ประชุมร่วมแลกเปลี่ยนถ่ายทอดนโยบายทิศทางการทำงานงาน NCDs

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การพยากรณ์โรคความดันโลหิตสูง
Advertisements

แนวทาง การดำเนินงาน องค์กรหัวใจดี แนวทาง แพทย์หญิงจุรีพร คงประเสริฐ 24 ธ.ค
สรุปผลการติดตามผลการดำเนินงาน คปสอ
ระบบการกำกับ ติดตามประเมินผล กรมควบคุมโรค ปีงบประมาณ พ.ศ.2560
การป้องกันและควบคุมโรคไม่ติดต่อ
ชุมชนกับการลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
โดย ... ทีมนิเทศงานสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดน่าน
นางวนิดา สมภูงา หัวหน้ากลุ่มงานควบคุมโรคไม่ติดต่อ สุขภาพจิตและยาเสพติด
รองอธิบดีกรมควบคุมโรค นายแพทย์อัษฎางค์ รวยอาจิณ
โครงการสนับสนุนและพัฒนาเครือข่ายระบบสุขภาพอำเภอ (District Health System) เขตเมืองและเขตชนบท ใน 7 จังหวัดภาคใต้ตอนล่าง ดร.นพ.วรสิทธิ์ ศรศรีวิชัย เลขาธิการ.
สรุปผลการตรวจราชการครั้งที่ 2 คณะ 2 ปีงบประมาณ 2560
แผนการลงทุนด้านสุขภาพระยะ 5 ปี (Long Term Invesment Plan)
แนวทางการดำเนินงาน ปีงบประมาณ 2561
แผนงานสนับสนุนระบบบริการโรคเรื้อรังฯ
ประเด็นนำเสนอ(DM/HT,Stroke,CPOD)
ครั้งที่ 8/2560 สรุปผลการประชุม คณะอนุกรรมการด้านบริการ
การดำเนินงานService Plan จ.กำแพงเพชร ปี 2561
CLT วัยทำงานและผู้สูงอายุ
แผนการดำเนินงาน Highlight ปี 2559
แผนงาน ที่ 3 การป้องกันควบคุมโรคและลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ
การนิเทศ ติดตาม ควบคุม กำกับงานสาธารณสุข ครั้งที่ 1 ประจำปี 2561 คพสอ
ความท้าทายในการป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อ
การดำเนินงานป้องกันและ แก้ไขปัญหาโรคมะเร็ง
สรุปผลการดำเนินงาน กลุ่มงานควบคุมโรคไม่ติดต่อ สุขภาพจิตและยาเสพติด
แผนงานควบคุมโรคไม่ติดต่อและปัจจัย เสี่ยง
Service Plan สาขาโรคหัวใจ โรงพยาบาลพุทธชินราช พิษณุโลก
ดร.นพ.ภานุวัฒน์ ปานเกตุ ผู้อำนวยการสำนักโรคไม่ติดต่อ
การประชุมชี้แจงการดำเนินงานป้องกัน ควบคุมโรคไม่ติดต่อและการบาดเจ็บ
สรุปผลการดำเนินงานพัฒนาระบบบริการสุขภาพ สาขาโรคไม่ติดต่อ
ผลการดำเนินงาน ปีงบประมาณ 2560
คณะที่ 2 พัฒนาระบบบริการ (Service plan)
สรุปผลการนิเทศ คปสอ.วิเศษชัยชาญ รอบที่ 1 ปี 2561 วันที่ 8 มกราคม 2561
สรุปผลการติดตามผลการดำเนินงาน คปสอ
กลุ่มวัยทำงาน เขตสุขภาพที่ 5 28 ตุลาคม 2558
สรุปผลการนิเทศ คปสอ.สามโก้ รอบที่ 1 ปี 2561 วันที่ 12 มกราคม 2561
ประเด็นยุทธศาสตร์ : การสร้างระบบสุขภาพเพื่อประชาชนที่ทุกคนเป็นเจ้าของ
สรุปผลการนิเทศ คปสอ.โพธิ์ทอง รอบที่ 1 ปี 2561 วันที่ 4 มกราคม 2561
รูปธรรมการขับเคลื่อน “รพ.สต.ติดดาว” จ.นครราชสีมา
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดตรัง
สรุปผลการนิเทศ คปสอ.เมืองอ่างทอง รอบที่ 1 ปี วันที่ 11 มกราคม 2561
กุลพร สุขุมาลตระกูล นักโภชนาการชำนาญการพิเศษ
สรุปผลการนิเทศ คปสอ.ไชโย รอบที่ 1 ปี 2561 วันที่ 5 มกราคม 2561
กลุ่มงานควบคุมโรคไม่ติดต่อ สุขภาพจิต และยาเสพติด
สรุปผลการติดตามผลการดำเนินงาน คปสอ
คลินิกไร้พุง ( DPAC) คุณภาพ พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
(ร่าง) กรอบยุทธศาสตร์ 20 ปี กรมควบคุมโรค
ความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์และการถ่ายระดับตัวชี้วัด สู่เป้าหมายการลดโรค
การพัฒนาระบบการดูแลผู้สูงอายุระยะยาวอำเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี
โครงการส่งเสริมสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุ ชุมชนบ้านทุ่งโหลง อ. เมือง จ
กรมควบคุมโรค 59 นพ.อำนวย กาจีนะ รก.อธิบดีกรมควบคุมโรค 15 ต.ค. 58.
การขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (ด้านสาธารณสุข)
สิ่งที่พูดถึง การดำเนินงานกลุ่มวัยทำงาน DM HT DPAC องค์กรไร้พุง
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดตรัง
ตัวชี้วัด (KPI EPI Template))
การบริหารและขับเคลื่อน
HDC Ncd PLus ธันวาคม 2560.
การประเมิน RF 4.1 โรคไม่ติดต่อรอบ 2
ทิศทาง นโยบาย และเป้าหมายการดำเนินงานป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ กรมควบคุมโรค ปีงบประมาณ พ.ศ นายแพทย์ภาณุมาศ ญาณเวทย์สกุล รองอธิบดีกรมควบคุมโรค.
นโยบายการดำเนินงานป้องกันการบาดเจ็บ จากการจราจรในเมืองใหญ่ (City RTI)
ชี้แจงตัวชี้วัด/โครงการNCD ปี 2561
ประเด็น ที่ 2 ผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิต.
สถานการณ์โรคเรื้อรัง
นโยบาย การป้องกัน ควบคุมโรคไม่ติดต่อและการบาดเจ็บ
เขตสุขภาพที่ 10 มุกศรีโสธรเจริญราชธานี
การดำเนินงานทันตสาธารณสุข ปีงบประมาณ 2561
เขตสุขภาพที่ 10 สรุปผลการตรวจราชการ รอบที่ 1 ปี 61
สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควมคุมโรค
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล บ้านบัวงาม อ.ดำเนินสะดวก จ.ราชบุรี
เป็นปัญหาสาธารณสุข อันดับ ๓ ของจังหวัด
ประเด็น ที่ 2 ผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมได้
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ประชุมร่วมแลกเปลี่ยนถ่ายทอดนโยบายทิศทางการทำงานงาน NCDs 6 มกราคม 2560

ประเด็นงาน 6 มค.60 นโยบาย ทิศงานการดำเนินงานเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อปี 2560 แนวทาง การจัดการงบประมาณกองทุนโรคเรื้อรัง ปี 2560 ประชุมการดำเนินงาน Early recognization Early Prevention เท้าเบาหวาน ประชุมการบริการจัดการ แบ่งสายการใช้เครื่อง Fundus Camera

นโยบาย การดำเนินงานเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคไม่ติดต่อ ปี 2560 สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค กรมการแพทย์

กรอบเป้าหมายโรคไม่ติดต่อระดับโลก 9 เป้าหมาย ปี พ.ศ.2568 (ค.ศ. 2025) ลดตายก่อนวัยอันควรจากโรค NCDs 25% ลดการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ 10% ยาและเทคโนโลยีที่จำเป็นครอบคลุม 80% ลดการขาดกิจกรรม ทางกาย 10% ผู้ที่เสี่ยงสูงต่อ CVD ได้รับยาและคำปรึกษา 50% ลดการบริโภคเกลือ/โซเดียม 30% ภาวะเบาหวาน/โรคอ้วนไม่เพิ่ม 0% ลดการบริโภคยาสูบ 30% ลดภาวะความดันโลหิตสูง 25% National Health Assembly , working group

NCD prevention &control Social Determinants of Health 4 x 4 x 4 models for WHO/UN NCD prevention &control 4 Diseases CVD DM Cancer Chronic Resp. Raised blood pressure Overweight/obesity Raised blood glucose Raised lipids Tobacco use Unhealthy diet Physical inactivity Harmful use of alcohol Globalization Urbanization Population ageing 4 Biological changes Underlying drivers 4 Behavioural risks Social Determinants of Health

เป้าหมายการดำเนินงานโรคไม่ติดต่อ ปี 2560 เป้าหมาย ตายก่อนวัยอันควรจาก NCDs ลดลง 25% ภายในปี 2568 อัตราผู้ป่วยความดันโลหิตสูงและ/หรือเบาหวานรายใหม่ (DM รายใหม่ 190,000 คน/HT รายใหม่ 390,000 คน) ร้อยละของผู้ป่วย DM, HT ที่ขึ้นทะเบียนได้รับการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD Risk) (≥ 80%) ร้อยละของผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงที่ ควบคุมได้ (≥ 40/50%) ร้อยละของผู้ป่วย CKD ที่มีอัตราลดลงของ eGFR <4 ml/min/1073m2/ yr 1. มาตรการลดการเข้าถึง ปัจจัยเสี่ยงต่อโรคไม่ติดต่อ 2. มาตรการด้านข้อมูล เฝ้าระวังสอบสวนโรค 3. มาตรการป้องกัน ระดับชุมชน 4. มาตรการป้องกันในสถานบริการสาธารณสุข

ความเชื่อมโยงตัวชี้วัดกระทรวง สำนักตรวจฯ กรม ประจำปีงบประมาณ 2560 ตัวชี้วัดภายใต้แผนยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี (ประกอบด้วย 16 แผนงาน 48 โครงการ 96 ตัวชี้วัด) ความเชื่อมโยงตัวชี้วัดกระทรวง สำนักตรวจฯ กรม ประจำปีงบประมาณ 2560 ตัวชี้วัด เป้าหมาย 2560 ประเด็นเน้นหนัก ระดับ การรายงาน ข้อมูล PA ปลัด สตป. กรม Promotion & Prevention Excellence (ส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคเป็นเลิศ) แผนงานที่ 2 : การป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ 1. อัตราผู้ป่วยความดันโลหิตสูงและ/หรือเบาหวานรายใหม่ DM = ลดลงร้อยละ 5.0 (จำนวนผู้ป่วยDMรายใหม่ 190,000 คน) HT = ลดลงร้อยละ 2.5 (จำนวนผู้ป่วยHT รายใหม่ 390,000 คน) √ จังหวัด Service Excellence (บริการเป็นเลิศ) แผนงานที่ 6 : การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service Plan) 2. ร้อยละของผู้ป่วย DM, HT ที่ขึ้นทะเบียนได้รับการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด ≥ ร้อยละ 80 3. ร้อยละของผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมได้ DM ≥ ร้อยละ 40 HT ≥ ร้อยละ 50 เขต 4.ร้อยละของผู้ป่วย CKD ที่มีอัตราลดลงของ eGFR <4 ml/min/1073m2/ yr ≥ 65 % จังหวัด เขต

5 ปี (พ.ศ. 2560 – 2564) แผนยุทธศาสตร์สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย ระยะที่2:ยุทธศาสตร์การป้องกัน และควบคุมโรคไม่ติดต่อระดับชาติ 5 ปี (พ.ศ. 2560 – 2564) สำนักสุขภาพดีวิไทย

ประเทศไทยปลอดจากภาระที่ป้องกันได้ด้วยโรคไม่ติดต่อ Vision วัตถุประสงค์ 1 เพิ่มความเข้มแข็งการสร้างความร่วมมือระหว่างประเทศ และการผลักดันเชิงนโยบาย 2 เพิ่มความเข้มแข็งแก่ศักยภาพของประเทศ การปฏิบัติร่วมระหว่างหลายภาคี ภาคส่วน 3 ลดปัจจัยที่เพิ่มความเสี่ยงและปัจจัยทางสังคมที่ส่งผลต่อความเสี่ยงต่อโรคไม่ติดต่อ 4 ส่งเสริม และสนับสนุนสมรรถนะทางด้านการวิจัยและพัฒนาที่มีคุณภาพสูง 5 6 ติดตาม ประเมิน แนวโน้มและปัจจัยต่อการป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อ ประเทศไทยปลอดจากภาระที่ป้องกันได้ด้วยโรคไม่ติดต่อ (A country free of the avoidable burden of Non - Communicable Diseases) Goal เพื่อลดภาระ การป่วย การตาย และความพิการ ที่ป้องกันได้

ผู้ป่วย DM HT รายใหม่ ลดลง ความร่วมมือNCDs งานเวชกรรม สุขศึกษา ยาสูบ แอลกอฮอล์ การบังคับใช้ กม. แอลกอฮอล์ ยาสูบ รณรงค์สื่อสารสาธารณะ การคัดกรองความเสี่ยงและโรค การจัดการลดเสี่ยงในประชาชนทั่วไปและกลุ่มเป้าหมายเฉพาะ การเฝ้าระวังปัจจัยเสียงโดยชุมชน ครอบครัว ฉลากโภชนาการ การพัฒนาและเพิ่มการสุขภาพทางเลือก ผลักดันยุทธศาสตร์ลดการบริโภคเกลือสู่ ครม. การจัดการความเสี่ยงในชุมชน พัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่าย 1.มาตรการลดการเข้าถึงปัจจัยเสี่ยงต่อโรคไม่ติดต่อ 2.มาตรการป้องกัน ระดับชุมชน 3.มาตรการป้องกัน ระดับชุมชน 4. มาตรการป้องกันควบคุมในสถานบริการสาธารณสุข

และผลงานบริการโรคไม่ติดต่อเรื้อรังปี 2559 สถานการณ์ และผลงานบริการโรคไม่ติดต่อเรื้อรังปี 2559

สถานการณ์ปัญหาสุขภาพของประชากรไทย (DALY พ.ศ.2556) การสูญเสียปีสุขภาวะของประชากรไทยอายุ จำแนกตามเพศ และรายโรค ทุกกลุ่มอายุ (10 อันดับแรก) ใน 10 อันดับแรกส่วนใหญ่มีสาเหตุมาจากกลุ่มโรค NCDs เพศชาย การเสพติดเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์เป็นอันดับ 1 รองลงมาคืออุบัติเหตุทางถนนและโรคหลอดเลือดสมอง เพศหญิง โรคหลอดเลือดสมอง เป็นอันดับ 1 รองลงมาคือโรคเบาหวาน และโรคซึมเศร้า ชาย หญิง ลำดับโรค ร้อยละ 1. การเสพติดเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ 8.8 1. โรคหลอดเลือดสมอง 8.2 2. อุบัติเหตุทางถนน 8.0 2. โรคเบาหวาน 7.9 3. โรคหลอดเลือดสมอง 6.9 3. โรคซึมเศร้า 5.4 4. โรคมะเร็งตับ 4.4 4. โรคหัวใจขาดเลือด 4.1 5.โรคหัวใจขาดเลือด 5. ต้อกระจก 3.7 6. การติดเชื้อ HIV/ เอดส์ 4.2 6. โรคข้อเสื่อม 3.2 7. โรคเบาหวาน 3.9 7.การติดเชื้อ HIV/ เอดส์ 2.9 8. โรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง 3.4 8.อุบัติเหตุทางถนน 2.7 9. ภาวะตับแข็ง 3.3 9.ภาวะโลหิตจาง 2.6 10.โรคมะเร็งหลอดลมและปอด 2.3 10.โรคมะเร็งตับ 2.5 NCD : จากรายงาน NHES เปรียบเทียบครั้งที่ 3 (2546) และครั้งที่ 4 (2551) พบว่า ความชุกของ HT ร้อยละ 22.0 ลดลงเป็น 21.4 และความชุกของ DM ร้อยละ 6.9 ส่วนสถานการณ์ผู้ป่วยใน DM HT พบว่า ปี 57 ลดลงจากปี 56 เล็กน้อย โดย DM ปี57 = 670,664 คน,ปี 56 = 698,720 คน , HT ปี 57 = 1,014,231 คน ,ปี 56 = 1,053,294 คน ส่วนผู้ป่วย DM HT ในคลินิกบริการ พบว่า สามารถควบคุมระดับน้ำตาลและความดันโลหิตได้ดี ร้อยละ 25.2 และ 25.6 (HDC 2558) ซึ่งการที่ผู้ป่วย DM HT ไม่สามารถควบคุมน้ำตาล/ความดันโลหิตได้ดีย่อมส่งผลให้เกิดภาวะแทรกซ้อนตา ไต ตีน ตีบเพิ่มขึ้น ทั้งนี้ ในปี 2557 มีผู้เสียชีวิตจาก DM HT จำนวน 11,389 และ 7,115 คน และหากไม่มีการป้องกันและควบคุมโรค DM HT จะทำให้การป่วย การเกิดภาวะแทรกซ้อน และตายจากโรค NCDs เพิ่มสูงขึ้น ที่มา : Disability-Adjusted Life Year (DALY) พ.ศ.2556

การสูญเสียปีสุขภาวะของประชากรไทยอายุ จำแนกตามอายุ (5 อันดับแรก) 15 – 29 ปี 30 - 59 ปี ชาย หญิง ลำดับโรค ร้อยละ 1. อุบัติเหตุทางถนน 32.5 12.9 2. การถูกทำร้าย 7.1 2. โรคซึมเศร้า 11.1 3. เสพย์ติดเครื่องดื่มที่มีAlc 6.8 3. การติดเชื้อ HIV /AIDs 8.6 4. การติดเชื้อ HIV/AIDs 6.2 4. ภาวะโลหิตจาง 7.5 5. การทำร้ายตนเอง 3.6 5. โรควิตกกังวล ชาย หญิง ลำดับโรค ร้อยละ 1. เสพย์ติดเครื่องดื่มที่มีAlc 13.2 1. โรคซึมเศร้า 8.1 2. อุบัติเหตุทางถนน 8.0 2. โรคเบาหวาน 6.5 3. การติดเชื้อ HIV /AIDs 6.8 3. โรคข้อเข่าเสื่อม 5.5 4. โรคหลอดเลือดสมอง 6.3 5. โรคมะเร็งตับ 5.4 5. การติดเชื้อ HIV AIDs 5.2 60 ปีขึ้นไป สาเหตุการสูญเสียปีสุขภาวะของประชากรไทย 15-29 ปี ในเพศชายและหญิง อันดับ 1 คือ อุบัติเหตุทางถนน 30-59 ปี อันดับ 1ในเพศชาย คือ เสพย์ติดเครื่องดื่มที่มี Alc ส่วนในเพศหญิง คือ โรคซึมเศร้า 60 ปีขึ้นไป ในเพศชายและหญิง 5 อันดับแรกส่วนใหญ่เป็นกลุ่มโรค NCD ชาย หญิง ลำดับโรค ร้อยละ 1. โรคหลอดเลือดสมอง 10.6 12.0 2. โรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง 8.1 2. โรคเบาหวาน 10.7 3. โรคเบาหวาน 6.2 3. โรคหัวใจขาดเลือด 6.0 4. โรคหัวใจขาดเลือด 4. ต้อกระจก 5.4 5. โรคมะเร็งตับ 4.9 5. โรคสมองเสื่อม NCD : จากรายงาน NHES เปรียบเทียบครั้งที่ 3 (2546) และครั้งที่ 4 (2551) พบว่า ความชุกของ HT ร้อยละ 22.0 ลดลงเป็น 21.4 และความชุกของ DM ร้อยละ 6.9 ส่วนสถานการณ์ผู้ป่วยใน DM HT พบว่า ปี 57 ลดลงจากปี 56 เล็กน้อย โดย DM ปี57 = 670,664 คน,ปี 56 = 698,720 คน , HT ปี 57 = 1,014,231 คน ,ปี 56 = 1,053,294 คน ส่วนผู้ป่วย DM HT ในคลินิกบริการ พบว่า สามารถควบคุมระดับน้ำตาลและความดันโลหิตได้ดี ร้อยละ 25.2 และ 25.6 (HDC 2558) ซึ่งการที่ผู้ป่วย DM HT ไม่สามารถควบคุมน้ำตาล/ความดันโลหิตได้ดีย่อมส่งผลให้เกิดภาวะแทรกซ้อนตา ไต ตีน ตีบเพิ่มขึ้น ทั้งนี้ ในปี 2557 มีผู้เสียชีวิตจาก DM HT จำนวน 11,389 และ 7,115 คน และหากไม่มีการป้องกันและควบคุมโรค DM HT จะทำให้การป่วย การเกิดภาวะแทรกซ้อน และตายจากโรค NCDs เพิ่มสูงขึ้น ที่มา : Disability-Adjusted Life Year (DALY) พ.ศ.2556

ประชากรอายุ 35 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรอง เบาหวาน ความดันโลหิตสูง ร้อยละ 90 จังหวัดเชียงใหม่ ปี 2557- ปี 2560ไตรมาสแรก

อัตราผู้ป่วยรายใหม่ โรคเบาหวาน, โรคความดันโลหิตสูง และโรคหลอดเลือดสมอง (ต่อแสนประชากร) จังหวัดเชียงใหม่ ปี 2557- ปี 2559

อัตราผู้ป่วย เบาหวาน, ความดันโลหิตสูง, หลอดเลือดสมอง และหัวใจและหลอดเลือด(ต่อแสนประชากร) จังหวัดเชียงใหม่ ปี 2557- ปี 2559

การคัดกรองภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยเบาหวาน และความดันโลหิตสูง (ตา ไต หัวใจและหลอดเลือด และเท้า)จังหวัดเชียงใหม่

การตรวจคัดกรองภาวะแทรกซ้อนทางตาในผู้ป่วยเบาหวาน ปี 2559 ภาพรวมร้อยละ 56.53 ข้อมูลจาก Data Set ปี 2559

การตรวจคัดกรองภาวะแทรกซ้อนทางเท้าในผู้ป่วยเบาหวาน ปี 2559 รวมร้อยละ 56.07 ข้อมูลจาก Data Set ปี 2559

การตรวจคัดกรองภาวะแทรกซ้อน CVD ปี 2559 รวม DM ร้อยละ 72.04 , HT ร้อยละ 72.10 DM HT ข้อมูลจาก Data Set ปี 2559

ร้อยละของผู้ป่วย DM, HT ที่ได้รับการค้นหาและคัดกรองโรคไตเรื้อรัง ปี 2559 รวมร้อยละ 63.36 ข้อมูลจาก HDC วันที่ประมวลผล :: 21 พฤศจิกายน 2559

การคัดกรอง LDL และ microabumin(ใน DM)

การป่วยภาวะไตวายเรื้อรัง ปี 2559 วัดจาก GFR ระยะไตวาย เบาหวาน และ เบาหวานที่มีความดันโลหิตสูงร่วม ความดันโลหิตสูง รวม จำนวน/คน ร้อยละ ไตวายระยะที่ 1 12,407 31.26 22,166 33.52 34,573 32.67 ไตวายระยะที่ 2 13,187 33.22 25,897 39.17 39,084 36.94 ไตวายระยะที่ 3 10,214 25.73 14,065 21.27 24,279 22.95 ไตวายระยะที่ 4 2,152 5.42 2,257 3.41 4,409 4.17 ไตวายระยะที่ 5 1,730 4.36 1,737 2.63 3,467 3.28 39,690 100 66,122 105,812 100.00

ภาวะเสี่ยงต่อโรคหัวใจ และหลอดเลือดสมอง ในผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูงปี 2559 ระดับภาวะเสี่ยง เบาหวาน ความดันโลหิตสูง รวม จำนวน ร้อยละ < 10% (ต่ำ) 27,425 67.34 63,165 84.97 90,590 78.73 10% - < 20 % (ปานกลาง) 9,392 23.06 7,960 10.71 17,352 15.08 20% - < 30 % (สูง) 2,245 5.51 1,890 2.54 4,135 3.59 30% - < 40 % (สูงมาก) 875 2.15 493 0.66 1,368 1.19 > 40 % (สูงอันตราย) 789 1.94 834 1.12 1,623 1.41 40,726 100.00 74,342 115,068

กิจกรรมที่สำคัญ ปี 2560 การพัฒนา NCD คุณภาพ เป็น NCD Clinic Plus การพัฒนาระบบการเฝ้าระวังคัดกรอง เบาหวาน ความดันโลหิตสูง จัด time line แบ่งกลุ่มปกติ เสี่ยง ป่วย เพื่อจัดการที่เหมาะสม ผู้ป่วย เบาหวาน และ ความดันโลหิตสูง ได้รับการคัดกรอง ชะลอไตวายCKD ได้รับการคัดกรอง CVD ความเสี่ยงหัวใจและหลอดเลือดสมอง พัฒนาระบบข้อมูล งานโรคเรื้อรังทุกระดับ การตรวจคัดกรองและดูแลพระสงฆ์ในโรงเรียนปริยัติธรรม งานติดตามจากผู้ตรวจ

ประเมินผลลัพธ์ตัวชี้วัด 15 (50คะแนน) +4 ประเมินกระบวนการ (50คะแนน) NCD Clinic Plus ปี 60 เป้าหมาย ประเมินผลลัพธ์ตัวชี้วัด 15 (50คะแนน) +4 อัตราผู้ป่วยความดันโลหิตสูงและ/หรือเบาหวาน รายใหม่ ลดลง ร้อยละ0.25 DM รายใหม่ (< 258ต่อแสนประชากร) HT รายใหม่ (< 536ต่อแสนประชากร) DM 1. ขึ้นทะเบียนและมารับการรักษา 2. ควบคุมระดับน้ำตาลได้ดี (HbA1C ≤ 7%) 3. ตรวจไขมัน (LDL<100 mg%) 4. ตรวจตา 5. ตรวจเท้า 6. มี BP ≤ 140/90 mmHg 7. มีภาวะอ้วนลงพุง (รอบพุงมากกว่าส่วนสูง/2) 8. เกิด Hypoglycemia 9. กลุ่มเสี่ยงเป็น DM ลดลง (คัดกรองโดย IFG) 10. DM รายใหม่ NCDs คุณภาพเดิม ประเมินกระบวนการ (50คะแนน) มี 6 องค์ประกอบ ได้แก่ ทิศทางและนโยบาย มีระบบสารสนเทศ การปรับระบบและกระบวนการบริการ มีระบบสนับสนุนการจัดการตนเอง ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ จัดบริการเชื่อมโยงชุมชน -เพื่อเป็นคู่มือในการดำเนินงานประเมินคุณภาพ NCD Clinic Plus ปี 60 ให้มีประสิทธิผล และเป็นมาตรฐานเดียวกัน -พิมพ์คู่มือ ให้ สสจ. สคร. รพศ. รพท. รพช. ( 5,000 เล่ม ) -ประเมินผลลัพธ์ตัวชี้วัด แต่ไม่นำมาคิดคะแนน (4 ตัวชี้วัด) 16. อัตราการสูบบุหรี่ในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง 17. อัตราผู้ป่วยเบาหวานที่ได้รับการประเมินCVD Risk และมีปัจจัยเสี่ยงมากกว่า 30 % ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 18. อัตราผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่ได้รับการประเมินCVD Risk และมีปัจจัยเสี่ยงมากกว่า 30 % ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 19. ร้อยละของผู้ป่วยโรคเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลได้ดี (Fasting Plasma Glucose น้อยกว่า 130 mg/dl)   HT 11. ขึ้นทะเบียนและมารับการรักษา 12. HT รายใหม่ 13. ควบคุมระดับ BP ได้ (≤ 140/90 mmHg) DM + HT 14. คัดกรองภาวะแทรกซ้อนทางไต(CKD Stage 3 ขึ้นไป) 15. ประเมินความเสี่ยงต่อโรคหัวใจ และหลอดเลือด (CVD)

ของขวัญปีใหม่ การเฝ้าระวังคัดกรอง Metabolic แบ่งกลุ่มตามระดับความเสี่ยง ความรุนแรง วางแผนปฏิบัติงานตามช่วงเวลา

ในโปรแกรมของงานยุทธศาสตร์ และ 43 แฟ้ม ลงข้อมูล ผลงาน ในโปรแกรมของงานยุทธศาสตร์ และ 43 แฟ้ม

จัดทำ Timeline การเฝ้าระวัง ลดเสี่ยง จังหวัดเชียงใหม่ ปี 2560 กิจกรรม ไตรมาสที่ 1 ไตรมาสที่ 2 ไตรมาสที่ 3 ไตรมาสที่ 4 หมายเหตุ ต.ค. 59 พ.ย. 59 ธ.ค. 59 ม.ค. 60 ก.พ. 60 มี.ค. 60 เม.ย. 60 พ.ค.60 มิ.ย. 60 ก.ค. 60 ส.ค. 60 ก.ย. 1. สำรวจข้อมูลและขึ้นทะเบียนประชากรอายุ 35 ปีขึ้นไปในพื้นที่รับผิดชอบ 2. กำหนดค่าเป้าหมายประชากร (Refesh) โดยการทำการคัดเลือกเป้าหมายเฉพาะประชากรที่อาศัยอยู่จริง (Type area=1,3) 3. ดำเนินการคัดกรองกลุ่มเสี่ยง อายุ 35 ปีขึ้นไป โดยการตรวจวัดระดับน้ำตาลในเลือดและวัดระดับความดันโลหิต 4. บันทึกข้อมูลลงในโปรแกรม HOSxP, HOSxP-PCU และ JHCIS 5. ดำเนินการจัดบริการลดเสี่ยงและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในกลุ่มเสี่ยงสูง 6. สรุปและวิเคราะห์การคัดกรอง ครั้งที่ 1 ครั้งที่ 2

การเฝ้าระวังโรคเบาหวาน แบ่งกลุ่ม ปกติ เสี่ยง ป่วย จำนวน 606,386 คน คิดเป็นร้อยละ 88.30 จำนวน 80,745 คน คิดเป็นร้อยละ 11.70 จำนวนผู้ป่วย 15,507 คน คิดเป็นร้อยละ 22.48 จำนวนผู้ป่วย 20,894 คน คิดเป็นร้อยละ 30.29 จำนวนผู้ป่วย 13,2079 คน คิดเป็นร้อยละ 18.96 จำนวนผู้ป่วย 10,402 คน คิดเป็นร้อยละ 15.08 จำนวนผู้ป่วย 8,609 คน คิดเป็นร้อยละ 12.48 กลุ่มปกติ กลุ่มเสี่ยง กลุ่มป่วย 68,981 ราย ประชากร อายุ 35 ปี690,131 ราย

การเฝ้าระวังโรคความดันโลหิตสูง แบ่งกลุ่ม ปกติ เสี่ยง ป่วย จังหวัดเชียงใหม่ ปี 2559 (ข้อมูล 43 แฟ้ม) จำนวน 362,638 คน คิดเป็นร้อยละ 63.68 จำนวน 118,393 คน คิดเป็นร้อยละ 20.79 จำนวนผู้ป่วย 17,078 คน คิดเป็นร้อยละ 84.28 จำนวนผู้ป่วย 2,179 คน คิดเป็นร้อยละ 10.74 จำนวนผู้ป่วย 352 คน คิดเป็นร้อยละ 1.76 จำนวนผู้ป่วย 144 คน คิดเป็นร้อยละ 0.71 จำนวนผู้ป่วย 509 คน คิดเป็นร้อยละ 2.52 กลุ่มปกติ กลุ่มเสี่ยง กลุ่มป่วย 130,469 ราย ประชากร อายุ 35 ปี 569,470 ราย

กิจกรรมที่ดำเนินการต่อเนื่อง

ประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาเครือข่ายคัดกรอง จัดการ ความเสี่ยงและลดอันตรายจากโรคหัวใจหลอดเลือด และ โรคไตวายเรื้อรัง ใน อาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.) ในวันที่ 16 ธันวาคม 2559 แผนงาน ติดตาม สนับสนุนการทำงาน อสม.เรื่อง การดูแลความเสี่ยง โรคหัวใจและหลอดเลือดสมอง ในชุมชน กิจกรรม

System Manager ประสาน พัฒนาระบบงาน ในทีมสหวิชาชีพ 20 อำเภอ ประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพทีมจัดการโรคไม่ติดต่อเรื้อรังฯ (System Manager และ Case Manager) ระหว่างวันที่ 27 – 29 ธันวาคม 2559 System Manager ประสาน พัฒนาระบบงาน ในทีมสหวิชาชีพ 20 อำเภอ ปีหน้าส่งอบรมเพิ่มให้ครบทุกพื้นที่

การจัดการกองทุนป้องกันความรุนแรง DM ,HT กองทุนโรคเรื้อรัง

คำนวณตาม จำนวนผู้ป่วย 60% ผลงานบริการ 40% เปลี่ยนแปลงวิธีคำนวณ ปีนี้ไม่ได้นำน้ำหนักคะแนนผลงานบริการมา คูณ ประชากรอีกรอบ ทำให้ยอดงบประมาณจังหวัดขนาดใหญ่ ที่มีประชามากลดลง (เชียงใหม่ เชียงราย ลำปาง)

การใช้จ่ายงบประมาณ 22,740,734 บาท การใช้จ่ายงบประมาณ 22,740,734 บาท หมวดที่ กิจกรรม จำนวนเงิน รพ.บริหารจัดการ หมวดที่ 1 คิดเป็นร้อยละ 1.65 ค่าซ่อมเครื่อง fundus camera รายปี 150,000 นครพิงค์ การบริหารจัดการการตรวจจอประสาทตา fundus camera 30,000 บาท X 6 สาย 180,000 พร้าว สันกำแพง แม่แตง สารภี ฝาง จอมทอง งานพัฒนาการดูแลสุขภาพจัดการโรคเรื้อรังพระสงฆ์ 45,000 สันป่าตอง หมวดที่ 2 คิดเป็นร้อยละ 98.35 จัดสรรตามความครอบคลุมและคุณภาพบริการดูแลรักษาโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง เน้นการค้นหาและจัดการเริ่มต้น secondary Prevention และงาน NCD คุณภาพ 22,365,734 โรงพยาบาลนครพิงค์ โรพยาบาลชุมชน โรงพยาบาลรัฐนอกสังกัดและโรงพยาบาลเอกชน ที่เข้าร่วมโครงการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ รวมเป็นเงิน 22,740,734 บาท (ยี่สิบสองล้านเจ็ดแสนสี่หมื่นเจ็ดร้อยสามสิบสี่บาทถ้วน)

รายละเอียดการจัดสรรงบประมาณ ปี 2560 ลำดับ หน่วยบริการ งบประมาณที่จัดสรร 1 รพ.นครพิงค์ 3,032,538 2 รพ.สะเมิง 339,494 3 รพ.จอมทอง 1,396,354 4 รพ.แม่แจ่ม 445,139 5 รพ.เชียงดาว 902,540 6 รพ.ดอยสะเก็ด 970,803 7 รพ.แม่แตง 786,184 8 รพ.ฝาง 1,288,954 9 รพ.แม่อาย 818,457 10 รพ.พร้าว 1,134,984 11 รพ.สันป่าตอง 2,173,922 12 รพ.สันกำแพง 1,082,407 ลำดับ หน่วยบริการ งบประมาณที่จัดสรร 13 รพ.สันทราย 1,411,884 14 รพ.หางดง 1,097,751 15 รพ.ฮอด 448,787 16 รพ.ดอยเต่า 427,395 17 รพ.อมก๋อย 285,682 18 รพ.สารภี 805,322 19 รพ.เวียงแหง 271,926 20 รพ.ไชยปราการ 634,687 21 รพ.แม่วาง 500,125 22 รพ.แม่ออน 360,826 23 รพ.วัดจันทร์ 255,370 24 รพ.ดอยหล่อ 463,988

การส่งข้อมูล การตรวจราชการประจำปี 60 การเสนองาน ข้อมูลที่ส่ง กำหนดส่ง รอบที่ 1 ตรวจราชการรอบที่ 1 วันที่ 6-8 กุมภาพันธ์ 2560 ผลงานบริการไตรมาส 1 ตุลาคม-ธันวาคม 2559 ตามแบบform NCDs small success ข้อมูลที่ไม่มีใน HDC 25 มกราคม 60 รอบที่ 2 ตรวจราชการรอบที่ 2 วันที่ 3-5 กรกฎาคม 2560 ผลงานบริการไตรมาส 1 ถึง 3 ยอดสะสม ตค.-มิถุนายน 2560 25 มิถุนายน 60 รอบที่ 3 สิ้นปีงบประมาณ ผลงานบริการ ปีงบประมาณ 2560 ตาม DATA set 25 พฤศจิกายน 2560

สวัสดี