บทที่ 12 โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Cell Specialization.
Advertisements

บทที่ 5 การดำรงชีวิตของพืช
ข้อสรุปหลักสูตรการอบรมการผลิต รายการเด็ก TV4Kids.
การคัดเลือกพื้นที่เพื่อการพัฒนาสถานบริการสาธารณสุข ในชายแดนชนบท
 เครือข่ายคอมพิวเตอร์  การที่ระบบเครือข่ายมีบทบาทและ ความสำคัญเพิ่มขึ้น เพราะไมโครคอมพิวเตอร์ได้รับ การใช้งานอย่างแพร่หลาย จึงเกิดความต้องการที่จะ.
เทคนิคการเขียนข่าว การเขียนข่าวเพื่อการประชาสัมพันธ์เบื้องต้น มีโครงสร้างการเขียนข่าว ประกอบด้วย 1.พาดหัวข่าว (Headline) 2.ความนำ (Lead) 3.ส่วนเชื่อม (Neck/Bridge)
การสื่อสารข้อมูลทางคอมพิวเตอร์
การบริหารการค้าปลีกและการค้าส่ง
พยาบาลวิชาชีพชำนาญการพิเศษ
ผัก.
สถาบันด้านปัจจัยการ ผลิตทางการเษตร ( ตลาดแรงงาน ) ศ.491 การวิเคราะห์การผลิต และนโยบายการผลิตสินค้าเกษตร รศ. ภราดร ปรีดาศักดิ์ คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
ของฝากสุรินทร์ : เม็ดบัวอบกรอบมาย, ผ้าไหม , ผักกาด ( Best 3 Souvenirs of Surin)
กระบวนการ สังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่ 12 โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
นางสาวศิวพร แพทย์ขิม เอกสุขศึกษา กศ. บ. คณะพลศึกษา.
ดิน สมบัติ ของดิน ลักษณะ ของดิน ประโยชน์ ของดิน ฐานความช่วยเหลือด้านความคิดรวบยอด สถานการณ์ปัญหาที่ 2.
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
บทสรุป ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
สมัยกลาง (EARLY MEDIVAL)
บทที่ 1 สถาปัตยกรรมของระบบฐานข้อมูล (Database Architecture)
ระดับความเสี่ยง (QQR)
โครงสร้างของพืชดอก (ใบ)
คุณลักษณะของสัญญาณไฟฟ้าแบบต่าง ๆ
การบัญชีต้นทุนช่วง (Process Costing).
โครงสร้างและ หน้าที่ของราก
เพลี้ยไฟมะม่วง ข่าวเตือนการระบาดศัตรูพืช Plant Protection Sakaeo
ตำรับยาเหลืองปิดสมุทร
ผลการดำเนินงาน การบริหารจัดการประเมิน และดูแลผู้ป่วยก่อนกลับเข้าทำงาน
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
กองทุนเงินทดแทน ประกันสังคม.
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
แผ่นดินไหว.
การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพบุคลากรทางการศึกษาด้านการสอบด้วยคอมพิวเตอร์ (Computer-based Assessment) การรู้เรื่องการอ่าน ด้านคณิตศาสตร์และด้านวิทยาศาสตร์
โรคทางพันธุกรรมที่เกิดจากยีนบน Autosome
บริษัท พัฒนาวิชาการ (2535) จำกัด
โครงสร้างของพืชดอก (ลำต้น)
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของราก
SMS News Distribute Service
โปรตีน กรดอะมิโนหลายโมเลกุล จะยึดเหนี่ยวกันด้วยพันธะเพปไทด์
การผุพังอยู่กับที่ โดย นางสาวเนาวรัตน์ สุชีพ
วัฏจักรหิน วัฏจักรหิน : วัดวาอาราม หินงามบ้านเรา
เสียงในภาษา วิชาภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ ครูกิ่งกาญจน์ สมจิตต์
เอกสารประกอบการสอน รายวิชา ประติมากรรมเพื่อการพาณิชย์ (Commercial Sculpture) โดย อาจารย์สันติสุข แหล่งสนาม ภาคการศึกษาที่ 2/2559.
อ.ณัฐวัฒน์ ธนสารโชคพิบูลย์
การแบ่งเซลล์ แบบไมโทซิส
Multimedia และระบบความจริงเสมือน Virtual Reality, VR
ระบบย่อยอาหาร.
บทที่ 3 โรงเรือนและอุปกรณ์โคเนื้อ
มะเร็งปากมดลูก โดย นางจุฑารัตน์ กองธรรม พยาบาลวิชาชีพ รพ.สต.บ้านโนนแต้
อวัยวะที่ใช้ในการออกเสียง
การวิจัยทางการท่องเที่ยว
ทรัพยากรไทย:ก้าวสู่โลกกว้างอย่างมั่นใจ
ประเภทรายการและรูปแบบรายการวิทยุกระจายเสียง
ขดลวดพยุงสายยาง.
Structure of Flowering Plant
การแบ่งเซลล์ (CELL DIVISION)
กลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร
กราฟการเติบโตของสิ่งมีชีวิต
แนวทางการออกแบบนิตยสาร
ปฏิกิริยาเคมีในเซลล์ของสิ่งมีชีวิต
BY POONYAPORN SIRIPANICHPONG
หน้าที่ของ - ไนโตรเจน (เอ็น) - ฟอสฟอรัส (พี) - โพแทสเซียม (เค)
ปรากฏการณ์ดอปเพลอร์ของเสียง Doppler Effect of Sound
วัฏจักรของน้ำ + พายุหมุนเขตร้อน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 12 โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก ปิ่นอนงค์ ศิลประกอบ รหัสประจำตัว 504050022-8 ประกาศนียบัตร วิชาชีพครู

เนื้อเยื่อของพืช (plant tissue) พืชเป็นสิ่งมีชีวิตชนิดหนึ่งที่ประกอบด้วยเซลล์ (cell) หลายๆเซลล์มารวมกลุ่มทำงานร่วมกัน กลุ่มของเซลล์ที่มาทำงานร่วมกันนี้เราเรียกว่า เนื้อเยื่อ (tissue) เนื้อเยื่อพืชแบ่งเป็น 2 ประเภท (ตามความสามารถในการแบ่งตัว) ได้แก่ 1.เนื้อเยื่อเจริญ (meristematic tissues) 2.เนื้อเยื่อถาวร (permanent tissues)

เนื้อเยื่อเจริญ (meristematic tissues) กลุ่มของเซลล์ที่มีการเจริญและแบ่งตัวแบบไมโทซีส(mitosis) อยู่ตลอดเวลา ลักษณะของเนื้อเยื่อเจริญ ขนาดเล็ก ผนังบาง เซลล์แต่ละชนิดอยู่ชิดติดกันมาก ไม่มีช่องว่างระหว่างเซลล์ (intercellular space)

ตำแหน่งที่พบในส่วนต่าง ๆ ของพืช 1. เนื้อเยื่อเจริญส่วนปลาย (apical meristem) คือเนื้อเยื่อที่อยู่บริเวณปลายยอด (shoot tip ) หรือ ปลายราก (root tip) ของพืช เมื่อมีการแบ่งตัวเพิ่มจำนวนเซลล์จะทำให้รากและลำต้นยืดยาวออก

1.เนื้อเยื่อเจริญส่วนปลาย (apical meristem)

2. เนื้อเยื่อเจริญเหนือข้อ (intercalary meristem) คือเนื้อเยื่อที่อยู่บริเวณเหนือข้อ หรือโคนของปล้องในพืชใบเลี้ยงเดี่ยว เช่น อ้อย ไผ่ ข้าวโพด หรือหญ้า เป็นต้น เมื่อมีการแบ่งตัวจะช่วยให้ปล้องยาวขึ้น

2. เนื้อเยื่อเจริญเหนือข้อ (intercalary meristem)

3. เนื้อเยื่อเจริญด้านข้าง (lateral meristem หรือ axillary meristem) คือเนื้อเยื่อเจริญที่แบ่งตัวออกด้านข้างของลำต้นหรือราก เมื่อแบ่งตัวแล้วจะทำให้ลำต้น ราก ขยายขนาดออกทางด้านข้างหรือมีขนาดใหญ่ขึ้น บางคนอาจเรียกเนื้อเยื่อเจริญด้านข้างนี้อีกอย่างว่า แคมเบียม (cambium) แบ่งเป็น 2 ชนิดคือ

3.1vascular cambium เป็น Cambium ที่เกิดขึ้นในกลุ่มท่อลำเลียง

3.2 cork cambium เป็น Cambium ที่เกิดในชั้น cortex หรือชั้น stele

เนื้อเยื่อถาวร เนื้อเยื่อถาวร (permanent tissues) หมายถึงกลุ่มของเซลล์ที่ในสภาพปกติไม่มีการแบ่งตัว โดยเซลล์เหล่านี้เจริญเปลี่ยนแปลงมาจากเนื้อเยื่อเจริญอีกทีหนึ่ง

เนื้อเยื่อเจริญเชิงเดี่ยว เนื้อเยื่อที่ประกอบด้วยกลุ่มเซลล์ชนิดเดียวกัน มารวมกันเพื่อทำหน้าที่อย่างเดียวกัน แบ่งออกได้หลายชนิดตามตำแหน่งที่อยู่หรือตามหน้าที่และส่วนประกอบภายในเซลล์ ได้แก่ epidermis parenchyma collenchyma sclerenchyma

เนื้อเยื่อเจริญเชิงเดี่ยว เอพิเดอร์มิส (epidermis) ปกป้องคุ้มครองเนื้อเยื่อต่าง ๆ รูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า ผิวด้านนอก มีสารขี้ผึ้งพวกคิวติน (cutin) ฉาบอยู่เพื่อช่วยป้องกัน การระเหยของน้ำ ชั้นของคิวตินนี้เรียกว่า คิวติเคิล (cuticle)

เอพิเดอร์มิส (epidermis) ปากใบ เซลล์ขน

เอพิเดอร์มิส (epidermis) ช่องปากใบ เซลล์คุม ปากใบ

เนื้อเยื่อเจริญเชิงเดี่ยว พาเรงคิมา (parenchyma) พบได้แทบทุกส่วนของอวัยวะพืช รูปร่างหลายแบบ บางเซลล์ค่อนข้างกลม รี ทรงกระบอกหรือเป็นเหลี่ยม มีช่องว่างระหว่างเซลล์ (intercellular space) ช่องว่างระหว่างเซลล์

พาเรงคิมา (parenchyma) ตัดตามขวาง (cross section) ตัดตามยาว (long section)

พาเรงคิมา (parenchyma) ช่องอากาศ (air space) สะสมแป้ง

เนื้อเยื่อเจริญเชิงเดี่ยว คอลเลงคิมา (collenchyma) ผนังเซลล์หนามากตามมุมของเซลล์ ไม่สม่ำเสมอ เป็นการเพิ่มความยึดหยุ่น สารที่มาฉาบที่ผนังเป็นสารประกอบพวกเซลลูโลส และเพคติน ผนังเซลล์

คอลเลงคิมา (collenchyma)

คอลเลงคิมา (collenchyma)

เนื้อเยื่อเจริญเชิงเดี่ยว สเกลอเรงคิมา (sclerenchyma) ผนังเซลล์หนามาก สารที่มาฉาบเป็นสารพวกลิกนิน (lignin) เป็นโครงกระดูกหรือโครงร่างของพืช

เซลล์เส้นใย (fiber) รูปร่างของเซลล์ยาวมาก หัวแหลมท้ายแหลม ผนังเซลล์หนามากเป็นสารประกอบลิกนิน

สเกลอรีด (scleried) รูปร่างหลายแบบ เช่น กลม รี หรือ รูปร่างยาวแต่ก็ยังสั้นกว่า fiber

เนื้อเยื่อเจริญเชิงซ้อน เนื้อเยื่อที่ประกอบด้วยกลุ่มเซลล์หลายชนิดมาทำงานร่วมกัน ซึ่งเนื้อเยื่อถาวรเชิงซ้อนได้แก่ เนื้อเยื่อที่ทำหน้าที่ลำเลียงน้ำ แร่ธาตุ เรียกว่าไซเลม (xylem) และเนื้อเยื่อลำเลียงอาหาร  เรียกว่า โฟลเอ็ม (phloem)

เนื้อเยื่อเจริญเชิงซ้อน ไซเลม (xylem) ลำเลียงน้ำและแร่ธาตุ ประกอบด้วย 1. vessel tracheid 3. xylem fiber 4. xylem parenchyma

ไซเลม (xylem) เทรคีด รูปร่างยาว หัวท้ายค่อนข้างแหลม ผนังเซลล์หนามี เทรคีด รูปร่างยาว  หัวท้ายค่อนข้างแหลม  ผนังเซลล์หนามี  สารพวกลิกนินสะสม ผนังมีรูพรุนที่เรียกว่า pit

เวสเซล คล้ายท่อยาวๆ ที่ประกอบด้วยท่อสั้นๆหลายๆท่อมาต่อกัน คล้ายท่อยาวๆ ที่ประกอบด้วยท่อสั้นๆหลายๆท่อมาต่อกัน ท่อสั้นแต่ละท่อเรียกว่า vessel member หรือ vessel element ผนังหนาเป็นสารพวกลิกนินมาสะสม มีช่องทะลุถึงกัน ซึ่งมีลักษณะเป็นรอยปรุหรือรูพรุนที่เรียกว่า perforation plate 

เนื้อเยื่อเจริญเชิงซ้อน โฟลเอม (phloem) ลำเลียงอาหาร ประกอบด้วย 1.sieve tube 2. companion cell 3. Phloem parenchyma 4. phloem fiber

โฟลเอม (phloem)

sieve tube sieve tube เป็นท่อยาวๆ ที่ประกอบด้วยท่อสั้นๆหลายๆท่อมาต่อกัน ท่อสั้นๆแต่ละท่อเรียกว่า sieve tube member หรือ sieve tube element

มัดท่อลำเลียง (vascular bundle)

มัดท่อลำเลียง (vascular bundle)

collenchyma epidermis sclerenchyma phloem xylem parenchyma