางถนน ปีงบประมาณ 2560 กระทรวงสาธารณสุข สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค วันที่ พ.ย.
ผลการดำเนินงานตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
การบริหารงานส่งเสริมสุขภาพ และป้องกันโรคตามกลุ่มวัย
รพ.สต.ติดดาว (5 ดาว 5 ดี) สู่ประชาชนสุขภาพดี
ดร.นพ.ภานุวัฒน์ ปานเกตุ ผู้อำนวยการสำนักโรคไม่ติดต่อ
การประชุมชี้แจงการดำเนินงานป้องกัน ควบคุมโรคไม่ติดต่อและการบาดเจ็บ
สรุปผลการดำเนินงานพัฒนาระบบบริการสุขภาพ สาขาโรคไม่ติดต่อ
คณะที่ 2 พัฒนาระบบบริการ (Service plan)
สรุปผลการนิเทศ คปสอ.วิเศษชัยชาญ รอบที่ 1 ปี 2561 วันที่ 8 มกราคม 2561
สรุปผลการนิเทศ คปสอ.สามโก้ รอบที่ 1 ปี 2561 วันที่ 12 มกราคม 2561
สรุปผลการนิเทศ คปสอ.โพธิ์ทอง รอบที่ 1 ปี 2561 วันที่ 4 มกราคม 2561
รูปธรรมการขับเคลื่อน “รพ.สต.ติดดาว” จ.นครราชสีมา
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดตรัง
การส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค การคุ้มครองผู้บริโภค
สรุปผลการนิเทศ คปสอ.เมืองอ่างทอง รอบที่ 1 ปี วันที่ 11 มกราคม 2561
สรุปผลการนิเทศ คปสอ.ไชโย รอบที่ 1 ปี 2561 วันที่ 5 มกราคม 2561
กลุ่มงานควบคุมโรคไม่ติดต่อ สุขภาพจิต และยาเสพติด
ระบบการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข
(ร่าง) กรอบยุทธศาสตร์ 20 ปี กรมควบคุมโรค
ความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์และการถ่ายระดับตัวชี้วัด สู่เป้าหมายการลดโรค
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดตรัง
การบริหารและขับเคลื่อน
สรุปผลการตรวจราชการฯ กรณีปกติ รอบที่ 2/2561
การเสียชีวิตจากการบาดเจ็บ
แผนยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี(ด้านสาธารณสุข) และการตรวจราชการประจำปี ๒๕๖๐
คณะที่ 2:การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ จังหวัดเชียงใหม่
ทิศทาง นโยบาย และเป้าหมายการดำเนินงานป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ กรมควบคุมโรค ปีงบประมาณ พ.ศ นายแพทย์ภาณุมาศ ญาณเวทย์สกุล รองอธิบดีกรมควบคุมโรค.
การประชุมการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ service plan จังหวัดพิษณุโลก
ยินดีต้อนรับ นายแพทย์ธงชัย เลิศวิไลรัตนพงศ์
คณะตรวจราชการและนิเทศงาน
เขตสุขภาพที่ 10 มุกศรีโสธรเจริญราชธานี
ผลการดำเนินงานระบบการแพทย์ฉุกเฉินครบวงจรและระบบส่งต่อ
เขตสุขภาพที่ 10 สรุปผลการตรวจราชการ รอบที่ 1 ปี 61
คปสจ.เดือนสิงหาคม สิงหาคม 59.
แผนการดำเนินงาน คปสอ. (DPAC)
การพัฒนาระบบบริการจังหวัดอำนาจเจริญ
Output ที่ต้องการ (คาดหวัง) ระบบงาน หรือ มาตรฐานการดำเนินงานที่ควรมี
เป็นปัญหาสาธารณสุข อันดับ ๓ ของจังหวัด
เครือข่ายบริการ สุขภาพ อำเภอแม่ฟ้าหลวง
พระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ คณะกรรมการโรคติดต่อจังหวัดฉะเชิงเทรา
การตรวจราชการและนิเทศงาน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (ด้านสาธารณสุข) การขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (ด้านสาธารณสุข) สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด ราชบุรี

Core Value M O P H Moral (Role)Model Open mind, Opportunity Participation, Proactive Humbleness, Harmony Ratchaburi Public Health GOAL 60 : 9 Elements + People + Governance P&P Excellence Service Excellence People Excellence Governance Excellence ดูแลสตรีตั้งครรภ์ ดูแลเด็กปฐมวัย ควบคุมป้องกัน CD ดูแลควบคุม NCD ยาเสพติด อาหารปลอดภัย จัดการขยะและสิ่งแวดล้อม ดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ 8. พัฒนา Service Plan ทุติยภูมิและตติยภูมิ -One Province One Hospital พัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ -PCC และ รพสต.ติดดาว 9.องค์กรต้นแบบด้านสุขภาพ องค์กรต้นแบบด้านคุณธรรม Healthy Workplace QSC 10.พัฒนาระบบ ธรรมมาภิบาลในการบริหารจัดการ - การควบคุมภายใน - ระบบการเงินการคลัง - พัฒนาระบบข้อมูล

สตรีตั้งครรภ์และเด็กปฐมวัย Prevention & Promotion Excellence สตรีตั้งครรภ์และเด็กปฐมวัย การดำเนินงาน สภาพปัญหา Scan, X-Ray & Mapping หญิงตั้งครรภ์ พัฒนา ANC คุณภาพใน รพสต. รณรงค์พัฒนาคัดกรองอย่างมีคุณภาพทุกไตรมาส โรงเรียนปู่ย่าพัฒนาการเด็ก (กอด กิน เล่น เล่า นอน เฝ้าดูฟัน) % 60% Quick Win 3 เดือน ไม่มีมารดาตาย, ฝากครรภ์ครั้งแรก ≤ 12 สัปดาห์, 5 ครั้งตามเกณฑ์ ≥ 50% ANC คุณภาพใน รพสต. ≥ 25% คัดกรองพัฒนาการ ≥ 85 % พบพัฒนาการสงสัยล่าช้า ≥ 20% 4. ดำเนินการใน รร.ผู้สูงอายุ 3 แห่ง 20%

กลุ่มวัยทำงาน (DM HT) Prevention & Promotion Excellence เป้าหมาย 2. Coverage HbA1c ≥ 80% Control DM 40% 3. Coverage HT=90% Control 50% 4. ตรวจภาวะแทรกซ้อน ตา เท้า 60% ตรวจไต และประเมิน CVD Risk 90% สภาพปัญหา การดำเนินงาน เร่งรัดการคัดกรอง,บันทึกข้อมูลให้แล้วเสร็จในไตรมาส 1 เร่งรัดการตรวจ HbA1c ,บันทึกข้อมูลความดันโลหิตต่อเนื่อง เร่งรัดการตรวจภาวะแทรกซ้อน ตา ไต เท้า และประเมิน CVD Risk พัฒนาการตรวจจอประสาทตา โดยพยาบาล รพสต. พัฒนาคลินิก NCD คุณภาพใน รพสต. Quick Win 3 เดือน สรุปประเด็นปัญหา คัดกรอง DM HT ล่าช้า ควบคุม DM HT ไม่ได้ตามเกณฑ์ คัดกรองภาวะแทรกซ้อนและ CVD Risk ไม่ได้ตามเกณฑ์ 1.คัดกรอง DM HT 80 % 2.Coverage HbA1c ≥ 40% Control DM ≥ 40% 3.Coverage HT ≥ 40% Control HT ≥ 40% 4.ตรวจภาวะแทรกซ้อน ตา เท้า 40% ตรวจไต, ประเมิน CVD Risk 60%

โรคไข้เลือดออก Prevention & Promotion Excellence เป้าหมาย สภาพปัญหา อัตราป่วยลดลง 16% ของ median 5 ปี(54-58) อัตราป่วยตายไม่เกิน 0.12 % การดำเนินงาน อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งและ DHS มาตรการป้องกันโรคด้วย 3 เก็บ + 5 ส.ทุกวันศุกร์ เมื่อมีผู้ป่วย ทีมSRRTควบคุมโรคไม่ให้ระบาดด้วยมาตรการ 3-3-1 ทุกราย (รวมถึงวันหยุด) สุ่มสำรวจลูกน้ำอย่างเข้มข้นทุกเดือน Quick Win 3 เดือน หมู่บ้านที่มีค่า HI10 ≥ 90% รร. วัด ศพด. รพ. มีค่า CI =0 อัตราป่วยลดลงจาก median 5 ปี =16% ไม่มีผู้เสียชีวิต

โรคติดเชื้อไวรัสซิกา Prevention & Promotion Excellence โรคติดเชื้อไวรัสซิกา การดำเนินงาน สภาพปัญหา เมื่อมีผู้ป่วยต้องควบคุมโรคไม่ให้ระบาด มาตรการ 3-3-1-5-14 เปิด EOC ระดับจังหวัดและอำเภอ สำรวจและ Mapping หญิงตั้งครรภ์ ดูแลหญิงตั้งครรภ์ที่พบเชื้อ ตาม Guideline ผู้ป่วยยืนยัน (Confirmed case) ผู้ที่ติดเชื้อไม่แสดงอาการ (Asymptomatic infection) ผู้ป่วยทั่วไป หญิงตั้งครรภ์ ผู้ สัมผัส หญิงตั้ง ครรภ์ Passive case Active case 7 1 2 Quick Win 3 เดือน สำรวจหญิงตั้งครรภ์ในพื้นที่โดยสำรวจอายุครรภ์และทำMapping พื้นที่เกิดโรค หมู่บ้านมีค่า HI = 0 ภายใน 5วัน ตำบลมีค่า HI < 5 ภายใน 14 วัน อำเภอมีค่า HI < 5 ภายใน 28 วัน เป้าหมาย อัตราป่วยลดลง ≥ 10 % จากปีที่ผ่านมา ควบคุมการแพร่ระบาดให้ได้ภายใน 28 วัน

พัฒนาเครือข่ายและระบบดูแลรักษา Prevention & Promotion Excellence  โรควัณโรค การดำเนินงาน สภาพปัญหา ค้นหาผู้ป่วยวัณโรคเชิงรุกในกลุ่มเสี่ยง ดูแลกำกับการกินยาโดยวิธี DOT และในรายที่มีปัญหาให้ จนท.ไปดูแลใกล้ชิด พัฒนาคลินิกวัณโรคคุณภาพ สร้างความร่วมมือกับ อปท. เฝ้าระวังและควบคุม MDR-TB ปี 59 อัตราความสำเร็จการรักษาวัณโรค 90.77% ผู้ป่วยวัณโรคดื้อยาหลายขนาน ปี 2557 - 2559 = 24 ราย ผู้ป่วยที่มีประวัติการรักษาวัณโรคมาก่อนมีผลตรวจ DST 75.86% ค้นให้พบ จบด้วยหาย พัฒนาเครือข่ายและระบบดูแลรักษา Quick Win 3 เดือน เป้าหมาย Case finding ในกลุ่มเสี่ยง ≥ 40 % อัตราความสำเร็จในการรักษาผู้ป่วยรายใหม่ทุกประเภท ≥ 91% ผู้ป่วยที่มีประวัติการรักษาวัณโรคมาก่อนมีผลตรวจ DST ≥ 90% Case finding ในกลุ่มเสี่ยง ≥ 80 % อัตราความสำเร็จการรักษาวัณโรคทุกประเภท ≥ 91% ผู้ป่วยที่มีประวัติการรักษาวัณโรคมาก่อนมีผลตรวจ DST ≥ 90%

ยาเสพติด Prevention & Promotion Excellence การดำเนินงาน สภาพปัญหา พัฒนาบุคลากรด้านยาเสพติดใน รพ.สต/รพ./ค่ายบำบัด พัฒนาสถานพยาบาลยาเสพติด ให้มีมาตรฐาน พัฒนากระบวนการ ติดตาม ช่วยเหลือ เชื่อมโยงกับชมรมทูบีนัมเบอร์วัน พัฒนาค่ายศูนย์ขวัญแผ่นดินมาตรฐาน พัฒนาระบบข้อมูลยาเสพติด(ใหม่)คุณภาพ พัฒนางานวิชาการยาเสพติด Best Practice จังหวัดราชบุรีมีผู้เข้ารับการบำบัดมากเป็นอันดับ 7 ของประเทศ การบำบัดรักษาในทุกระบบ ประมาณ 4,000 คนต่อปี(ค่าย2,000 คน/บังคับ 2,000 คน/สมัครใจ 100คน) รพ.ผ่าน HA ยาเสพติด 5 แห่ง(50%) คุณภาพข้อมูลยาเสพติด ร้อยละ 95.41 ชมรมทูบีนัมเบอร์วัน 437 ชมรม Quick Win 3 เดือน เป้าหมาย ผู้ป่วยยาเสพติดระบบสมัครใจที่หยุดเสพต่อเนื่อง 3 เดือน หลังจำหน่ายจากการบำบัดรักษา 60% โรงพยาบาลผ่านการรับรองHA ยาเสพติด 50% คุณภาพข้อมูลยาเสพติด 90% ผู้ป่วยยาเสพติดระบบสมัครใจหยุดเสพต่อเนื่อง 3 เดือน 75% รพ.ผ่านการรับรอง HA ยาเสพติด 100% คุณภาพข้อมูลยาเสพติด 100% ชมรมทูบีนัมเบอร์วันเพิ่มขึ้น 10%

Primary Care Cluster Service Excellence เป้าหมาย สถานการณ์ รพท.บ้านโป่ง 1 cluster รพท.โพธาราม 1 cluster สถานการณ์ รพช.บางแพ 1 ทีม 1.การเข้าถึงบริการในเขตเมืองไม่เป็นไป ตามเกณฑ์ (60:40) = 46 : 54 2.สัดส่วนการรักษาผู้ป่วยเบาหวาน/ความดันโลหิต รพ. : รพสต. (50:50) =49.6 : 50.4 3.ความแออัดและระยะเวลาการรอคอยยังใช้เวลา เฉลี่ย มากกว่า 2 ชั่วโมง 50 นาที รพช.สวนผึ้ง 1 ทีม รพศ.ราชบุรี 1 cluster รพท.ดำเนินสะดวก 1 cluster การดำเนินงาน Quick Win 3 เดือน พัฒนาทีมแพทย์เวชศาสตร์ครอบครัว และทีมสหวิชาชีพ จัดทำฐานข้อมูลกลุ่มประชากรเป้าหมาย ขับเคลื่อนการพัฒนาผ่าน กลไกการมีส่วนร่วมกับทุกภาคส่วน(อปท.,รพ.,สสอ.,ภาคประชาชน) รพศ./รพท. 4 แห่ง จัดตั้ง PCC ครบตามเกณฑ์ทุกแห่ง รพช.จัดตั้งทีมหมอครอบครัวครบตามเกณฑ์ 2 แห่ง

สาขามะเร็ง Service Excellence เป้าหมาย สภาพปัญหา การดำเนินงาน พบ early stage cancer เพิ่มขึ้น Day Care Unit เปิดบริการได้ครบ 4 แห่ง Refer Out เคมีบำบัด รังสีรักษา ≤ 30% ผู้ป่วยระยะสุดท้ายได้รับการดูแลอย่างมีประสิทธิภาพ โดยทีม Palliative Care 100% ระบบการคัดกรองไม่ครอบคลุมกลุ่มเป้าหมาย Day Care Unit เปิดบริการได้ 2 แห่ง (เป้าหมาย 4 แห่ง) ระยะเวลาการรอคอยรังสีรักษาภายใน 6 สัปดาห์ ต่ำกว่าเกณฑ์(49.60%) ส่งต่อออกนอกเขต 43.49% (เป้าหมาย 30%) การดำเนินงาน Quick Win 3 เดือน ผ่าตัดและเคมีบำบัดภายใน 4 สัปดาห์ 80 % การรักษาด้วยรังสีรักษาภายใน 6 สัปดาห์ 80 % โดยเพิ่มบริการใส่แร่ เปิดบริการ Pain Clinic รพ.ราชบุรี พัฒนาศักยภาพ Palliative Care Team พบ early stage cancer เพิ่มขึ้น 10% Day Care Unit เปิดบริการได้ครบ 4 แห่ง Refer Out เคมีบำบัด รังสีรักษา ≤ 40% มีทีม Palliative Care ครบทุก รพ.

สาขาหัวใจ Service Excellence การดำเนินงาน สภาพปัญหา เพิ่มศักยภาพ PCI รพ.ราชบุรี (24 ชม.) สื่อสารความเสี่ยง และวิธีการให้การช่วยเหลือ เบื้องต้นแก่กลุ่มเสี่ยงและผู้ดูแล ผู้ป่วย STEMI ได้ยา Fibrinolytic drug และ/หรือ Primary PCI 75% อัตราตายจากผู้ป่วย STEMI 14.63% รพ.ราชบุรี ยังไม่สามารถทำ PCI ได้ตลอด 24 ชม. เป้าหมาย Quick win 3 เดือน ระบบให้คำปรึกษา/fast track มีประสิทธิภาพ ผู้ป่วย STEMI เข้าถึงบริการได้ 100% สามารถสวนหัวใจได้ใน รพ.ราชบุรี(24ชม.) ระบบให้คำปรึกษา/fast track มีประสิทธิภาพ ผู้ป่วย STEMI เข้าถึงบริการได้ 100%

One Province One Hospital Service Excellence One Province One Hospital การดำเนินงาน รพ.บ้านโป่ง S - ออร์โธฯ Unlimited Refer in Auto Refer Back ประชุมจัดแบ่ง Zone รพศ./รพท. รับผิดชอบ รพช. ใน 5 สาขาหลักและ สาขาตา รพ.โพธาราม M1 - จักษุ รพ.ดำเนินสะดวก M1 - ศัลยกรรม รพ.ราชบุรี A Quick Win 3 เดือน ไม่มีการปฏิเสธการรับผู้ป่วย Refer in, Refer back ค่า CMI เพิ่มขึ้นใน รพ. S, M1 สภาพปัญหา รพ.ราชบุรี(A)ภาระงานมาก/ขาดแคลนบุคคลากร รพท.และรพช.อัตราครองเตียงต่ำ CMI ต่ำกว่าเกณฑ์ CMI เป้าหมาย กระจายการดูแลผู้ป่วย (Sharing Workload) เพิ่มประสิทธิภาพการดูแลผู้ป่วย เพิ่ม RW, CMI

การป้องกันอันตรายจากอุบัติเหตุทางถนน(EMS) Service Excellence การป้องกันอันตรายจากอุบัติเหตุทางถนน(EMS) การดำเนินงาน การจัดการข้อมูล: บูรณาการข้อมูล 3 ฐาน/สอบสวนสาเหตุการตาย/อุบัติเหตุหมู่ การป้องกัน: ชี้เป้าจุดเสี่ยงเสนอ ศปถ.จังหวัด/อำเภอ /DHS/อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็ง มีมาตรการองค์กร การรักษา: ทุกรพ.พัฒนา ECS การบริหารจัดการ: รพศ./รพท.ตั้งTEA UNIT/EOC RTI สภาพปัญหา อัตราตายจากอุบัติเหตุทางถนนมีเพิ่มขึ้น ประชาชนป้องกันอุบัติเหตุไม่ดีพอ การบังคับใช้กฎหมายยังไม่เข้มงวด การบูรณาการหน่วยงานเกี่ยวข้องยังไม่ดี อปท.ไม่พร้อมตั้งหน่วยกู้ชีพ (มี FR 33%) คุณภาพ ECS ต้องพัฒนาต่อเนื่อง Quick win 3 เดือน บูรณาการข้อมูล 3 ฐานให้เป็นรูปธรรม กำหนดจุดเสี่ยงอำเภอละ 3 จุด มีมาตรการองค์กร/ติด GPS รถพยาบาลทุกคัน พัฒนา ECS ทุกรพ. (response time 10 นาที 70%) รพศ/รพท มีความก้าวหน้าในการจัดตั้ง TEA UNIT /EOC RTI เป้าหมาย อัตราเสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนน ≤ 14 ต่อแสน ปชก.

องค์กรสุขภาพ People Excellence การดำเนินงาน สภาพปัญหา เป้าหมาย สำรวจภาวะสุขภาพ ภาวะเครียด และดัชนีชี้วัดความสุข ของบุคลากรสาธารณสุข ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม /DPAC/วิถีพุทธ/อื่นๆ อบรม Mindfulness In Organization(MIO) นโยบาย Healthy Break, No Foam ทุกการประชุม อบรม สภาพปัญหา การเจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรัง เบาหวาน ความดัน มะเร็งของบุคลกรสาธารณสุข ความเสี่ยงในการบริโภคอาหารรสจัด หวานมันเค็ม การบริโภคอาหารจากภาชนะที่ใช้โฟม ความเสี่ยงต่อภาวะเครียด Quick Win 3 เดือน เป้าหมาย ทุกหน่วยงานดำเนินการ สำรวจภาวะสุขภาพ ภาวะเครียด และดัชนีชี้วัดความสุข ของบุคลากรสาธารณสุข ≥ 50% ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในกลุ่มที่มีปัญหาสุขภาพ ≥ 50% ดำเนินการ Healthy Break, No Foam ทุกการประชุม อบรม 100% หน่วยงานในสังกัดสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดราชบุรีดำเนินการให้เป็นองค์กรต้นแบบด้านสุขภาพ 100%

การบริหารจัดการด้านการเงินการคลังสุขภาพ Governance Excellence การบริหารจัดการด้านการเงินการคลังสุขภาพ เป้าหมาย โรงพยาบาลไม่ประสบปัญหาวิกฤติการเงินการคลัง ระบบบัญชีของโรงพยาบาล และ รพ.สต. ถูกต้องเชื่อถือได้ ระบบควบคุมภายในถูกต้อง ลดค่าใช้จ่าย การดำเนินงาน ควบคุมการใช้จ่าย Planfin บริหารร่วม คปสอ. CUP Finance รพ.ที่มีปัญหาสภาพคล่องทำแผนปรับปรุง พัฒนาระบบบัญชี ทั้งในระดับโรงพยาบาลและ รพ.สต. โดยการอบรมและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ อบรม พัฒนาการควบคุมภายใน สภาพปัญหา โรงพยาบาลประสบปัญหาวิกฤติการเงินการคลัง อย่างต่อเนื่อง ระบบบัญชีของโรงพยาบาล และ รพ.สต. มีความคลาดเคลื่อน ระบบควบคุมภายใน ไม่สมบูรณ์ Quick Win 3 เดือน รพ.ติดวิกฤติด้านการเงินการคลังระดับ 7 ลดลงอย่างน้อย 1 แห่ง (จาก 2 แห่ง) รพ.สต.ได้รับ ค่าใช้จ่ายคงที่ (Fix cost) 100% ทุกเดือน

จะเปลี่ยนน้ำตาเป็นพลัง จะทำงานเพื่อประโยชน์ส่วนรวม เพื่อพ่ออย่างเต็มที่ ข้าพระพุทธเจ้า สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดราชบุรี