งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

สรุปผลการประชุมคณะทำงานกำหนดแนวทาง การใช้จ่ายเงินกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ของหน่วยบริการสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "สรุปผลการประชุมคณะทำงานกำหนดแนวทาง การใช้จ่ายเงินกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ของหน่วยบริการสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 สรุปผลการประชุมคณะทำงานกำหนดแนวทาง การใช้จ่ายเงินกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ของหน่วยบริการสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ระดับเขต (5x5) ครั้งที่ 6/2560 วันที่ 25 พฤษภาคม 2560 ณ ห้องประชุม 2210 ชั้น 2 ตึกอุบัติเหตุฉุกเฉิน รพศ.หาดใหญ่ อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา

2 กลไกการกำกับติดตามและตรวจสอบการใช้เงินกองทุน UC
๑.กำหนดให้มีกลไกการกำกับ ติดตามและตรวจสอบการใช้จ่าย เงินกองทุน UC กลไก กสธ. ๑) ส่วนกลาง ทีมตรวจสอบกลุ่มตรวจสอบภายใน สป. สุ่ม ตรวจสอบภายในประจำปี ๒๕๖๐ (มิย.-กย.๖๐) ๒) ส่วนภูมิภาค ทีมภาคีเครือข่ายการตรวจสอบภายในระดับ จังหวัด สปสธ. กำหนดกิจกรรมการตรวจสอบ ด้านการใช้จ่ายเงิน UC เข้าในแผนการตรวจสอบ ภายในประจำปี ๒๕๖๐ กลไก สปสช. ๑) ส่วนกลาง ทีมตรวจสอบของสำนักตรวจสอบ เริ่มตรวจสอบ มิย.๖๐ ๒) ระดับจังหวัด (สปสช.เขต + สสจ. + หน่วยบริการ) เริ่ม ตรวจสอบ เดือน มิย.๖๐ เป้าหมาย สปสช.เขต ละ ๑ จังหวัด,หน่วยบริการ ๒ แห่งต่อจังหวัด ๒.พัฒนาทีมที่ใช้กำกับติดตาม

3 สรุปผลการดำเนินงานงบค่าเสื่อม ปี 2560 ข้อมูล ณ วันที่ 23 พ.ค. 60
สรุปผลการดำเนินงานงบค่าเสื่อม ปี ข้อมูล ณ วันที่ 23 พ.ค. 60 จังหวัด งบตั้งต้น ยังไม่บันทึก ยังไม่ดำเนินการ กำลังดำเนินการ ทำสัญญาแล้ว ตรวจรับแล้ว เหลือจ่าย สงขลา 152,874,085.54 12,156,287.53 29,410,244.85 103,034,700.06 5,693,501.98 2,385,375.00 193,976.12 สตูล 29,341,131.94 - 5,272,130.98 23,748,200.96 121,100.00 193,600.00 6,100.00 ตรัง 65,608,293.18 38,348,692.20 4,639,348.53 21,152,304.45 636,000.00 831,948.00 พัทลุง 45,682,079.84 288,000.00 12,000.00 18,019,322.87 5,419,026.06 21,040,612.41 903,118.50 ปัตตานี 64,295,700.22 8,637,189.41 16,264,696.43 35,756,145.24 3,632,659.14 5,010.00 ยะลา 53,741,355.11 1,054,558.29 990,000.00 39,752,647.50 5,512,131.75 6,013,933.16 418,084.41 นราธิวาส 75,826,121.02 24,463,243.32 12,513,795.68 36,440,452.36 1,863,329.66 518,600.00 26,700.00 รวม 487,368,766.85 84,947,970.75 69,102,216.47 277,903,773.44 19,245,089.45 34,616,727.71 1,552,989.03

4 แผนการติดตามการดำเนินงานระดับพื้นที่
เร่งรัดติดตามให้แล้วเสร็จ ภายในเดือน มิถุนายน 2560 หลักเกณฑ์ 1. ตรวจสอบความครบถ้วน ถูกต้องของแผน 2. ติดตามการดำเนินงาน (การจัดซื้อ จัดหา ตรวจสอบเอกสาร ) 3. การบันทึกข้อมูล ในระบบโปรแกรม 4. บูรณาการการกำกับติดตามร่วมในการตรวจราชการ

5 อัตราจ่าย (Base Rate) รายเดือน เขต12 งบ IP ปีงบฯ 60
<- BR01 <- BR02 หมายเหตุ BR01 คือ อัตราจ่ายทุกสังกัดรายเดือน BR02 คือ อัตราเฉลี่ยหลังปรับค่า K รายเดือน เฉพาะสังกัด สป.สธ.

6 การจ่ายชดเชยกรณีรับส่งต่อผู้ป่วยนอกข้ามจังหวัด (OP Refer)

7 ผลการหารือแนวทางและพิจารณาอัตราการเรียกเก็บชดเชยค่าบริการทางการแพทย์ระหว่าง รพ.ในสังกัด สป.เขตสุขภาพที่ 12 กับรพ.มอ. ข้อเสนอเพื่อพิจารณาร่วม รพ.มอ.นำข้อเสนอการขอรับอัตราการเรียกเก็บชดเชยค่าบริการ ตามราคาที่กรมบัญชีกลางกำหนด เสนอคณะกรรมการบริหารโรงพยาบาลฯ พิจารณาในโอกาสต่อไป ขอความร่วมมือโรงพยาบาลต้นสังกัด ร่วมจ่าย ให้ รพ.มอ.กรณีผู้ป่วยมีความจำเป็นต้องใช้ยานอกบัญชียาหลักและอุปกรณ์ที่มีค่าใช้จ่ายสูง (ทั้งนี้การใช้ยานอกบัญชียาหลักและอุปกรณ์ที่จำเป็นแก่ผู้ป่วยนั้น เป็นไปตามความจำเป็นทุกราย เพราะผ่านการพิจารณาจากคณะกรรมการฯ ที่เกี่ยวข้อง) 3. เสนอให้ สปสช.พิจารณาปรับรายการอุปกรณ์ทางการแพทย์ กรณีเกินสิทธิเพิ่มเติมเพื่อให้ประชาชน ได้รับการดูแลตามความจำเป็น 4. เสนอให้ สปสช.พิจารณาปรับอัตราการจ่ายชดเชยค่าบริการทางการแพทย์ให้สอดคล้องกับค่าใช้จ่ายจริง

8 โอกาสพัฒนา 1. การเชื่อมโยง/ส่งคืนข้อมูลการให้บริการและแผนการรักษาต่อเนื่อง 2. การเพิ่มศักยภาพในการดูแลผู้ป่วยของ รพ.ในสังกัด สป.สธ.เพื่อลดการส่งต่อและภาระหนี้การตามจ่าย 3. การพัฒนาระบบการดูแลผู้ป่วยส่งกลับ (Refer back) ระหว่าง รพ.รับส่งต่อและ รพ. ต้นสังกัด

9 ค่ารักษาค้างชำระ (บาท)
การค้างจ่ายหนี้ รพ.มอ. กรณี OP Refer ก่อน ๓๑ มีนาคม ๒๕๕๔ มีหน่วยบริการในเขตสุขภาพที่ ๑๒ ยังคงค้างหนี้ค่าบริการทางการแพทย์ผู้ป่วยนอกสิทธิ UC ดังนี้ ต้นสังกัด ค่ารักษาค้างชำระ (บาท) รพ.สตูล 1,200 รพ.สงขลา 3,107 สสจ.ยะลา 64,590 รพ.ยะลา 119,221 สนง.เทศบาลเมืองบ้านพรุ 127,124 รพ.เบตง จ.ยะลา 325,025 สสจ.นราธิวาส 2,624,266 สสจ.สตูล 28,773,946 รวม 32,038,479

10 การกำกับติดตามแผนการเงิน PlanFin
การเฝ้าระวัง กำกับสถานการณ์การเงินการคลัง เขตสุขภาพที่ 12 รายงานความเสี่ยงทางการเงิน (ข้อมูล ณ 30 เม.ย.2560) การกำกับติดตามแผนการเงิน PlanFin (ข้อมูล ณ 9 พ.ค.2560) การกำกับ ติดตามการจัดสรรงบ IP (ข้อมูล ณ 30 เม.ย.2560)

11 พื้นที่ต้องเฝ้าระวังความเสี่ยงการเงิน
30 เม.ย. 60 ID Province Org CR QR Cash NWC NI+Depreciation Liquid Index StatusIndex SurviveIndex Risk Scoring 1 ตรัง นาโยง,รพช. 0.97 0.90 0.66 -1,331,838.96 6,590,207.81 3 4 2 พัทลุง เขาชัยสน,รพช. 0.67 0.58 0.45 -6,109,497.02 4,604,894.80 6 ป่าบอน,รพช. 0.94 0.86 0.75 -1,092,103.12 10,257,995.66 สงขลา หาดใหญ่,รพศ. 1.22 1.09 150,327,840.49 -58,807,849.21 5 สทิงพระ,รพช. 0.84 0.72 0.61 -3,968,813.08 5,705,855.92 ระโนด,รพช. 0.87 0.62 -1,005,768.90 -1,352,148.81 7 สิงหนคร,รพช. 0.68 0.56 -7,698,594.30 4,247,148.74 8 สตูล มะนัง,รพช. 1.00 0.74 75,897.86 6,419,549.45

12 การขับเคลื่อนระบบการเงินการคลังในครึ่งปีหลัง
ประเด็น แนวทางและเป้าหมาย 1. ปรับเพิ่มประสิทธิภาพบริหารจัดการ 1.1 ระบบงานหลัก 1.2 เพิ่มรายรับ 1.3 ลดรายจ่าย : 5 เรื่อง (แผนการเงิน,บัญชีการเงิน,จัดเก็บรายได้, ควบคุมรายจ่ายและพัสดุ) มี 10 เป้าหมาย : ห้องพิเศษ, คลินิกพิเศษนอกเวลาราชการ. รพ.ประชารัฐ, อัตราค่ารักษาพยาบาล : ค่าสาธารณูปโภค, ลดโรค NCD, เปิดคลินิกหมอครอบครัว PCC 2. เครื่องมือในการบริหารจัดการ : 4 แนวทาง 10 เครื่องมือในการพัฒนาประสิทธิภาพ : กรอบแนวทางการจัดบริการเพิ่มพิเศษสำหรับประชาชน Convenient HealthCare 3. ระดับความเสี่ยงวิกฤติการเงิน Risk7 ไม่มี / ถ้ามีน้อยที่สุด เป็นโอกาสในการพัฒนา 4. โมเดลโรงพยาบาลประชารัฐ Public - Private – People Hospital ใช้โมเดล “ รัฐ- เอกชน –ประชาชน ” ขับเคลื่อน ร่วมรับผิดชอบสุขภาพในชุมชน : ลดการพึ่งพางบประมาณ : เพิ่มคุณภาพบริการ : เพิ่มการมีส่วนร่วมภาคประชาชน/ชุมชน 5. เป็น Smart Hospital Service, Market, Account/Audit Revenue/Resource and Tecnology สร้าง Bright Spot นำเสนอผลงาน โรงพยาบาลที่เคยขาดทุนแต่สามารถบริหารจัดการให้เกิดความสมดุลได้ ในเวที Bright Spot Forum เพื่อสร้างโรงพยาบาลต้นแบบในทุกเขตสุขภาพและขยายผลความสำเร็จตาม Small Success(Quick Win) 3Q60 (>12 แห่ง) ,4Q60 (>24 แห่ง) Process Tool Finance Drive Out Come

13 Investment ต่อ รายจ่าย:เดือน
ตารางการปรับ PlanFin เพื่อบริหารความเสี่ยงจาก PlanFin Analysis เขต 12 ณ 8 พ.ค.60 PlanFin แบบ EBITDA บวก=Normal ลบ = Risk % Investment ต่อ EBITDA <20% Normal >20% Risk สัดส่วน NWC เหลือหลัง Investment ต่อ รายจ่าย:เดือน < 1 = Risk > 1 = Normal จำนวน (แห่ง) 1 Normal 42 2 Risk 21 3 13 4 5 6 7 8

14 Planfin Analysis เขตสุขภาพที่ 12 (ณ 8 พ.ค.60)
จังหวัด แบบ 1 แบบ 2 แบบ 3 แบบ 4 รวม สงขลา 8 6 1 2 17 พัทลุง 3 7 11 ตรัง 4 10 สตูล 5 ปัตตานี 12 ยะลา นราธิวาส 13 42 21 78 1.รพศ.หาดใหญ่ 2.รพ.ระโนด

15 รายงานรายรับ งบ IP 5910-6003 (ต. ค. 59-มี. ค
50.00 รายรับงบ IP รวม 6 เดือนเทียบประมาณการต้นปีควรได้รับจัดสรร ร้อยละ 50

16 รายรับ IP 6 เดือน (ต.ค.59-มี.ค.60 ) ต่ำกว่าประมาณการทั้งปี
รพ. ร้อยละ สะเดา 48.19 หาดใหญ่ 42.47 มะนัง 34.36 กาบัง 47.55 พัทลุง 41.96 นาโยง 34.10 ยี่งอฯ 47.36 หนองจิก 41.13 สงขลา 32.95 กันตัง 46.40 ป่าบอน 40.77 ตะโหมด 32.21 วังวิเศษ 45.81 ปะนาเระ 39.66 ควนกาหลง 32.17 ปากพะยูน 45.48 ย่านตาขาว 39.16 สุไหงปาดี 30.41 จะแนะ 45.09 สิเกา 38.78 กระแสสินธุ์ 28.25 ธารโต 44.78 ตรัง 37.66 สุคิริน 25.00 บางกล่ำ 43.75 ทุ่งยางแดง 37.47 ควนโดน 20.16 สุไหงโก-ลก 43.24 บางแก้ว 36.64 ทุ่งหว้า 17.62 รัษฎา 42.80 ปาดังเบซาร์ 35.09 รวม 32 แห่ง จากทั้งหมด 78

17 รายงานรายรับ งบ OP PP IP ไตรมาส 2 ( ณ 30 เมย
88.67 84.08 77.85 สิ้นปีหน่วยบริการต้องได้รายรับไม่น้อยกว่าร้อยละ 85 ของประมาณการปี 60

18 แผนการตรวจสอบคุณภาพบัญชีหน่วยบริการภายในเขตสุขภาพที่ 12
ลำดับ วัน เดือน ปี จังหวัด 1 25-26 พฤษภาคม 2560 ตรัง 2 30-31 พฤษภาคม 2560 พัทลุง 3 1-2 มิถุนายน 2560 สงขลา 4 5-6 มิถุนายน 2560 สตูล 5 12-13 มิถุนายน 2560 นราธิวาส 6 19-20 มิถุนายน 2560 ปัตตานี 7 26-27 มิถุนายน 2560 ยะลา

19 หลักเกณฑ์การจ่ายค่าใช้จ่ายเพิ่มเติมสำหรับพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ (HS)
การจ่ายค่าใช้จ่ายเพิ่มเติมสำหรับพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ (HS) การจ่ายค่าใช้จ่ายเพิ่มเติมสำหรับพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ (HS) การจ่ายค่าใช้จ่ายเพิ่มเติมสำหรับพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ (HS) -ร่าง- การปรับเกลี่ยค่าใช้จ่าย เพิ่มเติมสำหรับพื้นที่จังหวัด ชายแดนภาคใต้ (HS)

20 หลักเกณฑ์การจ่ายค่าใช้จ่ายเพิ่มเติมสำหรับพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ (HS)
จัดสรรให้กับหน่วยบริการในพื้นที่ที่มีพยาบาลตามโครงการผลิตพยาบาลวิชาชีพ จำนวน 3,000 อัตราปฏิบัติงานอยู่จริง (เฉพาะเขต 12) หลักเกณฑ์การจ่ายค่าใช้จ่าย ให้คำนึงถึงจำนวนพยาบาล 3,000 อัตราเป็นหลัก และ พิจารณาสถานะทางการเงินของหน่วยบริการประกอบการจัดสรร ให้คณะทำงานร่วมระดับเขต 5x5 ดำเนินการจัดสรร โดยเสนอ อปสข. ทราบ และดำเนินการให้แล้วเสร็จภายในวันที่ 26 พฤษภาคม 2560

21 การประมาณการจัดสรรงบ Hardship
รายการ จำนวนเงิน (บาท) งบ Hardship ทั้งหมด 1,490,288,000 1) จัดสรรให้พื้นที่กันดาร พื้นที่เสี่ยงภัย 866,013,000 1.1 จัดสรรตามประกาศพื้นที่ 847,500,000 1.2 จัดสรรเพิ่มให้ รพท.ศรีสังวาลย์ และ รพช.อุ้มผาง 18,513,000 2) จัดสรรให้พื้นที่ชายแดนภาคใต้ 624,275,000 รวมจัดสรรตามเกณฑ์ 1,490,287,500 หมายเหตุ จัดสรรตามเกณฑ์พื้นที่ ให้พื้นที่เฉพาะ และพื้นที่ยากลำบาก ตามประกาศ ฉ.11 1.2 จัดสรรเพิ่มให้ รพท.ศรีสังวาล และ รพช.อุ้มผาง 1.3 ไม่ได้จัดสรรให้ในกลุ่มประชากรเบาบางเนื่องจากจะพิจารณาช่วยเหลือจาก Step Ladder

22 ร่าง การปรับเกลี่ยงบ HS (จัดสรรตามสัดส่วนวงเงิน)
ลำดับ จังหวัด จำนวน (คน) วงเงินจัดสรร HS พยาบาล 3,000 อัตรา ปี 2560 หลังปรับเกลี่ย ปี 2561 ก่อนปรับเกลี่ย หลังปรับเกลี่ย 1 สงขลา 272 58,352,326.68 71,433,120.00 56,960,658.60 2 สตูล 162 33,576,522.45 42,232,440.00 33,676,081.86 3 ปัตตานี 927 197,812,600.85 247,963,200.00 197,725,469.38 4 ยะลา 569 122,661,226.31 155,896,626.00 124,311,726.70 5 นราธิวาส 955 211,872,323.71 265,364,280.00 211,601,063.46 รวม 2,885 624,275,000.00 782,889,666.00 แนวทาง 1. มอบ CFO จังหวัด ปรับเกลี่ย เป็นราย CUP 2. ส่ง CFO เขต ภายในวันที่ 25 พ.ค. 60


ดาวน์โหลด ppt สรุปผลการประชุมคณะทำงานกำหนดแนวทาง การใช้จ่ายเงินกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ของหน่วยบริการสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google